พบผลลัพธ์ทั้งหมด 188 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1821/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อตกลงตรวจสอบที่ดินมรดกก่อนโอน การปฏิบัติตามข้อตกลงและผลกระทบต่อการฟ้องร้อง
คู่ความตกลงกันว่า จำเลยยินดีโอนห้องแถวพร้อมกับที่ดิน 2 ห้องที่เหลือตามพินัยกรรมดังโจทก์ฟ้องให้โจทก์ ในเมื่อโจทก์นำเจ้าพนักงานที่ดินไปสำรวจแล้วให้เจ้าพนักงานที่ดินแยกออกมาว่าห้องทั้งสองอยู่ที่ใด ถ้าหากเจ้าพนักงานที่ดินตรวจแล้วว่าที่ดินและห้องแถวตามพินัยกรรมไม่มีอยู่เลย โจทก์ก็ยินดีถอนฟ้องแต่ถ้าปรากฏว่ามีเหลืออยู่เป็นจำนวนมากกว่า 2 ห้อง โจทก์ยอมรับเพียง 2 ห้อง จำเลยยินดีโอนให้โจทก์ การตรวจสอบนี้ให้ถือเอาพินัยกรรมตามฟ้องและตราจองเลขที่ 5 เป็นหลัก ดังนี้เมื่อปรากฏว่าเจ้าพนักงานที่ดินได้ตรวจสอบแล้วได้ความว่าห้องแถวดังกล่าวอยู่ในตราจองเลขที่ 2172 โดยเจ้าพนักงานที่ดินได้ตรวจสอบรูปแผนที่ในพินัยกรรมแล้ว แสดงว่าที่ดินพร้อมด้วยห้องแถวที่โจทก์มีสิทธิได้รับตามพินัยกรรม คือ ที่ดินตราจองเลขที่ดังกล่าว จำเลยต้องโอนให้โจทก์ตามข้อตกลง และเมื่อปรากฏว่าเจ้าพนักงานที่ดินตรวจพบแล้วก็ไม่มีความจำเป็นจะต้องตรวจสอบที่ดินมรดกรายนี้ทั้งหมดต่อไปอีก
ข้อตกลงของโจทก์จำเลยเช่นว่านี้ไม่ขัดต่อประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 138 และไม่เป็นการที่ศาลพิพากษานอกฟ้องนอกประเด็นตามมาตรา 142 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งด้วย
ปัญหาเรื่องข้อตกลงขัดต่อ มาตรา 138 หรือไม่ และศาลพิพากษานอกฟ้องนอกประเด็นหรือไม่ เป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน
วันนัดสืบพยานประเด็นโจทก์ จำเลยที่ 2 และทนายจำเลยที่ 2 มิได้ไปศาลตามนัด แต่ศาลได้สืบพยานไปโดยมิได้มี การสั่งว่าจำเลยที่ 2 ขาดนัดพิจารณานั้น เมื่อจำเลยที่ 2 มิได้อุทธรณ์ฎีกาจำเลยที่ 1 จะฎีกาแทนไม่ได้
ข้อตกลงของโจทก์จำเลยเช่นว่านี้ไม่ขัดต่อประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 138 และไม่เป็นการที่ศาลพิพากษานอกฟ้องนอกประเด็นตามมาตรา 142 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งด้วย
ปัญหาเรื่องข้อตกลงขัดต่อ มาตรา 138 หรือไม่ และศาลพิพากษานอกฟ้องนอกประเด็นหรือไม่ เป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน
วันนัดสืบพยานประเด็นโจทก์ จำเลยที่ 2 และทนายจำเลยที่ 2 มิได้ไปศาลตามนัด แต่ศาลได้สืบพยานไปโดยมิได้มี การสั่งว่าจำเลยที่ 2 ขาดนัดพิจารณานั้น เมื่อจำเลยที่ 2 มิได้อุทธรณ์ฎีกาจำเลยที่ 1 จะฎีกาแทนไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1821/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อตกลงนอกศาลเกี่ยวกับการโอนมรดกและการตรวจสอบทรัพย์สิน ไม่ขัดต่อประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
คู่ความตกลงกันว่า จำเลยยินดีโอนห้องแถวพร้อมกับที่ดิน2 ห้องที่เหลือตามพินัยกรรมดังโจทก์ฟ้องให้โจทก์ ในเมื่อโจทก์นำเจ้าพนักงานที่ดินไปสำรวจแล้วให้เจ้าพนักงานที่ดินแยกออกมาว่าห้องทั้งสองอยู่ที่ใด ถ้าหากเจ้าพนักงานที่ดินตรวจแล้วว่าที่ดินและห้องแถวตามพินัยกรรมไม่มีอยู่เลย โจทก์ก็ยินดีถอนฟ้องแต่ถ้าปรากฏว่ามีเหลืออยู่เป็นจำนวนมากกว่า 2 ห้อง โจทก์ยอมรับเพียง 2 ห้อง จำเลยยินดีโอนให้โจทก์ การตรวจสอบนี้ให้ถือเอาพินัยกรรมตามฟ้องและตราจองเลขที่ 5 เป็นหลัก ดังนี้เมื่อปรากฏว่าเจ้าพนักงานที่ดินได้ตรวจสอบแล้วได้ความว่าห้องแถวดังกล่าวอยู่ในตราจองเลขที่ 2172 โดยเจ้าพนักงานที่ดินได้ตรวจสอบรูปแผนที่ในพินัยกรรมแล้ว แสดงว่าที่ดินพร้อมด้วยห้องแถวที่โจทก์มีสิทธิได้รับตามพินัยกรรม คือ ที่ดินตราจองเลขที่ดังกล่าว จำเลยต้องโอนให้โจทก์ตามข้อตกลง และเมื่อปรากฏว่าเจ้าพนักงานที่ดินตรวจพบแล้วก็ไม่มีความจำเป็นจะต้องตรวจสอบที่ดินมรดกรายนี้ทั้งหมดต่อไปอีก
ข้อตกลงของโจทก์จำเลยเช่นว่านี้ไม่ขัดต่อประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 138 และไม่เป็นการที่ศาลพิพากษานอกฟ้องนอกประเด็นตามมาตรา 142 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งด้วย
ปัญหาเรื่องข้อตกลงขัดต่อมาตรา 138 หรือไม่ และศาลพิพากษานอกฟ้องนอกประเด็นหรือไม่ เป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน
วันนัดสืบพยานประเด็นโจทก์ จำเลยที่ 2 และทนายจำเลยที่ 2 มิได้ไปศาลตามนัด แต่ศาลได้สืบพยานไปโดยมิได้มีการสั่งว่าจำเลยที่ 2 ขาดนัดพิจารณานั้น เมื่อจำเลยที่ 2 มิได้อุทธรณ์ฎีกาจำเลยที่ 1 จะฎีกาแทนไม่ได้
ข้อตกลงของโจทก์จำเลยเช่นว่านี้ไม่ขัดต่อประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 138 และไม่เป็นการที่ศาลพิพากษานอกฟ้องนอกประเด็นตามมาตรา 142 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งด้วย
ปัญหาเรื่องข้อตกลงขัดต่อมาตรา 138 หรือไม่ และศาลพิพากษานอกฟ้องนอกประเด็นหรือไม่ เป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน
วันนัดสืบพยานประเด็นโจทก์ จำเลยที่ 2 และทนายจำเลยที่ 2 มิได้ไปศาลตามนัด แต่ศาลได้สืบพยานไปโดยมิได้มีการสั่งว่าจำเลยที่ 2 ขาดนัดพิจารณานั้น เมื่อจำเลยที่ 2 มิได้อุทธรณ์ฎีกาจำเลยที่ 1 จะฎีกาแทนไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1322/2515
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การดำเนินการสืบพยานที่ถูกต้องตามกำหนดนัด แม้จำเลยไม่มาศาลในวันแรก แต่ยังไม่ถึงกำหนดนัดทั้งหมด
ศาลสืบพยานโจทก์ไปแล้วบางส่วน แล้วเลื่อนไปนัดสืบพยานโจทก์ที่เหลือพร้อมกับพยานจำเลย โดยนัดสืบไว้สามวันจำเลยได้ยื่นคำขอให้ศาลมีคำสั่งเรียกพยานเอกสารจากบุคคลภายนอกให้นำส่งศาลในวันที่สาม และขอให้ศาลหมายเรียกพยานบุคคลของจำเลยมาศาลในวันเดียวกันนั้นซึ่งศาลได้ออกหมายเรียกให้แล้ว ถึงวันนัดสืบพยานวันแรกจำเลยไม่มาศาล ศาลอาจดำเนินการสืบพยานไปได้โดยจำเลยเสียสิทธิในการซักค้านพยานโจทก์เอง แม้โจทก์จะแถลงไม่ติดใจสืบพยานในวันแรกนั้นก็จะถือว่าจำเลยไม่มีพยานมาสืบหาได้ไม่ เพราะศาลได้สั่งนัดไว้อีกถึงสองวันและยังไม่ถึงเวลาตามที่ศาลได้สั่งนัดไว้เอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1158/2515
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การงดสืบพยานจำเลยชอบด้วยเหตุผลเมื่อทนายจำเลยละเลยหน้าที่และจำเลยไม่นำพยานมาศาล ส่อเจตนาประวิงคดี
ศาลได้กำหนดนัดวันสืบพยานโจทก์จำเลยตามที่ทนายจำเลยขอครั้นถึงวันเวลาที่กำหนด ทนายจำเลยไม่มาศาล ศาลชั้นต้นรอจนถึงเวลา 10.00 นาฬิกา จึงสืบพยานโจทก์ได้ 3 ปากหมดพยานโจทก์ สืบตัวจำเลยได้ 1 ปาก จำเลยแถลงว่าไม่ได้นำพยานอื่นมาศาลศาลชั้นต้นเห็นว่าจำเลยไม่มีพยานมาสืบ จึงให้งดสืบพยานอื่นของจำเลยเสีย ดังนี้ เห็นได้ว่า ทนายจำเลยมิได้เอาใจใส่ต่อวันนัดของศาล ทั้ง ๆ ที่ทนายจำเลยขอให้นัดเอง แต่พอถึงวันนัดกลับไปว่าความที่ศาลอื่นเสีย คงปล่อยให้จำเลยมาศาลตามลำพัง จำเลยมีหน้าที่นำพยานมาศาลตามวันเวลานัดซึ่งจำเลยและทนายจำเลยทราบดีอยู่แล้ว การที่จำเลยไม่นำพยานมาศาลย่อมเป็นการละเลยต่อหน้าที่และจำเลยแสดงให้เห็นไม่ได้ว่ามีเหตุจำเป็นอย่างไรต้องเลื่อนคดีไป จึงเป็นพฤติการณ์ที่ส่อว่าจำเลยประวิงคดีให้ล่าช้า ศาลย่อมใช้ดุลพินิจสั่งงดสืบพยานได้ตามควรแก่กรณี เพื่อให้คดีดำเนินไปโดยรวดเร็วและยุติธรรม ที่ศาลชั้นต้นงดสืบพยานจำเลย ชอบด้วยเหตุผลแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 726/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดนัดพิจารณาคดีล้มละลาย: จำเป็นต้องมีคำสั่งแสดงการขาดนัดก่อนพิจารณาคดี
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 197 วรรคสองเป็นบทบัญญัติถึงลักษณะของการที่จะถือว่าคู่ความขาดนัดพิจารณา ส่วนมาตรา 202 เป็นบทบัญญัติที่กำหนดวิธีการปฏิบัติเมื่อจำเลยขาดนัดพิจารณา บทบัญญัติสองมาตรานี้ผิดแผกแตกต่างกัน
ในกรณีที่จำเลยไม่มาศาลในวันสืบพยานและมิได้ร้องขอเลื่อนคดีหรือแจ้งเหตุขัดข้องที่ไม่มาศาลเสียก่อนลงมือสืบพยาน ซึ่งถือว่าจำเลยขาดนัดพิจารณานั้น ศาลจำต้องมีคำสั่งว่าจำเลยขาดนัดพิจารณาเสียก่อน แล้วจึงจะทำการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีไปฝ่ายเดียวตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 202 และมาตราต่อ ๆ ไปได้ หากไม่มีคำสั่งดังกล่าวเสียก่อน ก็ไม่เป็นการพิจารณาฝ่ายเดียวตามกฎหมาย
ในกรณีที่จำเลยไม่มาศาลในวันสืบพยานและมิได้ร้องขอเลื่อนคดีหรือแจ้งเหตุขัดข้องที่ไม่มาศาลเสียก่อนลงมือสืบพยาน ซึ่งถือว่าจำเลยขาดนัดพิจารณานั้น ศาลจำต้องมีคำสั่งว่าจำเลยขาดนัดพิจารณาเสียก่อน แล้วจึงจะทำการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีไปฝ่ายเดียวตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 202 และมาตราต่อ ๆ ไปได้ หากไม่มีคำสั่งดังกล่าวเสียก่อน ก็ไม่เป็นการพิจารณาฝ่ายเดียวตามกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 726/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขาดนัดพิจารณา: ศาลต้องมีคำสั่งแสดงการขาดนัดก่อนชี้ขาดคดีตามมาตรา 202
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 197 วรรคสองเป็นบทบัญญัติถึงลักษณะของการที่จะถือว่าคู่ความขาดนัดพิจารณาส่วนมาตรา 202 เป็นบทบัญญัติที่กำหนดวิธีการปฏิบัติเมื่อจำเลยขาดนัดพิจารณา บทบัญญัติสองมาตรานี้ผิดแผกแตกต่างกัน
ในกรณีที่จำเลยไม่มาศาลในวันสืบพยานและมิได้ร้องขอเลื่อนคดีหรือแจ้งเหตุขัดข้องที่ไม่มาศาลเสียก่อนลงมือสืบพยานซึ่งถือว่าจำเลยขาดนัดพิจารณานั้น ศาลจำต้องมีคำสั่งว่าจำเลยขาดนัดพิจารณาเสียก่อนแล้วจึงจะทำการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีไปฝ่ายเดียวตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 202 และมาตราต่อๆ ไปได้ หากไม่มีคำสั่งดังกล่าวเสียก่อน ก็ไม่เป็นการพิจารณาฝ่ายเดียวตามกฎหมาย
ในกรณีที่จำเลยไม่มาศาลในวันสืบพยานและมิได้ร้องขอเลื่อนคดีหรือแจ้งเหตุขัดข้องที่ไม่มาศาลเสียก่อนลงมือสืบพยานซึ่งถือว่าจำเลยขาดนัดพิจารณานั้น ศาลจำต้องมีคำสั่งว่าจำเลยขาดนัดพิจารณาเสียก่อนแล้วจึงจะทำการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีไปฝ่ายเดียวตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 202 และมาตราต่อๆ ไปได้ หากไม่มีคำสั่งดังกล่าวเสียก่อน ก็ไม่เป็นการพิจารณาฝ่ายเดียวตามกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 726/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดนัดพิจารณา: ศาลต้องมีคำสั่งแสดงการขาดนัดก่อนชี้ขาดคดี
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 197 วรรคสองเป็นบทบัญญัติถึงลักษณะของการที่จะถือว่าคู่ความขาดนัดพิจารณา. ส่วนมาตรา 202 เป็นบทบัญญัติที่กำหนดวิธีการปฏิบัติเมื่อจำเลยขาดนัดพิจารณา บทบัญญัติสองมาตรานี้ผิดแผกแตกต่างกัน.
ในกรณีที่จำเลยไม่มาศาลในวันสืบพยานและมิได้ร้องขอเลื่อนคดีหรือแจ้งเหตุขัดข้องที่ไม่มาศาลเสียก่อนลงมือสืบพยาน. ซึ่งถือว่าจำเลยขาดนัดพิจารณานั้น ศาลจำต้องมีคำสั่งว่าจำเลยขาดนัดพิจารณาเสียก่อน. แล้วจึงจะทำการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีไปฝ่ายเดียวตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 202 และมาตราต่อๆ ไปได้. หากไม่มีคำสั่งดังกล่าวเสียก่อน. ก็ไม่เป็นการพิจารณาฝ่ายเดียวตามกฎหมาย.
ในกรณีที่จำเลยไม่มาศาลในวันสืบพยานและมิได้ร้องขอเลื่อนคดีหรือแจ้งเหตุขัดข้องที่ไม่มาศาลเสียก่อนลงมือสืบพยาน. ซึ่งถือว่าจำเลยขาดนัดพิจารณานั้น ศาลจำต้องมีคำสั่งว่าจำเลยขาดนัดพิจารณาเสียก่อน. แล้วจึงจะทำการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีไปฝ่ายเดียวตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 202 และมาตราต่อๆ ไปได้. หากไม่มีคำสั่งดังกล่าวเสียก่อน. ก็ไม่เป็นการพิจารณาฝ่ายเดียวตามกฎหมาย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 357/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประวิงคดีด้วยการขอเลื่อนนัดหลายครั้ง ศาลชอบที่จะไม่อนุญาตให้เลื่อน และดำเนินกระบวนการพิจารณาต่อไปได้
จำเลยพยายามที่จะให้คดีดำเนินไปอย่างล่าช้า กล่าวคือในเบื้องต้นจำเลยทำเป็นฟ้องแย้งแล้วปล่อยระยะเวลาให้ล่วงเลยไป โดยไม่นำเจ้าพนักงานไปส่งหมายเรียกและฟ้องแย้งให้โจทก์ ศาลจึงมีคำสั่งจำหน่ายคดีฟ้องแย้ง วันชี้สองสถานฝ่ายจำเลยไม่มาศาล วันสืบพยานจำเลยครั้งแรก ทนายจำเลยแถลงว่าปวดฟันขอเลื่อน ศาลอนุญาตและได้กำชับว่าหากมีกรณีขอเลื่อนไปอีกศาลจะไม่อนุญาตถ้าไม่มีเหตุผลที่หนักแน่นสมควร นัดที่ 2 โจทก์ขอเลื่อน นัดที่ 3 จำเลยขอเลื่อนโดยอ้างเหตุป่วยปวดฟัน ศาลอนุญาตให้เลื่อน และสั่งว่าจะอนุญาตให้จำเลยขอเลื่อนไปครั้งนี้ครั้งเดียว ในนัดหน้าจะไม่อนุญาตให้จำเลยเลื่อนไปอีกไม่ว่ากรณีใด นัดที่ 4 จำเลยขอเลื่อนอีก อ้างเหตุปวดฟัน โจทก์คัดค้าน ศาลจึงไม่อนุญาตให้เลื่อน ตามพฤติการณ์ที่ฝ่ายจำเลยดำเนินคดีตลอดมาดังกล่าวนี้ เป็นการประวิงคดีศาลจึงไม่อนุญาตให้เลื่อน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 357/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประวิงคดีด้วยการขอเลื่อนนัดสืบพยานซ้ำๆ ถือเป็นการจงใจทำให้คดีล่าช้า ศาลชอบที่จะไม่อนุญาตให้เลื่อน
จำเลยพยายามที่จะให้คดีดำเนินไปอย่างล่าช้า กล่าวคือในเบื้องต้นจำเลยทำเป็นฟ้องแย้งแล้วปล่อยระยะเวลาให้ล่วงเลยไปโดยไม่นำเจ้าพนักงานไปส่งหมายเรียกและฟ้องแย้งให้โจทก์ ศาลจึงมีคำสั่งจำหน่ายคดีฟ้องแย้งวันชี้สองสถานฝ่ายจำเลยไม่มาศาลวันสืบพยานจำเลยครั้งแรก ทนายจำเลยแถลงว่าปวดฟันขอเลื่อน ศาลอนุญาตและได้กำชับว่าหากมีกรณีขอเลื่อนไปอีกศาลจะไม่อนุญาตถ้าไม่มีเหตุผลที่หนักแน่นสมควร นัดที่ 2 โจทก์ขอเลื่อน นัดที่ 3 จำเลยขอเลื่อนโดยอ้างเหตุป่วยปวดฟัน ศาลอนุญาตให้เลื่อน และสั่งว่าจะอนุญาตให้จำเลยขอเลื่อนไปครั้งนี้ครั้งเดียว ในนัดหน้าจะไม่อนุญาตให้จำเลยเลื่อนไปอีกไม่ว่ากรณีใด นัดที่ 4 ทนายจำเลยขอเลื่อนอีก อ้างเหตุปวดฟันโจทก์คัดค้าน ศาลจึงไม่อนุญาตให้เลื่อนตามพฤติการณ์ที่ฝ่ายจำเลยดำเนินคดีตลอดมาดังกล่าวนี้ เป็นการประวิงคดี ศาลจึงไม่อนุญาตให้เลื่อน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 357/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประวิงคดีโดยจำเลย ศาลชอบที่ไม่อนุญาตให้เลื่อนคดี และพิพากษายืนตามศาลอุทธรณ์
จำเลยพยายามที่จะให้คดีดำเนินไปอย่างล่าช้า กล่าวคือในเบื้องต้นจำเลยทำเป็นฟ้องแย้งแล้วปล่อยระยะเวลาให้ล่วงเลยไปโดยไม่นำเจ้าพนักงานไปส่งหมายเรียกและฟ้องแย้งให้โจทก์. ศาลจึงมีคำสั่งจำหน่ายคดีฟ้องแย้ง. วันชี้สองสถานฝ่ายจำเลยไม่มาศาล.วันสืบพยานจำเลยครั้งแรก ทนายจำเลยแถลงว่าปวดฟันขอเลื่อน ศาลอนุญาตและได้กำชับว่าหากมีกรณีขอเลื่อนไปอีกศาลจะไม่อนุญาตถ้าไม่มีเหตุผลที่หนักแน่นสมควร. นัดที่ 2 โจทก์ขอเลื่อน นัดที่ 3 จำเลยขอเลื่อนโดยอ้างเหตุป่วยปวดฟัน. ศาลอนุญาตให้เลื่อน และสั่งว่าจะอนุญาตให้จำเลยขอเลื่อนไปครั้งนี้ครั้งเดียว ในนัดหน้าจะไม่อนุญาตให้จำเลยเลื่อนไปอีกไม่ว่ากรณีใด. นัดที่ 4 ทนายจำเลยขอเลื่อนอีก อ้างเหตุปวดฟัน. โจทก์คัดค้าน ศาลจึงไม่อนุญาตให้เลื่อน. ตามพฤติการณ์ที่ฝ่ายจำเลยดำเนินคดีตลอดมาดังกล่าวนี้ เป็นการประวิงคดี. ศาลจึงไม่อนุญาตให้เลื่อน.