พบผลลัพธ์ทั้งหมด 323 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3630/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างลูกจ้างกรณีฝ่าฝืนระเบียบวินัยร้ายแรง แม้ระเบียบไม่ได้ระบุเหตุร้ายแรงโดยตรง ศาลยืนตามการเลิกจ้างได้
ระเบียบข้อบังคับของผู้ร้องไม่ได้ระบุไว้โดยตรงว่า การกระทำผิดวินัยกรณีใดถือว่าเป็นกรณีร้ายแรง จึงต้องพิเคราะห์พฤติการณ์เป็นรายกรณีไป กรณีของผู้คัดค้านซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างและกรรมการสหภาพแรงงานองค์การค้าของผู้ร้องขอลาป่วยต่อผู้ร้องทั้ง ๆ ที่ไม่ได้ป่วยจำนวน 3 วัน แล้วไปดำเนินคดีที่ศาลแรงงานกลางให้แก่ ว. ซึ่งไม่ใช่ลูกจ้างของผู้ร้องหรือเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานองค์การค้าของผู้ร้องการกระทำดังกล่าวจึงเป็นการรายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชาและเป็นการไม่ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายและหลีกเลี่ยงหน้าที่การงาน นอกจากนี้ผู้คัดค้านยังถือโอกาสที่ได้รับอนุญาตให้ไปข้างนอกเพื่อกระทำกิจกรรมให้แก่สมาชิกสหภาพแรงงานองค์การค้าของคุรุสภาที่ศาลแรงงานกลางแล้วไปดำเนินคดีให้แก่ว.หลายครั้งหลายหนโดยใช้วิธีนัดวันให้ตรงกันแต่ต่างเวลากัน หากวันนัดไม่ตรงกัน ผู้คัดค้านก็จะใช้วิธีขอลากิจหรือลาป่วยแทนเพื่อไปดำเนินคดีให้แก่ ว. และยังปรากฏว่าผู้คัดค้านขอใช้สิทธิออกไปข้างนอกเพื่อกระทำกิจกรรมของสหภาพแรงงานองค์การค้าของผู้ร้องและกระทำกิจกรรมส่วนตัวในปี 2526-2527 มีจำนวน 68 ครั้งเป็นเวลา 310 ชั่วโมงเศษ และในปี2527-2528 มีจำนวน 82 ครั้งเป็นเวลา 390 ชั่วโมงเศษ ซึ่งผู้ร้องย่อมขาดประโยชน์ที่ควรจะได้ การกระทำของผู้คัดค้านจึงเป็นการกระทำผิดวินัยฐานรายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชาไม่รักษาผลประโยชน์ของนายจ้างและไม่ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตอันถือได้ว่าเป็นการฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับของผู้ร้องเป็นกรณีร้ายแรงตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์พ.ศ.2518มาตรา 123 แล้ว ผู้ร้องจึงมีสิทธิที่จะเลิกจ้างผู้คัดค้านได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3630/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างลูกจ้างกรณีร้ายแรง: พฤติการณ์หลีกเลี่ยงหน้าที่, รายงานเท็จ, และใช้เวลางานผิดประเภท
ระเบียบข้อบังคับของผู้ร้องไม่ได้ระบุไว้โดยตรงว่าการกระทำผิดวินัยกรณีใดถือว่าเป็นกรณีร้ายแรงจึงต้องพิเคราะห์พฤติการณ์เป็นรายกรณีไปกรณีของผู้คัดค้านซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างและกรรมการสหภาพแรงงานองค์การค้าของผู้ร้องขอลาป่วยต่อผู้ร้องทั้งๆที่ไม่ได้ป่วยจำนวน3วันแล้วไปดำเนินคดีที่ศาลแรงงานกลางให้แก่ว.ซึ่งไม่ใช่ลูกจ้างของผู้ร้องหรือเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานองค์การค้าของผู้ร้องการกระทำดังกล่าวจึงเป็นการรายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชาและเป็นการไม่ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายและหลีกเลี่ยงหน้าที่การงานนอกจากนี้ผู้คัดค้านยังถือโอกาสที่ได้รับอนุญาตให้ไปข้างนอกเพื่อกระทำกิจกรรมให้แก่สมาชิกสหภาพแรงงานองค์การค้าของคุรุสภาที่ศาลแรงงานกลางแล้วไปดำเนินคดีให้แก่ว.หลายครั้งหลายหนโดยใช้วิธีนัดวันให้ตรงกันแต่ต่างเวลากันหากวันนัดไม่ตรงกันผู้คัดค้านก็จะใช้วิธีขอลากิจหรือลาป่วยแทนเพื่อไปดำเนินคดีให้แก่ว.และยังปรากฏว่าผู้คัดค้านขอใช้สิทธิออกไปข้างนอกเพื่อกระทำกิจกรรมของสหภาพแรงงานองค์การค้าของผู้ร้องและกระทำกิจกรรมส่วนตัวในปี2526-2527มีจำนวน68ครั้งเป็นเวลา310ชั่วโมงเศษและในปี2527-2528มีจำนวน82ครั้งเป็นเวลา390ชั่วโมงเศษซึ่งผู้ร้องย่อมขาดประโยชน์ที่ควรจะได้การกระทำของผู้คัดค้านจึงเป็นการกระทำผิดวินัยฐานรายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชาไม่รักษาผลประโยชน์ของนายจ้างและไม่ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตอันถือได้ว่าเป็นการฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับของผู้ร้องเป็นกรณีร้ายแรงตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์พ.ศ.2518มาตรา123แล้วผู้ร้องจึงมีสิทธิที่จะเลิกจ้างผู้คัดค้านได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2842/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในการเลิกจ้างกรรมการลูกจ้าง: คำสั่งอนุญาตเลิกจ้างเป็นเพียงสิทธิ ไม่ใช่คำสั่งแทนนายจ้าง
การที่ผู้ร้องร้องขอต่อศาลแรงงานกลางเพื่อขออนุญาตเลิกจ้างผู้คัดค้านซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างนั้น ศาลแรงงานกลางต้องพิจารณาว่ากรณีมีเหตุอันสมควรและเพียงพอที่ผู้ร้องจะเลิกจ้างได้หรือไม่ ถ้าศาลแรงงานกลางมีคำสั่งอนุญาตให้ผู้ร้องเลิกจ้างได้ ก็เป็นเพียงให้สิทธิแก่ผู้ร้องที่จะเลิกจ้างผู้คัดค้านเท่านั้น มิใช่เป็นคำสั่งแทนนายจ้างให้เลิกจ้างกันทันทีโดยผู้ร้องจะต้องมีคำสั่งเลิกจ้างอีกชั้นหนึ่ง การที่ผู้คัดค้านฟ้องแย้งและเรียกค่าเสียหายโดยอ้างว่า หากจะมีการเลิกจ้างเกิดขึ้นไม่ว่าด้วยกรณีใด ๆ ย่อมเป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรมเป็นเรื่องที่ผู้ร้องยังมิได้โต้แย้งสิทธิของผู้คัดค้านโดยการเลิกจ้าง จึงไม่ชอบที่จะรับฟ้องแย้งของผู้คัดค้านไว้พิจารณา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2842/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขออนุญาตเลิกจ้างกรรมการลูกจ้าง: ศาลอนุญาตเพียงให้สิทธิเลิกจ้าง ไม่ใช่คำสั่งให้เลิกจ้างทันที
การที่ผู้ร้องร้องขอต่อศาลแรงงานกลางเพื่อขออนุญาตเลิกจ้างผู้คัดค้านซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างนั้น ศาลแรงงานกลางต้องพิจารณาว่ากรณีมีเหตุอันสมควรและเพียงพอที่ผู้ร้องจะเลิกจ้างได้หรือไม่ ถ้าศาลแรงงานกลางมีคำสั่งอนุญาตให้ผู้ร้องเลิกจ้างได้ ก็เป็นเพียงให้สิทธิแก่ผู้ร้องที่จะเลิกจ้างผู้คัดค้านเท่านั้น มิใช่เป็นคำสั่งแทนนายจ้างให้เลิกจ้างกันทันที โดยผู้ร้องจะต้องมีคำสั่งเลิกจ้างอีกชั้นหนึ่ง การที่ผู้คัดค้านฟ้องแย้งและเรียกค่าเสียหายโดยอ้างว่า หากจะมีการเลิกจ้างเกิดขึ้นไม่ว่าด้วยกรณีใด ๆ ย่อมเป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรมเป็นเรื่องที่ผู้ร้องยังมิได้โต้แย้งสิทธิของผู้คัดค้านโดยการเลิกจ้าง จึงไม่ชอบที่จะรับฟ้องแย้งของผู้คัดค้านไว้พิจารณา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2842/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขออนุญาตเลิกจ้างกรรมการลูกจ้าง: คำสั่งอนุญาตเป็นเพียงสิทธิ ไม่ใช่คำสั่งให้เลิกจ้างทันที
การที่ผู้ร้องร้องขอต่อศาลแรงงานกลางเพื่อขออนุญาตเลิกจ้างผู้คัดค้านซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างนั้นศาลแรงงานกลางต้องพิจารณาว่ากรณีมีเหตุอันสมควรและเพียงพอที่ผู้ร้องจะเลิกจ้างได้หรือไม่ถ้าศาลแรงงานกลางมีคำสั่งอนุญาตให้ผู้ร้องเลิกจ้างได้ก็เป็นเพียงให้สิทธิแก่ผู้ร้องที่จะเลิกจ้างผู้คัดค้านเท่านั้นมิใช่เป็นคำสั่งแทนนายจ้างให้เลิกจ้างกันทันทีโดยผู้ร้องจะต้องมีคำสั่งเลิกจ้างอีกชั้นหนึ่งการที่ผู้คัดค้านฟ้องแย้งและเรียกค่าเสียหายโดยอ้างว่าหากจะมีการเลิกจ้างเกิดขึ้นไม่ว่าด้วยกรณีใดๆย่อมเป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรมเป็นเรื่องที่ผู้ร้องยังมิได้โต้แย้งสิทธิของผู้คัดค้านโดยการเลิกจ้างจึงไม่ชอบที่จะรับฟ้องแย้งของผู้คัดค้านไว้พิจารณา.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2816-2822/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างต้องบอกกล่าวล่วงหน้า แม้ศาลอนุญาตเลิกจ้างแล้ว นายจ้างยังต้องปฏิบัติตามขั้นตอนตามกฎหมาย
คำสั่งของศาลแรงงานตามมาตรา 52 แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 ที่อนุญาตให้จำเลยผู้เป็นนายจ้างเลิกจ้างโจทก์ซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างได้ มีผลเป็นเพียงคำอนุญาตให้นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างที่เป็นกรรมการลูกจ้างได้เท่านั้น มิใช่ เป็นคำสั่งแทนนายจ้างให้เลิกจ้างกันได้โดยทันที แต่เป็นการให้สิทธิแก่นายจ้างที่จะเลิกจ้างได้และนายจ้างต้องออกคำสั่งเลิกจ้างตามที่ศาลแรงงานได้อนุญาตแล้ว สัญญาจ้างจึงจะเป็นอันสิ้นสุดลง ส่วนการบอกกล่าวล่วงหน้าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 582 จะต้องเป็นกรณีที่นายจ้างแสดงเจตนาเลิกจ้างโดยตรงต่อลูกจ้างว่านายจ้างมีความประสงค์จะเลิกจ้างลูกจ้างนั้น การยื่นคำร้องขอต่อศาลแรงงานกลางเพื่อมีคำสั่งอนุญาตให้จำเลยเลิกจ้างโจทก์ มิใช่เป็นการแสดงเจตนาต่อโจทก์การที่จำเลยมีคำสั่งเลิกจ้างโจทก์ต่อมาตามคำสั่งของศาลแรงงาน โดยโจทก์มิได้กระทำผิดอย่างหนึ่งอย่างใด ตาม มาตรา 583 จึงต้องจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า
จำเลยยื่นคำร้องต่อศาลแรงงานกลางขออนุญาตเลิกจ้างโจทก์ซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้าง คดีอยู่ระหว่างพิจารณา จำเลยได้มีคำสั่งเป็นหนังสือให้โจทก์หยุดพักผ่อนประจำปีโดยกำหนดให้หยุดตั้งแต่วันที่กำหนดให้เป็นต้นไป ย่อมถือได้ว่าจำเลยผู้เป็นนายจ้างได้กำหนดวันหยุดพักผ่อนประจำปีล่วงหน้าให้แก่โจทก์ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงาน ข้อ 10 แล้ว และเป็นการกำหนดช่วงระยะเวลาให้โจทก์พิจารณาเลือกวันหยุดเอาเองตามความสะดวกและเหมาะสม เมื่อโจทก์ไม่ยอมหยุดตามที่จำเลยกำหนดไว้ จำเลยจึงไม่มีหน้าที่ต้องจ่ายค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีให้แก่โจทก์
จำเลยยื่นคำร้องต่อศาลแรงงานกลางขออนุญาตเลิกจ้างโจทก์ซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้าง คดีอยู่ระหว่างพิจารณา จำเลยได้มีคำสั่งเป็นหนังสือให้โจทก์หยุดพักผ่อนประจำปีโดยกำหนดให้หยุดตั้งแต่วันที่กำหนดให้เป็นต้นไป ย่อมถือได้ว่าจำเลยผู้เป็นนายจ้างได้กำหนดวันหยุดพักผ่อนประจำปีล่วงหน้าให้แก่โจทก์ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงาน ข้อ 10 แล้ว และเป็นการกำหนดช่วงระยะเวลาให้โจทก์พิจารณาเลือกวันหยุดเอาเองตามความสะดวกและเหมาะสม เมื่อโจทก์ไม่ยอมหยุดตามที่จำเลยกำหนดไว้ จำเลยจึงไม่มีหน้าที่ต้องจ่ายค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีให้แก่โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2816-2822/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างต้องบอกกล่าวล่วงหน้า แม้ศาลอนุญาตเลิกจ้างแล้ว นายจ้างต้องออกคำสั่งเลิกจ้างและจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าว
คำสั่งของศาลแรงงานตามมาตรา 52 แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์พ.ศ.2518 ที่อนุญาตให้จำเลยผู้เป็นนายจ้างเลิกจ้างโจทก์ซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างได้ มีผลเป็นเพียงคำอนุญาตให้นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างที่เป็นกรรมการลูกจ้างได้เท่านั้น มิใช่เป็นคำสั่งแทนนายจ้างให้เลิกจ้างกันได้โดยทันที แต่เป็นการให้สิทธิแก่นายจ้างที่จะเลิกจ้างได้และนายจ้างต้องออกคำสั่งเลิกจ้างตามที่ศาลแรงงานได้อนุญาตแล้ว สัญญาจ้างจึงจะเป็นอันสิ้นสุดลง ส่วนการบอกกล่าวล่วงหน้าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 582 จะต้องเป็นกรณีที่นายจ้างแสดงเจตนาเลิกจ้างโดยตรงต่อลูกจ้างว่านายจ้างมีความประสงค์จะเลิกจ้างลูกจ้างนั้น การยื่นคำร้องขอต่อศาลแรงงานกลางเพื่อมีคำสั่งอนุญาตให้จำเลยเลิกจ้างโจทก์ มิใช่เป็นการแสดงเจตนาต่อโจทก์การที่จำเลยมีคำสั่งเลิกจ้างโจทก์ต่อมาตามคำสั่งของศาลแรงงาน โดยโจทก์มิได้กระทำผิดอย่างหนึ่งอย่างใด ตาม มาตรา 583 จึงต้องจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า
จำเลยยื่นคำร้องต่อศาลแรงงานกลางขออนุญาตเลิกจ้างโจทก์ ซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้าง คดีอยู่ระหว่างพิจารณา จำเลยได้มีคำสั่งเป็นหนังสือให้โจทก์หยุดพักผ่อนประจำปีโดยกำหนดให้หยุดตั้งแต่วันที่กำหนดให้เป็นต้นไป ย่อมถือได้ว่าจำเลยผู้เป็นนายจ้างได้กำหนดวันหยุดพักผ่อนประจำปีล่วงหน้าให้แก่โจทก์ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน ข้อ 10 แล้ว และเป็นการกำหนดช่วงระยะเวลาให้โจทก์พิจารณาเลือกวันหยุดเอาเองตามความสะดวกและเหมาะสม เมื่อโจทก์ไม่ยอมหยุดตามที่จำเลยกำหนดไว้ จำเลยจึงไม่มีหน้าที่ต้องจ่ายค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีให้แก่โจทก์
จำเลยยื่นคำร้องต่อศาลแรงงานกลางขออนุญาตเลิกจ้างโจทก์ ซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้าง คดีอยู่ระหว่างพิจารณา จำเลยได้มีคำสั่งเป็นหนังสือให้โจทก์หยุดพักผ่อนประจำปีโดยกำหนดให้หยุดตั้งแต่วันที่กำหนดให้เป็นต้นไป ย่อมถือได้ว่าจำเลยผู้เป็นนายจ้างได้กำหนดวันหยุดพักผ่อนประจำปีล่วงหน้าให้แก่โจทก์ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน ข้อ 10 แล้ว และเป็นการกำหนดช่วงระยะเวลาให้โจทก์พิจารณาเลือกวันหยุดเอาเองตามความสะดวกและเหมาะสม เมื่อโจทก์ไม่ยอมหยุดตามที่จำเลยกำหนดไว้ จำเลยจึงไม่มีหน้าที่ต้องจ่ายค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีให้แก่โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2816-2822/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างกรรมการลูกจ้าง ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า แม้ศาลอนุญาตเลิกจ้างแล้ว นายจ้างต้องออกคำสั่งเลิกจ้าง และจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าว
คำสั่งของศาลแรงงานตามมาตรา52แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์พ.ศ.2518ที่อนุญาตให้จำเลยผู้เป็นนายจ้างเลิกจ้างโจทก์ซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างได้มีผลเป็นเพียงคำอนุญาตให้นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างที่เป็นกรรมการลูกจ้างได้เท่านั้นมิใช่เป้นคำสั่งแทนนายจ้างให้เลิกจ้างกันได้โดยทันทีแต่เป็นการให้สิทธิแก่นายจ้างที่จะเลิกจ้างได้และนายจ้างต้องออกคำสั่งเลิกจ้างตามที่ศาลแรงงานได้อนุญาตแล้วสัญญาจ้างจึงจะเป็นอันสิ้นสุดลงส่วนการบอกกล่าวล่วงหน้าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา582จะต้องเป็นกรณีที่นายจ้างแสดงเจตนาเลิกจ้างโดยตรงต่อลูกจ้างว่านายจ้างมีความประสงค์จะเลิกจ้างลูกจ้างนั้นการยื่นคำร้องขอต่อศาลแรงงานกลางเพื่อมีคำสั่งอนุญาตให้จำเลยเลิกจ้างโจทก์มิใช่เป็นการแสดงเจตนาต่อโจทก์การที่จำเลยมีคำสั่งเลิกจ้างโจทก์ต่อมาตามคำสั่งของศาลแรงงานโดยโจทก์มิได้กระทำผิดอย่างหนึ่งอย่างใดตามมาตรา583จึงต้องจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า จำเลยยื่นคำร้องต่อศาลแรงงานกลางขออนุญาตเลิกจ้างโจทก์ซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างคดีอยู่ระหว่างพิจารณาจำเลยได้มีคำสั่งเป็นหนังสือให้โจทก์หยุดพักผ่อนประจำปีโดยกำหนดให้หยุดตั้งแต่วันที่กำหนดให้เป็นต้นไปย่อมถือได้ว่าจำเลยผู้เป็นนายจ้างได้กำหนดวันหยุดพักผ่อนประจำปีล่วงหน้าให้แก่โจทก์ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงานข้อ10แล้วและเป็นการกำหนดช่วงระยะเวลาให้โจทก์พิจารณาเลือกวันหยุดเอาเองตามความสะดวกและเหมาะสมเมื่อโจทก์ไม่ยอมหยุดตามที่จำเลยกำหนดไว้จำเลยจึงไม่มีหน้าที่ต้องจ่ายค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีให้แก่โจทก์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1596/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างต้องพิจารณาจากเหตุตามคำร้องเท่านั้น ศาลมิอาจนำเหตุอื่นนอกคำร้องมาวินิจฉัยได้ และประเด็นเรื่องอำนาจมอบอำนาจต้องยกขึ้นว่ากันในศาลชั้นต้น
ผู้คัดค้านยื่นคำร้องคัดค้านเพียงว่า ผู้ร้องไม่มีอำนาจฟ้องเพราะผู้ร้องไม่เคยมอบอำนาจให้ ส. หรือ อ. เป็นผู้มีอำนาจดำเนินคดีแทนผู้ร้อง ดังนี้ประเด็นในคำคัดค้านจึงมีเพียงว่า ผู้ร้องมอบอำนาจให้บุคคลทั้งสองเป็นผู้ดำเนินคดีนี้หรือไม่เท่านั้น ข้อที่ผู้คัดค้านอุทธรณ์ว่าหนังสือมอบอำนาจไม่ชอบด้วยกฎหมายเพราะตราที่ประทับในหนังสือนั้นมิใช่ตราของผู้ร้องและมิใช่ตราที่จดทะเบียนไว้ต่อกระทรวงพาณิชย์ จึงเป็นการอุทธรณ์ในข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลแรงงานกลางศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้.
เหตุขออนุญาตเลิกจ้างลูกจ้างตามคำร้องของนายจ้างเป็นประการใด ศาลแรงงานชอบที่จะพิจารณาแต่เหตุนั้นโดยเฉพาะ เมื่อเหตุตามคำร้องรับฟังไม่ได้ศาลก็ชอบที่จะยกคำร้องเสีย จะนำเหตุที่มิใช่ข้ออ้างไว้อันเป็นเหตุนอกคำร้องนอกประเด็นมาพิจารณาแล้วยกเอาเหตุนั้นมาเป็นข้อเลิกจ้างหาชอบด้วยกระบวนพิจารณาไม่.
นายจ้างขออนุญาตเลิกจ้างลูกจ้างซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างโดยอ้างเหตุว่าสินค้าของนายจ้างสูญหายเกิดจากลูกจ้างทุจริตหรือเกิดจากการร่วมทุจริตกับผู้อื่นหรือเกิดจากการประมาทเลินเล่อของลูกจ้าง เมื่อเหตุตามคำร้องฟังไม่ได้ศาลแรงงานกลางจะยกเอาเหตุที่ลูกจ้างเคยทำคำแถลงการณ์ในลักษณะชักชวนให้พนักงานกระด้างกระเดื่องต่อผู้บังคับบัญชามาเป็นเหตุเลิกจ้างไม่ได้.
เหตุขออนุญาตเลิกจ้างลูกจ้างตามคำร้องของนายจ้างเป็นประการใด ศาลแรงงานชอบที่จะพิจารณาแต่เหตุนั้นโดยเฉพาะ เมื่อเหตุตามคำร้องรับฟังไม่ได้ศาลก็ชอบที่จะยกคำร้องเสีย จะนำเหตุที่มิใช่ข้ออ้างไว้อันเป็นเหตุนอกคำร้องนอกประเด็นมาพิจารณาแล้วยกเอาเหตุนั้นมาเป็นข้อเลิกจ้างหาชอบด้วยกระบวนพิจารณาไม่.
นายจ้างขออนุญาตเลิกจ้างลูกจ้างซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างโดยอ้างเหตุว่าสินค้าของนายจ้างสูญหายเกิดจากลูกจ้างทุจริตหรือเกิดจากการร่วมทุจริตกับผู้อื่นหรือเกิดจากการประมาทเลินเล่อของลูกจ้าง เมื่อเหตุตามคำร้องฟังไม่ได้ศาลแรงงานกลางจะยกเอาเหตุที่ลูกจ้างเคยทำคำแถลงการณ์ในลักษณะชักชวนให้พนักงานกระด้างกระเดื่องต่อผู้บังคับบัญชามาเป็นเหตุเลิกจ้างไม่ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1596/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้อง, เหตุเลิกจ้าง, การพิจารณาข้อเท็จจริงนอกคำร้อง: ศาลฎีกาตัดสินให้ยกคำร้องเลิกจ้างเนื่องจากเหตุผลที่อาศัยไม่ตรงกับคำร้อง
ผู้คัดค้านยื่นคำร้องคัดค้านเพียงว่าผู้ร้องไม่มีอำนาจฟ้องเพราะผู้ร้องไม่เคยมอบอำนาจให้ส.หรืออ.เป็นผู้มีอำนาจดำเนินคดีแทนผู้ร้องดังนี้ประเด็นในคำคัดค้านจึงมีเพียงว่าผู้ร้องมอบอำนาจให้บุคคลทั้งสองเป็นผู้ดำเนินคดีนี้หรือไม่เท่านั้นข้อที่ผู้คัดค้านอุทธรณ์ว่าหนังสือมอบอำนาจไม่ชอบด้วยกฎหมายเพราะตราที่ประทับในหนังสือนั้นมิใช่ตราของผู้ร้องและมิใช่ตราที่จดทะเบียนไว้ต่อกระทรวงพาณิชย์จึงเป็นการอุทธรณ์ในข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลแรงงานกลางศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้. เหตุขออนุญาตเลิกจ้างลูกจ้างตามคำร้องของนายจ้างเป็นประการใดศาลแรงงานชอบที่จะพิจารณาแต่เหตุนั้นโดยเฉพาะเมื่อเหตุตามคำร้องรับฟังไม่ได้ศาลก็ชอบที่จะยกคำร้องเสียจะนำเหตุที่มิใช่ข้ออ้างไว้อันเป็นเหตุนอกคำร้องนอกประเด็นมาพิจารณาแล้วยกเอาเหตุนั้นมาเป็นข้อเลิกจ้างหาชอบด้วยกระบวนพิจารณาไม่. นายจ้างขออนุญาตเลิกจ้างลูกจ้างซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างโดยอ้างเหตุว่าสินค้าของนายจ้างสูญหายเกิดจากลูกจ้างทุจริตหรือเกิดจากการร่วมทุจริตกับผู้อื่นหรือเกิดจากการประมาทเลินเล่อของลูกจ้างเมื่อเหตุตามคำร้องฟังไม่ได้ศาลแรงงานกลางจะยกเอาเหตุที่ลูกจ้างเคยทำคำแถลงการณ์ในลักษณะชักชวนให้พนักงานกระด้างกระเดื่องต่อผู้บังคับบัญชามาเป็นเหตุเลิกจ้างไม่ได้.