พบผลลัพธ์ทั้งหมด 2 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2710/2543
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองยาเสพติดเพื่อจำหน่าย พิจารณาจากปริมาณทรัพย์สินและพฤติการณ์อื่นประกอบ
เมทแอมเฟตามีน ที่เจ้าพนักงานตำรวจยึดไว้เป็นของกลางนอกจากจะบรรจุไว้ในซองพลาสติก ซึ่งมีลักษณะแบ่งแยกไว้จำเพาะแล้ว และยังมีจำนวนถึง 1,140 เม็ด มากเกินกว่าที่จำเลยจะนำมาเสพเอง ส่วน อีเฟดรีน ก็มีน้ำหนักประมาณ 5 กิโลกรัม ถือว่าเป็นจำนวนมาก และยังเป็นวัตถุดิบที่ใช้สำหรับผลิตเมทแอมเฟตามีนอีกด้วย ของกลางทั้งสองรายการล้วนเป็นของผิดกฎหมายส่อแสดงให้เห็นว่าจำเลยมีวัตถุประสงค์จะนำไปใช้ในทางไม่สุจริต โดยเฉพาะอีเฟดรีนที่เจ้าพนักงานตำรวจยึดได้นั้นส่วนหนึ่งอยู่ในถุงพลาสติกซุกซ่อนอยู่ในกระเป๋าสีดำสำหรับใช้สะพายรวมอยู่ด้วยกับอาวุธปืนของจำเลย จากโต๊ะเครื่องแป้งในห้องนอน และอีเฟดรีนอีกส่วนหนึ่งอยู่ในกล่องกระดาษบรรจุในถุงหิ้วได้มาจากโซฟานอกห้องนอน ดังนี้อีเฟดรีนทั้งสองจำนวน จำเลยย่อมรู้เห็นเพราะอยู่ในวิสัยที่จำเลยสามารถค้นหาพบอย่างง่ายดาย เจ้าพนักงานตำรวจยังได้ยึดทรัพย์สินอย่างอื่นของจำเลยอีกจำนวนมาก อาทิ รถยนต์ 4 คัน นาฬิกาข้อมือฝังเพชร สร้อยคอทองคำฝังเพชร และแหวนทองคำ เป็นต้น ล้วนแล้วแต่เป็นทรัพย์สินที่มีค่าและราคาแพงตลอดทั้งมีสมุดฝากเงินของธนาคารถึง 5 แห่ง กับบันทึกข้อความสั่งให้จ่ายเงินนับสิบล้านบาทเก็บซุกซ่อนอยู่ในห้องพักคอนโดมิเนียมที่จำเลยเช่าอยู่กับภริยาลำพัง2 คน หรือรถยนต์ราคาแพงที่จอดไว้ที่ลานจอดรถ ทรัพย์สินเหล่านั้นทั้งหมดเมื่อมาเปรียบเทียบกับอาชีพการงานของจำเลยเกินกว่าฐานะตามที่ควรจะเป็น ส่อแสดงให้เห็นว่าการได้มาซึ่งทรัพย์สินดังกล่าวมีพิรุธและไม่สุจริต พฤติการณ์ดังที่กล่าวมาเบื้องต้นและจากการสืบทราบของเจ้าพนักงานตำรวจว่าจำเลยมีการลักลอบจำหน่ายยาเสพติดให้โทษ ย่อมมีน้ำหนักมั่นคงฟังได้ว่าจำเลยมีเมทแอมเฟตามีนและอีเฟดรีนของกลางไว้เพื่อจำหน่าย โจทก์หาจำต้องมีประจักษ์พยานให้เห็นว่า จำเลยเป็นผู้จำหน่ายยาเสพติดให้โทษมาก่อนเกิดเหตุไม่
โทรศัพท์เคลื่อนที่และวิทยุติดตามตัวของกลาง จำเลยได้นำมาใช้เป็นอุปกรณ์สื่อสารให้ได้รับผลในการกระทำความผิดนอกเหนือจากการใช้สื่อสารตามปกติธุระของจำเลย ตามพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. 2534 มาตรา 29,30 ที่ศาลล่างทั้งสองใช้ดุลพินิจให้ริบโทรศัพท์เคลื่อนที่และวิทยุติดตามตัวของกลางเป็นของกองทุนป้องกันและปราบปรามยาเสพติดชอบแล้ว
โทรศัพท์เคลื่อนที่และวิทยุติดตามตัวของกลาง จำเลยได้นำมาใช้เป็นอุปกรณ์สื่อสารให้ได้รับผลในการกระทำความผิดนอกเหนือจากการใช้สื่อสารตามปกติธุระของจำเลย ตามพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. 2534 มาตรา 29,30 ที่ศาลล่างทั้งสองใช้ดุลพินิจให้ริบโทรศัพท์เคลื่อนที่และวิทยุติดตามตัวของกลางเป็นของกองทุนป้องกันและปราบปรามยาเสพติดชอบแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2710/2543 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คดีเมทแอมเฟตามีนและอีเฟดรีน: มีไว้เพื่อจำหน่าย พิจารณาจากปริมาณทรัพย์สินและพฤติการณ์
++ เรื่อง ความผิดต่อพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ ++
++ ความผิดต่อพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
++ ความผิดต่อพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ++
++
++ ทดสอบการทำงานในระบบ CW เพื่อค้นหาข้อมูลทาง online ++
++ ย่อข้อกฎหมายอย่างไม่เป็นทางการ
++ พิมพ์จากสำเนาชุดพิเศษ ++
++
++
++ เมทแอมเฟตามีนที่เจ้าพนักงานตำรวจยึดไว้เป็นของกลางนอกจากจะบรรจุไว้ในซองพลาสติก ซึ่งมีลักษณะแบ่งแยกไว้จำเพาะแล้ว และยังมีจำนวนถึง 1,140 เม็ด มากเกินกว่าที่จำเลยจะนำมาเสพเอง ส่วนอีเฟดรีนก็มีน้ำหนักประมาณ 5 กิโลกรัม ถือว่าเป็นจำนวนมาก และยังเป็นวัตถุดิบที่ใช้สำหรับผลิตเมทแอมเฟตามีนอีกด้วย ของกลางทั้งสองรายการล้วนเป็นของผิดกฎหมายส่อแสดงให้เห็นว่าจำเลยมีวัตถุประสงค์จะนำไปใช้ในทางไม่สุจริต โดยเฉพาะอีเฟดรีนที่เจ้าพนักงานตำรวจยึดได้นั้นส่วนหนึ่งอยู่ในถุงพลาสติกซุกซ่อนอยู่ในกระเป๋าสีดำสำหรับใช้สะพายรวมอยู่ด้วยกับอาวุธปืนของจำเลย จากโต๊ะเครื่องแป้งในห้องนอน และอีเฟดรีนอีกส่วนหนึ่งอยู่ในกล่องกระดาษบรรจุในถุงหิ้วได้มาจากโซฟานอกห้องนอน ดังนี้ อีเฟดรีนทั้งสองจำนวน จำเลยย่อมรู้เห็นเพราะอยู่ในวิสัยที่จำเลยสามารถค้นหาพบอย่างง่ายดาย เจ้าพนักงานตำรวจยังได้ยึดทรัพย์สินอย่างอื่นของจำเลยอีกจำนวนมาก อาทิ รถยนต์ 4 คัน นาฬิกาข้อมือ ฝังเพชร สร้อยคอทองคำฝังเพชร และแหวนทองคำ เป็นต้น ล้วนแล้วแต่เป็นทรัพย์สินที่มีค่าและราคาแพงตลอดทั้งมีสมุดฝากเงินของธนาคารถึง 5 แห่ง กับบันทึกข้อความสั่งให้จ่ายเงินนับสิบล้านบาท เก็บซุกซ่อนอยู่ในห้องพักคอนโดมิเนียมที่จำเลยเช่าอยู่กับภริยาลำพัง2 คน หรือรถยนต์ราคาแพงที่จอดไว้ที่ลานจอดรถ ทรัพย์สินเหล่านั้นทั้งหมดเมื่อมาเปรียบเทียบกับอาชีพการงานของจำเลยเกินกว่าฐานะตามที่ควรจะเป็น ส่อแสดงให้เห็นว่าการได้มาซึ่งทรัพย์สินดังกล่าวมีพิรุธและไม่สุจริต พฤติการณ์ดังที่กล่าวมาเบื้องต้นและจากการสืบทราบของเจ้าพนักงานตำรวจว่าจำเลยมีการลักลอบจำหน่ายยาเสพติดให้โทษ ย่อมมีน้ำหนักมั่นคงฟังได้ว่าจำเลยมีเมทแอมเฟตามีนและอีเฟดรีนของกลางไว้เพื่อจำหน่าย โจทก์หาจำต้องมีประจักษ์พยานให้เห็นว่า จำเลยเป็นผู้จำหน่ายยาเสพติดให้โทษมาก่อนเกิดเหตุไม่
โทรศัพท์เคลื่อนที่และวิทยุติดตามตัวของกลาง จำเลยได้นำมาใช้เป็นอุปกรณ์สื่อสารให้ได้รับผลในการกระทำความผิดนอกเหนือจากการใช้สื่อสารตามปกติธุระของจำเลย ตาม พ.ร.บ.มาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. 2534 มาตรา 29, 30 ที่ศาลล่างทั้งสองใช้ดุลพินิจให้ริบโทรศัพท์เคลื่อนที่และวิทยุติดตามตัวของกลางเป็นของกองทุนป้องกันและปราบปรามยาเสพติดชอบแล้ว
++ ความผิดต่อพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
++ ความผิดต่อพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ++
++
++ ทดสอบการทำงานในระบบ CW เพื่อค้นหาข้อมูลทาง online ++
++ ย่อข้อกฎหมายอย่างไม่เป็นทางการ
++ พิมพ์จากสำเนาชุดพิเศษ ++
++
++
++ เมทแอมเฟตามีนที่เจ้าพนักงานตำรวจยึดไว้เป็นของกลางนอกจากจะบรรจุไว้ในซองพลาสติก ซึ่งมีลักษณะแบ่งแยกไว้จำเพาะแล้ว และยังมีจำนวนถึง 1,140 เม็ด มากเกินกว่าที่จำเลยจะนำมาเสพเอง ส่วนอีเฟดรีนก็มีน้ำหนักประมาณ 5 กิโลกรัม ถือว่าเป็นจำนวนมาก และยังเป็นวัตถุดิบที่ใช้สำหรับผลิตเมทแอมเฟตามีนอีกด้วย ของกลางทั้งสองรายการล้วนเป็นของผิดกฎหมายส่อแสดงให้เห็นว่าจำเลยมีวัตถุประสงค์จะนำไปใช้ในทางไม่สุจริต โดยเฉพาะอีเฟดรีนที่เจ้าพนักงานตำรวจยึดได้นั้นส่วนหนึ่งอยู่ในถุงพลาสติกซุกซ่อนอยู่ในกระเป๋าสีดำสำหรับใช้สะพายรวมอยู่ด้วยกับอาวุธปืนของจำเลย จากโต๊ะเครื่องแป้งในห้องนอน และอีเฟดรีนอีกส่วนหนึ่งอยู่ในกล่องกระดาษบรรจุในถุงหิ้วได้มาจากโซฟานอกห้องนอน ดังนี้ อีเฟดรีนทั้งสองจำนวน จำเลยย่อมรู้เห็นเพราะอยู่ในวิสัยที่จำเลยสามารถค้นหาพบอย่างง่ายดาย เจ้าพนักงานตำรวจยังได้ยึดทรัพย์สินอย่างอื่นของจำเลยอีกจำนวนมาก อาทิ รถยนต์ 4 คัน นาฬิกาข้อมือ ฝังเพชร สร้อยคอทองคำฝังเพชร และแหวนทองคำ เป็นต้น ล้วนแล้วแต่เป็นทรัพย์สินที่มีค่าและราคาแพงตลอดทั้งมีสมุดฝากเงินของธนาคารถึง 5 แห่ง กับบันทึกข้อความสั่งให้จ่ายเงินนับสิบล้านบาท เก็บซุกซ่อนอยู่ในห้องพักคอนโดมิเนียมที่จำเลยเช่าอยู่กับภริยาลำพัง2 คน หรือรถยนต์ราคาแพงที่จอดไว้ที่ลานจอดรถ ทรัพย์สินเหล่านั้นทั้งหมดเมื่อมาเปรียบเทียบกับอาชีพการงานของจำเลยเกินกว่าฐานะตามที่ควรจะเป็น ส่อแสดงให้เห็นว่าการได้มาซึ่งทรัพย์สินดังกล่าวมีพิรุธและไม่สุจริต พฤติการณ์ดังที่กล่าวมาเบื้องต้นและจากการสืบทราบของเจ้าพนักงานตำรวจว่าจำเลยมีการลักลอบจำหน่ายยาเสพติดให้โทษ ย่อมมีน้ำหนักมั่นคงฟังได้ว่าจำเลยมีเมทแอมเฟตามีนและอีเฟดรีนของกลางไว้เพื่อจำหน่าย โจทก์หาจำต้องมีประจักษ์พยานให้เห็นว่า จำเลยเป็นผู้จำหน่ายยาเสพติดให้โทษมาก่อนเกิดเหตุไม่
โทรศัพท์เคลื่อนที่และวิทยุติดตามตัวของกลาง จำเลยได้นำมาใช้เป็นอุปกรณ์สื่อสารให้ได้รับผลในการกระทำความผิดนอกเหนือจากการใช้สื่อสารตามปกติธุระของจำเลย ตาม พ.ร.บ.มาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. 2534 มาตรา 29, 30 ที่ศาลล่างทั้งสองใช้ดุลพินิจให้ริบโทรศัพท์เคลื่อนที่และวิทยุติดตามตัวของกลางเป็นของกองทุนป้องกันและปราบปรามยาเสพติดชอบแล้ว