พบผลลัพธ์ทั้งหมด 46 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2392/2523 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องสัญญาจ้างเหมา แม้ไม่มีตราบริษัท และขอบเขตความรับผิดชำรุดบกพร่องหลังส่งมอบงาน
สัญญาจ้างระบุไว้ว่า ระหว่างบริษัทโจทก์โดยนางสาว ว.ผู้ว่าจ้างและจำเลยผู้รับจ้าง เมื่อนางสาว ว. ลงนามในสัญญาและบริษัทโจทก์ได้ยอมรับเอาผลงานที่จำเลยทำให้ตามสัญญาจนกระทั่งบริษัทโจทก์ได้จ่ายค่าจ้าง ให้จำเลยครบถ้วนตามสัญญาแล้วแม้จะไม่ได้ประทับตราสำคัญของบริษัทตามข้อบังคับ บริษัทโจทก์ก็มีอำนาจฟ้อง
สัญญาจ้างเหมาเจาะบ่อน้ำบาดาลมิได้กำหนดเวลาที่ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดเพื่อการที่ทำชำรุดบกพร่อง ผู้รับจ้างต้องรับผิดเพื่อการที่ทำชำรุดบกพร่องที่ปรากฏขึ้นภายใน 1 ปี นับแต่วันส่งมอบตามบทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 600 โดยไม่ต้องคำนึงว่าผู้รับจ้างใช้เครื่องยนต์เก่าหรือไม่ เว้นแต่ความชำรุดบกพร่องจะเกิดขึ้นเพราะความผิดของผู้ว่าจ้าง
สัญญาจ้างเหมาเจาะบ่อน้ำบาดาลมิได้กำหนดเวลาที่ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดเพื่อการที่ทำชำรุดบกพร่อง ผู้รับจ้างต้องรับผิดเพื่อการที่ทำชำรุดบกพร่องที่ปรากฏขึ้นภายใน 1 ปี นับแต่วันส่งมอบตามบทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 600 โดยไม่ต้องคำนึงว่าผู้รับจ้างใช้เครื่องยนต์เก่าหรือไม่ เว้นแต่ความชำรุดบกพร่องจะเกิดขึ้นเพราะความผิดของผู้ว่าจ้าง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2392/2523
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องสัญญาจ้างเหมา แม้ไม่มีตราบริษัท และความรับผิดชอบต่อความชำรุดบกพร่องของงาน
สัญญาจ้างระบุไว้ว่า ระหว่างบริษัทโจทก์โดยนางสาวว.ผู้ว่าจ้างและจำเลยผู้รับจ้าง เมื่อนางสาวว. ลงนามในสัญญาและบริษัทโจทก์ได้ยอมรับเอาผลงานที่จำเลยทำให้ตามสัญญาจนกระทั่งบริษัทโจทก์ได้จ่ายค่าจ้างให้จำเลยครบถ้วนตามสัญญาแล้ว แม้จะไม่ได้ประทับตราสำคัญของบริษัทตามข้อบังคับ บริษัทโจทก์ก็มีอำนาจฟ้อง
สัญญาจ้างเหมาเจาะบ่อน้ำบาดาลมิได้กำหนดเวลาที่ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดเพื่อการที่ทำชำรุดบกพร่อง ผู้รับจ้างต้องรับผิดเพื่อการที่ทำชำรุดบกพร่องที่ปรากฏขึ้นภายใน 1 ปี นับแต่วันส่งมอบตามบทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 600โดยไม่ต้องคำนึงว่าผู้รับจ้างใช้เครื่องยนต์เก่าหรือใหม่เว้นแต่ความชำรุดบกพร่องจะเกิดขึ้นเพราะความผิดของผู้ว่าจ้าง
สัญญาจ้างเหมาเจาะบ่อน้ำบาดาลมิได้กำหนดเวลาที่ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดเพื่อการที่ทำชำรุดบกพร่อง ผู้รับจ้างต้องรับผิดเพื่อการที่ทำชำรุดบกพร่องที่ปรากฏขึ้นภายใน 1 ปี นับแต่วันส่งมอบตามบทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 600โดยไม่ต้องคำนึงว่าผู้รับจ้างใช้เครื่องยนต์เก่าหรือใหม่เว้นแต่ความชำรุดบกพร่องจะเกิดขึ้นเพราะความผิดของผู้ว่าจ้าง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3025/2522 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องค่าเสียหายจากการซ่อมแซมงานก่อสร้าง: สัญญาเฉพาะ vs. กฎหมายทั่วไป
โจทก์ฟ้องให้จำเลยชำระค่าจ้างที่โจทก์จะต้องจ้างผู้อื่นทำการซ่อมแซมแก้ไขความชำรุดบกพร่องของสิ่งก่อสร้าง ตามที่โจทก์กับจำเลยได้ทำสัญญาไว้ เป็นเรื่องฟ้องให้จำเลยรับผิดตามสัญญาจ้างธรรมดาซึ่งไม่มีกฎหมายบัญญัติเรื่องอายุความไว้โดยเฉพาะจึงต้องใช้อายุความสิบปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164 หาใช่เป็นการฟ้องเรียกค่าเสียหายเพื่อการที่ทำชำรุดบกพร่องอันมีอายุความหนึ่งมีตามมาตรา 601 ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3025/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องสัญญาจ้าง: ข้อตกลงในสัญญาเหนือมาตรา 601
โจทก์ฟ้องขอให้จำเลยชำระค่าจ้างที่โจทก์จะต้องจ้างผู้อื่นทำการซ่อมแซมแก้ไขความชำรุดบกพร่องของสิ่งก่อสร้าง ตามที่โจทก์กับจำเลยได้ทำสัญญากันไว้ เป็นเรื่องฟ้องให้จำเลยรับผิดตามสัญญาจ้างธรรมดาซึ่งไม่มีกฎหมายบัญญัติเรื่องอายุความไว้โดยเฉพาะจึงต้องใช้อายุความสิบปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164 หาใช่เป็นการฟ้องเรียกค่าเสียหายเพื่อการที่ทำชำรุดบกพร่องอันมีอายุความหนึ่งปีตามมาตรา 601 ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2427-2428/2520 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้ำซ้อน-การบอกเลิกสัญญา-การลดค่าจ้าง: ศาลฎีกาวินิจฉัยประเด็นอำนาจฟ้อง, สิทธิบอกเลิกสัญญา, และการอุทธรณ์ที่ไม่ชอบ
สำนวนแรกโจทก์ฟ้องเรียกเงินค่าจ้างก่อสร้างอาคารพักอาศัยจากจำเลยผู้ว่าจ้าง จำเลยให้การและฟ้องแย้งว่าโจทก์ผิดสัญญาจ้าง จำเลยเสียหายและได้บอกเลิกสัญญาแล้ว ขอให้บังคับโจทก์ชำระค่าปรับและค่าเสียหาย คดีอยู่ในระหว่างการพิจารณาจำเลยฟ้องโจทก์สำนวนหลังฐานผิดสัญญาจ้างนั้นเรียกค่าเสียหายเพิ่มเติมนอกเหนือจากที่ได้ฟ้องแย้งไว้แล้ว ดังนี้ สำนวนหลังเป็นฟ้องต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 173(1) เพราะเป็นเรื่องเดียวกันกับเรื่องเดิมที่ได้ฟ้องแย้งไว้แล้ว การที่จำเลยสงวนสิทธิในการฟ้องเรียกค่าเสียหายเพิ่มเติมไว้ในฟ้องแย้งไม่ก่อให้เกิดสิทธิพิเศษขึ้นแต่ประการใด ที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์รับวินิจฉัยฟ้องสำนวนหลังให้ จึงเป็นการไม่ชอบ
ปัญหาเรื่องอำนาจฟ้องเป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชนแม้คู่ความจะมิได้หยิบยกขึ้น ศาลฎีกามีอำนาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัยได้เองตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(5)
สัญญามีกำหนดเวลาก่อสร้างให้แล้วเสร็จเป็นงวดไว้แน่นอน และกำหนดเบี้ยปรับไว้เป็นรายวันในกรณีมีการผิดสัญญา แต่ตามที่ปฏิบัติต่อกันเมื่อโจทก์ก่อสร้างล่วงเลยเวลาที่กำหนด จำเลยก็ยอมรับเอาผลงานและชำระเงินตลอดมา ไม่ได้มีการทักท้วงหรือปรับตามสัญญาแต่อย่างใด แสดงว่าคู่สัญญามิได้มีเจตนาจะถือเอากำหนดเวลาก่อสร้างเป็นสารสำคัญ แม้โจทก์จะผิดสัญญาในข้อนี้จำเลยจะใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาทันทีไม่ได้ จะต้องบอกกล่าวกำหนดระยะเวลาพอสมควรให้โจทก์ก่อสร้างให้เสร็จให้เสร็จตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 387 เสียก่อน เมื่อโจทก์ยังก่อสร้างไม่เสร็จอีก จำเลยจึงจะบอกเลิกสัญญาได้
การชำรุดบกพร่องของการก่อสร้างงวดที่ได้รับมอบงานไปแล้ว จำเลยได้แต่จะเรียกค่าเสียหายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 600 แต่จะยกมาเป็นเหตุบอกเลิกสัญญาหาได้ไม่
ศาลชั้นต้นลดเงินค่าจ้างโจทก์ลงมา มีผลเท่ากับให้จำเลยได้รับการชดใช้ค่าเสียหายบางส่วน ในขั้นอุทธรณ์จำเลยอุทธรณ์ในประเด็นนี้เพียงว่าโจทก์ต้องชำระค่าเสียหายให้แก่จำเลยตามฟ้อง เพราะจำเลยนำสืบมีหลักฐานแน่ชัดว่าโจทก์เป็นหนี้จำเลยดังฟ้องศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่า จำเลยมิได้กล่าวโต้แย้งคำพิพากษาศาลชั้นต้นว่าวินิจฉัยข้อเท็จจริง ข้อกฎหมายตอนใดผิดถูกอย่างใด เหตุใดจึงควรได้ค่าเสียหายตามฟ้อง เป็นอุทธรณ์ที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 225 ในชั้นฎีกาจำเลยจึงได้แสดงรายละเอียดที่จำเลยได้รับความเสียหาย รายละเอียดดังกล่าวเป็นข้อเท็จจริงที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในชั้นอุทธรณ์ เป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
ปัญหาเรื่องอำนาจฟ้องเป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชนแม้คู่ความจะมิได้หยิบยกขึ้น ศาลฎีกามีอำนาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัยได้เองตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(5)
สัญญามีกำหนดเวลาก่อสร้างให้แล้วเสร็จเป็นงวดไว้แน่นอน และกำหนดเบี้ยปรับไว้เป็นรายวันในกรณีมีการผิดสัญญา แต่ตามที่ปฏิบัติต่อกันเมื่อโจทก์ก่อสร้างล่วงเลยเวลาที่กำหนด จำเลยก็ยอมรับเอาผลงานและชำระเงินตลอดมา ไม่ได้มีการทักท้วงหรือปรับตามสัญญาแต่อย่างใด แสดงว่าคู่สัญญามิได้มีเจตนาจะถือเอากำหนดเวลาก่อสร้างเป็นสารสำคัญ แม้โจทก์จะผิดสัญญาในข้อนี้จำเลยจะใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาทันทีไม่ได้ จะต้องบอกกล่าวกำหนดระยะเวลาพอสมควรให้โจทก์ก่อสร้างให้เสร็จให้เสร็จตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 387 เสียก่อน เมื่อโจทก์ยังก่อสร้างไม่เสร็จอีก จำเลยจึงจะบอกเลิกสัญญาได้
การชำรุดบกพร่องของการก่อสร้างงวดที่ได้รับมอบงานไปแล้ว จำเลยได้แต่จะเรียกค่าเสียหายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 600 แต่จะยกมาเป็นเหตุบอกเลิกสัญญาหาได้ไม่
ศาลชั้นต้นลดเงินค่าจ้างโจทก์ลงมา มีผลเท่ากับให้จำเลยได้รับการชดใช้ค่าเสียหายบางส่วน ในขั้นอุทธรณ์จำเลยอุทธรณ์ในประเด็นนี้เพียงว่าโจทก์ต้องชำระค่าเสียหายให้แก่จำเลยตามฟ้อง เพราะจำเลยนำสืบมีหลักฐานแน่ชัดว่าโจทก์เป็นหนี้จำเลยดังฟ้องศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่า จำเลยมิได้กล่าวโต้แย้งคำพิพากษาศาลชั้นต้นว่าวินิจฉัยข้อเท็จจริง ข้อกฎหมายตอนใดผิดถูกอย่างใด เหตุใดจึงควรได้ค่าเสียหายตามฟ้อง เป็นอุทธรณ์ที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 225 ในชั้นฎีกาจำเลยจึงได้แสดงรายละเอียดที่จำเลยได้รับความเสียหาย รายละเอียดดังกล่าวเป็นข้อเท็จจริงที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในชั้นอุทธรณ์ เป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2427-2428/2520
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้ำซ้อน-การบอกเลิกสัญญา-ความเสียหายจากการก่อสร้างชำรุด: ศาลฎีกาพิพากษาการฟ้องซ้ำซ้อนเป็นเรื่องที่กฎหมายห้าม และชี้ว่าการบอกเลิกสัญญาต้องเป็นไปตามขั้นตอน
สำนวนแรกโจทก์ฟ้องเรียกเงินค่าจ้างก่อสร้างอาคารพักอาศัยจากจำเลยผู้ว่าจ้าง จำเลยให้การและฟ้องแย้งว่าโจทก์ผิดสัญญาจ้าง จำเลยเสียหายและได้บอกเลิกสัญญาแล้ว ขอให้บังคับโจทก์ชำระค่าปรับและค่าเสียหาย คดีอยู่ในระหว่างการพิจารณาจำเลยฟ้องโจทก์สำนวนหลังฐานผิดสัญญาจ้างนั้นเรียกค่าเสียหายเพิ่มเติมนอกเหนือจากที่ได้ฟ้องแย้งไว้แล้ว ดังนี้ สำนวนหลังเป็นฟ้องต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 173(1) เพราะเป็นเรื่องเดียวกันกับเรื่องเดิมที่ได้ฟ้องแย้งไว้แล้ว การที่จำเลยสงวนสิทธิในการฟ้องเรียกค่าเสียหายเพิ่มเติมไว้ในฟ้องแย้งไม่ก่อให้เกิดสิทธิพิเศษขึ้นแต่ประการใด ที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์รับวินิจฉัยฟ้องสำนวนหลังให้ จึงเป็นการไม่ชอบ
ปัญหาเรื่องอำนาจฟ้องเป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชนแม้คู่ความจะมิได้หยิบยกขึ้น ศาลฎีกามีอำนาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัยได้เองตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(5)
สัญญามีกำหนดเวลาก่อสร้างให้แล้วเสร็จเป็นงวดไว้แน่นอน และกำหนดเบี้ยปรับไว้เป็นรายวันในกรณีมีการผิดสัญญา แต่ตามที่ปฏิบัติต่อกันเมื่อโจทก์ก่อสร้างล่วงเลยเวลาที่กำหนด จำเลยก็ยอมรับเอาผลงานและชำระเงินตลอดมา ไม่ได้มีการทักท้วงหรือปรับตามสัญญาแต่อย่างใด แสดงว่าคู่สัญญามิได้มีเจตนาจะถือเอากำหนดเวลาก่อสร้างเป็นสารสำคัญ แม้โจทก์จะผิดสัญญาในข้อนี้ จำเลยจะใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาทันทีไม่ได้ จะต้องบอกกล่าวกำหนดระยะเวลาพอสมควรให้โจทก์ก่อสร้างให้เสร็จตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 387 เสียก่อน เมื่อโจทก์ยังก่อสร้างไม่เสร็จอีก จำเลยจึงจะบอกเลิกสัญญาได้
การชำรุดบกพร่องของการก่อสร้างงวดที่ได้รับมอบงานไปแล้วจำเลยได้แต่จะเรียกค่าเสียหายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 600 แต่จะยกมาเป็นเหตุบอกเลิกสัญญาหาได้ไม่
ศาลชั้นต้นลดเงินค่าจ้างโจทก์ลงมา มีผลเท่ากับให้จำเลยได้รับการชดใช้ค่าเสียหายบางส่วน ในชั้นอุทธรณ์จำเลยอุทธรณ์ในประเด็นนี้เพียงว่าโจทก์ต้องชำระค่าเสียหายให้แก่จำเลยตามฟ้อง เพราะจำเลยนำสืบมีหลักฐานแน่ชัดว่าโจทก์เป็นหนี้จำเลยดังฟ้องศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่า จำเลยมิได้กล่าวโต้แย้งคำพิพากษาศาลชั้นต้นว่าวินิจฉัยข้อเท็จจริงข้อกฎหมายตอนใดผิดถูกอย่างใด เหตุใดจึงควรได้ค่าเสียหายตามฟ้อง เป็นอุทธรณ์ที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 225 ในชั้นฎีกาจำเลยจึงได้แสดงรายละเอียดที่จำเลยได้รับความเสียหาย รายละเอียดดังกล่าวเป็นข้อเท็จจริงที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในชั้นอุทธรณ์ เป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
ปัญหาเรื่องอำนาจฟ้องเป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชนแม้คู่ความจะมิได้หยิบยกขึ้น ศาลฎีกามีอำนาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัยได้เองตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(5)
สัญญามีกำหนดเวลาก่อสร้างให้แล้วเสร็จเป็นงวดไว้แน่นอน และกำหนดเบี้ยปรับไว้เป็นรายวันในกรณีมีการผิดสัญญา แต่ตามที่ปฏิบัติต่อกันเมื่อโจทก์ก่อสร้างล่วงเลยเวลาที่กำหนด จำเลยก็ยอมรับเอาผลงานและชำระเงินตลอดมา ไม่ได้มีการทักท้วงหรือปรับตามสัญญาแต่อย่างใด แสดงว่าคู่สัญญามิได้มีเจตนาจะถือเอากำหนดเวลาก่อสร้างเป็นสารสำคัญ แม้โจทก์จะผิดสัญญาในข้อนี้ จำเลยจะใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาทันทีไม่ได้ จะต้องบอกกล่าวกำหนดระยะเวลาพอสมควรให้โจทก์ก่อสร้างให้เสร็จตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 387 เสียก่อน เมื่อโจทก์ยังก่อสร้างไม่เสร็จอีก จำเลยจึงจะบอกเลิกสัญญาได้
การชำรุดบกพร่องของการก่อสร้างงวดที่ได้รับมอบงานไปแล้วจำเลยได้แต่จะเรียกค่าเสียหายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 600 แต่จะยกมาเป็นเหตุบอกเลิกสัญญาหาได้ไม่
ศาลชั้นต้นลดเงินค่าจ้างโจทก์ลงมา มีผลเท่ากับให้จำเลยได้รับการชดใช้ค่าเสียหายบางส่วน ในชั้นอุทธรณ์จำเลยอุทธรณ์ในประเด็นนี้เพียงว่าโจทก์ต้องชำระค่าเสียหายให้แก่จำเลยตามฟ้อง เพราะจำเลยนำสืบมีหลักฐานแน่ชัดว่าโจทก์เป็นหนี้จำเลยดังฟ้องศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่า จำเลยมิได้กล่าวโต้แย้งคำพิพากษาศาลชั้นต้นว่าวินิจฉัยข้อเท็จจริงข้อกฎหมายตอนใดผิดถูกอย่างใด เหตุใดจึงควรได้ค่าเสียหายตามฟ้อง เป็นอุทธรณ์ที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 225 ในชั้นฎีกาจำเลยจึงได้แสดงรายละเอียดที่จำเลยได้รับความเสียหาย รายละเอียดดังกล่าวเป็นข้อเท็จจริงที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในชั้นอุทธรณ์ เป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1202/2518 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
จำเลยรับมอบงานชำรุดแล้วไม่จ่ายค่าจ้าง โจทก์ไม่ต้องรับผิดแม้จะมีการจ้างช่วง และจำเลยเพิกเฉยต่อการจ้างช่วงนั้น
โจทก์รับจ้างทำของให้แก่จำเลย เมื่อจำเลยรับมอบงานที่ทำทั้ง ๆ ที่ทราบข้อชำรุดบกพร่องอยู่ก่อนแล้ว จำเลยก็ต้องรับผิดชำระค่าจ้างแก่โจทก์ การที่จำเลยอ้างว่าโจทก์ต้องรับผิดเพื่อการนี้เพราะจำเลยได้โต้แย้งท้วงติงในความชำรุดบกพร่องดังกล่าวภายในกำหนด 1 ปีแล้วนั้น ก็เป็นเรื่องความรับผิดในข้อชำรุดบกพร่องเป็นคนละเรื่องกับการที่จำเลยรับมอบงานแล้วไม่จ่ายค่าจ้าง
การที่โจทก์เอางานบางส่วนไปให้ผู้อื่นรับจ้างช่วงโดยมิได้รับอนุญาตจากจำเลย แม้จะเป็นการผิดสัญญา แต่เมื่อจำเลยเพิกเฉยไม่เคยยกเหตุนี้ขึ้นว่ากล่าวแก่โจทก์และไม่เคยขอเลิกสัญญากับโจทก์เพราะเหตุนี้ กรณีจึงไม่มีค่าเสียหายที่โจทก์จะต้องรับผิดอันจำเลยจะอ้างอำนาจตามข้อสัญญามายึดและหักเงินค่าจ้างที่ค้างชำระไว้เพื่อเป็นค่าทดแทน
การที่โจทก์เอางานบางส่วนไปให้ผู้อื่นรับจ้างช่วงโดยมิได้รับอนุญาตจากจำเลย แม้จะเป็นการผิดสัญญา แต่เมื่อจำเลยเพิกเฉยไม่เคยยกเหตุนี้ขึ้นว่ากล่าวแก่โจทก์และไม่เคยขอเลิกสัญญากับโจทก์เพราะเหตุนี้ กรณีจึงไม่มีค่าเสียหายที่โจทก์จะต้องรับผิดอันจำเลยจะอ้างอำนาจตามข้อสัญญามายึดและหักเงินค่าจ้างที่ค้างชำระไว้เพื่อเป็นค่าทดแทน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1202/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับมอบงานที่มีข้อชำรุด และการจ้างช่วงโดยไม่ได้รับอนุญาต ไม่เป็นเหตุให้งดจ่ายค่าจ้าง
โจทก์รับจ้างทำของให้แก่จำเลย เมื่อจำเลยรับมอบงานที่ทำทั้ง ๆ ที่ทราบข้อชำรุดบกพร่องอยู่ก่อนแล้ว จำเลยก็ต้องรับผิดชำระค่าจ้างแก่โจทก์ การที่จำเลยอ้างว่าโจทก์ต้องรับผิดเพื่อการนี้เพราะจำเลยได้โต้แย้งท้วงติงในความชำรุดบกพร่องดังกล่าวภายในกำหนด 1 ปีแล้วนั้น ก็เป็นเรื่องความรับผิดในข้อชำรุดบกพร่องเป็นคนละเรื่องกับการที่จำเลยรับมอบงานแล้วไม่จ่ายค่าจ้าง
การที่โจทก์เอางานบางส่วนไปให้ผู้อื่นรับจ้างช่วงโดยมิได้รับอนุญาตจากจำเลย แม้จะเป็นการผิดสัญญา แต่เมื่อจำเลยเพิกเฉยไม่เคยยกเหตุนี้ขึ้นว่ากล่าวแก่โจทก์และไม่เคยขอเลิกสัญญากับโจทก์เพราะเหตุนี้ กรณีจึงไม่มีค่าเสียหายที่โจทก์จะต้องรับผิดอันจำเลยจะอ้างอำนาจตามข้อสัญญามายึดและหักเงินค่าจ้างที่ค้างชำระไว้เพื่อเป็นค่าทดแทน
การที่โจทก์เอางานบางส่วนไปให้ผู้อื่นรับจ้างช่วงโดยมิได้รับอนุญาตจากจำเลย แม้จะเป็นการผิดสัญญา แต่เมื่อจำเลยเพิกเฉยไม่เคยยกเหตุนี้ขึ้นว่ากล่าวแก่โจทก์และไม่เคยขอเลิกสัญญากับโจทก์เพราะเหตุนี้ กรณีจึงไม่มีค่าเสียหายที่โจทก์จะต้องรับผิดอันจำเลยจะอ้างอำนาจตามข้อสัญญามายึดและหักเงินค่าจ้างที่ค้างชำระไว้เพื่อเป็นค่าทดแทน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1245/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความค่าเสียหายจากการผิดสัญญาจ้างทำของ: ความชำรุดบกพร่องตามมาตรา 601 กับการไม่ส่งมอบงานให้ครบถ้วน
ความชำรุดบกพร่องตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 601 หมายความถึงความชำรุดบกพร่องซึ่งเกิดขึ้นตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 598, 599 และ600. อันหมายถึงความชำรุดบกพร่องในตัวทรัพย์ที่ผู้รับจ้างส่งมอบให้กับผู้ว่าจ้างครบถ้วนแล้ว มิใช่หมายถึงการไม่ปฏิบัติให้ครบถ้วนตามสัญญา
จำเลยไม่ส่งมอบลูกรังและทรายให้โจทก์ให้ครบถ้วนตามสัญญาจำเลยจึงเป็นฝ่ายผิดสัญญา ต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายให้โจทก์ ซึ่งโจทก์มีสิทธิเรียกร้องได้ภายใน 10 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 164
จำเลยไม่ส่งมอบลูกรังและทรายให้โจทก์ให้ครบถ้วนตามสัญญาจำเลยจึงเป็นฝ่ายผิดสัญญา ต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายให้โจทก์ ซึ่งโจทก์มีสิทธิเรียกร้องได้ภายใน 10 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 164
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1245/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความค่าเสียหายจากสัญญาจ้างทำของ: ความชำรุดบกพร่อง vs. ผิดสัญญา
ความชำรุดบกพร่องตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 601 หมายความถึงความชำรุดบกพร่องซึ่งเกิดขึ้นตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 598,599 และ600. อันหมายถึงความชำรุดบกพร่องในตัวทรัพย์ที่ผู้รับจ้างส่งมอบให้กับผู้ว่าจ้างครบถ้วนแล้ว มิใช่หมายถึงการไม่ปฏิบัติให้ครบถ้วนตามสัญญา
จำเลยไม่ส่งมอบลูกรังและทรายให้โจทก์ให้ครบถ้วนตามสัญญาจำเลยจึงเป็นฝ่ายผิดสัญญา ต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายให้โจทก์ ซึ่งโจทก์มีสิทธิเรียกร้องได้ภายใน 10 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
จำเลยไม่ส่งมอบลูกรังและทรายให้โจทก์ให้ครบถ้วนตามสัญญาจำเลยจึงเป็นฝ่ายผิดสัญญา ต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายให้โจทก์ ซึ่งโจทก์มีสิทธิเรียกร้องได้ภายใน 10 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164