พบผลลัพธ์ทั้งหมด 41 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2442/2521 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หน้าที่ผู้จัดการมรดก: การยื่นบัญชีทรัพย์และการจัดการทรัพย์สิน
บัญชีทรัพย์ที่ผู้จัดการมรดกยื่นต่อศาลขณะร้องขอเป็นผู้จัดการมรดก ไม่ใช่บัญชีทรัพย์มรดกที่ผู้จัดการจะต้องลงมือจัดทำให้แล้วเสร็จภายหลังที่ได้รับหน้าที่เป็นผู้จัดการมรดก ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1728, 1729
เมื่อทรัพย์มรดกที่อยู่ในความครอบครองของ ส.ผู้จัดการมรดกมีเพียงสิทธิในการเช่าที่ดิน 1 แปลงกับบ้านไม้ที่ได้ปลูกอยู่ในที่ดินเท่านั้น ซึ่ง ส.ผู้จัดการมรดกก็ได้เคยยื่นบัญชีทรัพย์แสดงต่อศาลไว้ขณะยื่นคำร้องขอครั้งหนึ่งแล้ว มิได้ปิดบังทรัพย์มรดกแต่อย่างไดแสดงว่ามิได้เพิกเฉยในหน้าที่ผู้จัดการมรดกประกอบมีพฤติการณ์อื่นจึงไม่สมควรถอน ส.จากเป็นผู้จัดการมรดก
เมื่อทรัพย์มรดกที่อยู่ในความครอบครองของ ส.ผู้จัดการมรดกมีเพียงสิทธิในการเช่าที่ดิน 1 แปลงกับบ้านไม้ที่ได้ปลูกอยู่ในที่ดินเท่านั้น ซึ่ง ส.ผู้จัดการมรดกก็ได้เคยยื่นบัญชีทรัพย์แสดงต่อศาลไว้ขณะยื่นคำร้องขอครั้งหนึ่งแล้ว มิได้ปิดบังทรัพย์มรดกแต่อย่างไดแสดงว่ามิได้เพิกเฉยในหน้าที่ผู้จัดการมรดกประกอบมีพฤติการณ์อื่นจึงไม่สมควรถอน ส.จากเป็นผู้จัดการมรดก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2359/2521
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจดทะเบียนบุตรบุญธรรมสมบูรณ์ตามกฎหมาย และอำนาจถอดถอนผู้จัดการมรดกเมื่อมีทายาทอันดับหนึ่ง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1584 (แก้ไขใหม่ มาตรา1598/25) ประกอบกับพระราชบัญญัติจดทะเบียนครอบครัว พ.ศ. 2478 มาตรา 22 บัญญัติแต่เพียงว่า การจดทะเบียนบุตรบุญธรรมต้องได้รับความยินยอมจากคู่สมรสเท่านั้น ไม่ได้บังคับว่าจะต้อง ลงลายมือชื่อด้วยตนเอง ดังนั้น การที่เจ้าพนักงานได้บันทึกไว้ว่า คู่สมรสของผู้รับบุตรบุญธรรมได้มีหนังสือให้ความยินยอมถึง คณะกรมการอำเภอย่อมเป็นการเพียงพอแล้ว การจดทะเบียนรับ บุตรบุญธรรมสมบูรณ์ตามกฎหมาย
การที่ศาลจะสั่งถอดถอนผู้จัดการมรดกได้ ไม่จำเป็นว่าผู้จัดการมรดกจะต้องมีความผิด เมื่อศาลตั้งผู้คัดค้านเป็นผู้จัดการมรดกนั้นยังไม่ปรากฏทายาทอันดับหนึ่ง แต่เมื่อปรากฏว่าผู้ร้องเป็นทายาทอันดับหนึ่งมีสิทธิรับมรดกแต่ผู้เดียว ผู้คัดค้านมิได้เป็นผู้มีสิทธิได้รับมรดกของผู้ตายและมิได้เป็นผู้มีส่วนได้เสียในกองมรดก จึงไม่มีสิทธิจัดการมรดกต่อไป ศาลมีอำนาจถอดถอนได้
การที่ศาลจะสั่งถอดถอนผู้จัดการมรดกได้ ไม่จำเป็นว่าผู้จัดการมรดกจะต้องมีความผิด เมื่อศาลตั้งผู้คัดค้านเป็นผู้จัดการมรดกนั้นยังไม่ปรากฏทายาทอันดับหนึ่ง แต่เมื่อปรากฏว่าผู้ร้องเป็นทายาทอันดับหนึ่งมีสิทธิรับมรดกแต่ผู้เดียว ผู้คัดค้านมิได้เป็นผู้มีสิทธิได้รับมรดกของผู้ตายและมิได้เป็นผู้มีส่วนได้เสียในกองมรดก จึงไม่มีสิทธิจัดการมรดกต่อไป ศาลมีอำนาจถอดถอนได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2359/2521 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจดทะเบียนบุตรบุญธรรมและการถอดถอนผู้จัดการมรดกเมื่อมีทายาทอันดับหนึ่ง
ประมวลวิธีพิจารณาความแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1584 (แก้ไขใหม่ มาตรา 1598/25) ประกอบกับพระราชบัญญัติจดทะเบียนครอบครัว พ.ศ.2478 มาตรา 22 บัญญัติแต่เพียงว่า การจดทะเบียนบุตรบุญธรรมต้องได้รับความยินยอมจากคู่สมรสเท่านั้นไม่ได้บังคับว่าจะต้องลงลายมือชื่อด้วยตนเอง ดังนั้น การที่เจ้าพนักงานได้บันทึกไว้ว่าคู่สมรสของผู้รับบุตรบุญธรรมได้มีหนังสือให้ความยินยอมถึงคณะกรมการอำเภอ ย่อมเป็นการเพียงพอแล้ว การจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมสมบูรณ์ตามกฎหมาย
การที่ศาลจะสั่งถอดถอนผู้จัดการมรดกได้ ไม่จำเป็นว่าผู้จัดการมรดกจะต้องมีความผิด เมื่อศาลตั้งผู้คัดค้านเป็นผุ้จัดการมรดกนั้นยังไม่ปรากฏทายาทอันดับหนึ่ง แต่เมื่อปรากฏว่าผู้ร้องเป็นทายาทอันดับหนึ่งมีสิทธิรับมรดกแต่ผู้เดียว ผู้คัดค้านมิได้เป็นผู้มีสิทธิได้รับมรดกของผู้ตายและมิได้เป็นผู้มีส่วนได้เสียในกองมรดก จึงไม่มีสิทธิจัดการมรดกต่อไป ศาลมีอำนาจถอดถอนได้
การที่ศาลจะสั่งถอดถอนผู้จัดการมรดกได้ ไม่จำเป็นว่าผู้จัดการมรดกจะต้องมีความผิด เมื่อศาลตั้งผู้คัดค้านเป็นผุ้จัดการมรดกนั้นยังไม่ปรากฏทายาทอันดับหนึ่ง แต่เมื่อปรากฏว่าผู้ร้องเป็นทายาทอันดับหนึ่งมีสิทธิรับมรดกแต่ผู้เดียว ผู้คัดค้านมิได้เป็นผู้มีสิทธิได้รับมรดกของผู้ตายและมิได้เป็นผู้มีส่วนได้เสียในกองมรดก จึงไม่มีสิทธิจัดการมรดกต่อไป ศาลมีอำนาจถอดถอนได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2257/2519
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การถอนผู้จัดการมรดกจากความไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย แม้ศาลขยายเวลาให้แล้ว
ผู้จัดการมรดกแถลงรับว่าไม่ได้จัดทำบัญชีทรัพย์มรดกภายในกำหนดเวลาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1728,1729แต่อ้างว่าเป็นคนจีนต้องให้ทนายความทำแทนซึ่งไม่เป็นเหตุผลอันสมควรเพราะล่วงเลยเวลามาถึง 8 เดือนแล้วและเมื่อศาลขยายเวลาให้อีก 1 เดือน ผู้จัดการมรดกก็ยังละเลยไม่จัดทำบัญชีทรัพย์มรดกเช่นเดิมโดยอ้างว่าผู้คัดค้านไปร้องคัดค้านในการที่ผู้จัดการมรดกจะขายที่ดินมรดก ซึ่งก็ไม่เป็นเหตุที่ทำให้ผู้จัดการมรดกไม่สามารถยื่นบัญชีทรัพย์ได้พฤติการณ์ที่ปรากฏจากคำแถลงรับของผู้จัดการมรดกดังกล่าวข้างต้นเป็นการแสดงออกถึงความไม่สามารถอันเห็นประจักษ์ศาลมีอำนาจถอนผู้จัดการมรดกเสียได้โดยไม่ต้องทำการไต่สวนสืบพยานอื่นอีกต่อไป
บัญชีทรัพย์มรดกที่ได้ยื่นไว้แล้วในวันยื่นคำร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกไม่ใช่บัญชีทรัพย์ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1731 เพราะบัญชีทรัพย์มรดกตามมาตราดังกล่าว หมายถึงบัญชีทรัพย์มรดกซึ่งได้จัดทำขึ้นโดยผู้จัดการมรดกภายหลังที่ได้รับแต่งตั้งจากศาลแล้ว
การที่ผู้จัดการมรดกดำเนินการโอนขายที่ดินมรดกโดยยังไม่ได้ทำบัญชีทรัพย์มรดกไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1730, 1563 เพราะมิใช่เป็นการเร่งร้อนและจำเป็น
บัญชีทรัพย์มรดกที่ได้ยื่นไว้แล้วในวันยื่นคำร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกไม่ใช่บัญชีทรัพย์ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1731 เพราะบัญชีทรัพย์มรดกตามมาตราดังกล่าว หมายถึงบัญชีทรัพย์มรดกซึ่งได้จัดทำขึ้นโดยผู้จัดการมรดกภายหลังที่ได้รับแต่งตั้งจากศาลแล้ว
การที่ผู้จัดการมรดกดำเนินการโอนขายที่ดินมรดกโดยยังไม่ได้ทำบัญชีทรัพย์มรดกไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1730, 1563 เพราะมิใช่เป็นการเร่งร้อนและจำเป็น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2257/2519 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การถอนผู้จัดการมรดกจากกรณีละเลยหน้าที่จัดทำบัญชีทรัพย์มรดก และการโอนขายทรัพย์สินโดยไม่ชอบ
ผู้จัดการมรดกแถลงรับว่าไม่ได้จัดทำบัญชีทรัพย์มรดกภายในกำหนดเวลาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1728, 1729 แต่อ้างว่าเป็นคนจีนต้องให้ทนายความทำแทน ซึ่งไม่เป็นเหตุผลอันสมควรเพราะล่วงเลยเวลามาถึง 8 เดือนแล้ว และเมื่อศาลขยายเวลาให้อีก 1 เดือน ผู้จัดการมรดกก็ยังละเลยไม่จัดทำบัญชีทรัพย์มรดกเช่นเดิม โดยอ้างว่าผู้คัดค้านไปร้องคัดค้านในการที่ผู้จัดการมรดกจะขายที่ดินมรดก ซึ่งก็ไม่เป็นเหตุที่ทำให้ผู้จัดการมรดกไม่สามารถยื่นบัญชีทรัพย์ได้ พฤติการณ์ที่ปรากฏจากคำแถลงรับของผู้จัดการมรดกดังกล่าวข้างต้น เป็นการแสดงออกถึงความไม่สามารถอันเห็นประจักษ์ ศาลมีอำนาจถอนผู้จัดการมรดกเสียได้โดยไม่ต้องทำการไต่สวนสืบพยานอื่นอีกต่อไป
บัญชีทรัพย์มรดกที่ได้ยื่นไว้แล้วในวันยื่นคำร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกไม่ใช่บัญชีทรัพย์ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1731 เพราะบัญชีทรัพย์มรดกตามมาตราดังกล่าว หมายถึงบัญชีทรัพย์มรดกซึ่งได้จัดทำขึ้นโดยผู้จัดการมรดกภายหลังที่ได้รับแต่งตั้งจากศาลแล้ว
การที่ผู้จัดการมรดกดำเนินการโอนขายที่ดินมรดกโดยยังไม่ได้ทำบัญชีทรัพย์มรดกไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1730, 1563 เพราะมิใช่เป็นการเร่งร้อนและจำเป็น
บัญชีทรัพย์มรดกที่ได้ยื่นไว้แล้วในวันยื่นคำร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกไม่ใช่บัญชีทรัพย์ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1731 เพราะบัญชีทรัพย์มรดกตามมาตราดังกล่าว หมายถึงบัญชีทรัพย์มรดกซึ่งได้จัดทำขึ้นโดยผู้จัดการมรดกภายหลังที่ได้รับแต่งตั้งจากศาลแล้ว
การที่ผู้จัดการมรดกดำเนินการโอนขายที่ดินมรดกโดยยังไม่ได้ทำบัญชีทรัพย์มรดกไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1730, 1563 เพราะมิใช่เป็นการเร่งร้อนและจำเป็น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 124/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การถอนผู้จัดการมรดก: ศาลใช้ดุลพินิจเมื่อยังไม่มีเหตุเลินเล่อหรือทุจริต
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1731 ให้อำนาจศาลที่จะใช้ดุลพินิจพิจารณาว่ามีเหตุที่สมควรจะถอนผู้จัดการมรดกเพียงใดหรือไม่ ถ้าศาลเห็นว่ามีเหตุสมควรก็สั่งถอนได้ หรือถ้าศาลเห็นว่ายังไม่มีเหตุสมควรศาลจะยังไม่สั่งถอนก็ได้
พฤติการณ์เท่าที่ปรากฏยังไม่สมควรจะถอนผู้จัดการมรดก
พฤติการณ์เท่าที่ปรากฏยังไม่สมควรจะถอนผู้จัดการมรดก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 124/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลในการถอนผู้จัดการมรดก: พิจารณาจากพฤติการณ์และความสามารถในการจัดการทรัพย์มรดก
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1731 ให้อำนาจศาลที่จะใช้ดุลพินิจพิจารณาว่ามีเหตุที่สมควรจะถอนผู้จัดการมรดกเพียงใดหรือไม่ ถ้าศาลเห็นว่ามีเหตุสมควรก็สั่งถอนได้ หรือถ้าศาลเห็นว่ายังไม่มีเหตุสมควรศาลจะยังไม่สั่งถอนก็ได้.
พฤติการณ์เท่าที่ปรากฏยังไม่สมควรจะถอนผู้จัดการมรดก.
พฤติการณ์เท่าที่ปรากฏยังไม่สมควรจะถอนผู้จัดการมรดก.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 372/2492
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิทายาทแทนที่, ความไม่สุจริตผู้จัดการมรดก, และอายุความในการเรียกร้องทรัพย์มรดก
น้าของเจ้ามรดกเป็นทายาทของเจ้ามรดกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1629(6) อยู่แล้ว แม้จะตายไปก่อนเจ้ามรดก ผู้สืบสันดานของเขา ย่อมมีสิทธิรับมรดกแทนที่ ตามมาตรา 1639 โดยตรง
การที่จำเลยไปร้องขอต่อศาลให้ตั้งจำเลยเป็นผู้จัดการมรดกนั้น จำเลยได้ปกปิดความจริงอันควรบอกให้ชัดแจ้งว่าทายาทโดยธรรมของผู้ตาย ยังคงมีตัวอยู่ถึง 3 คนแสดงความไม่สุจริตของจำเลยมาตั้งแต่ต้น และเมื่อได้รับตั้งเป็นผู้จัดการมรดกแล้ว จำเลยก็ไม่ปรารถนาที่จะทำบัญชีทรัพย์มรดกตามหน้าที่ที่กฎหมายบังคับไว้ในมาตรา 1728,1729 ซ้ำในชั้นศาล ในคดีนี้ จำเลยก็ยังคงยืนยันว่าโจทก์ไม่ใช่ทายาทโดยธรรมที่จะได้รับมรดกย่อมเป็นการสมควรทุกประการที่ศาลจะถอนจำเลยจากการเป็นผู้จัดการมรดกเสียตามมาตรา 1731
คดีที่ทายาทเรียกร้องเอาทรัพย์สินอันเป็นกรรมสิทธิ์ตกทอดแก่ตน โดยขอให้ถอดถอนผู้จัดการมรดกเสียก่อนโดยจำเลยซึ่งเป็นผู้จัดการมรดกเป็นผู้ที่ไม่มีสิทธิในกองมรดกที่จะยึดถือทรัพย์สินอันเป็นมรดกนั้นไว้อย่างไรได้แม้จำเลยจะยังคงเป็นผู้จัดการมรดกอยู่จำเลยก็ต้องรับผิดต่อทายาทตามมาตรา 1720 โดยลักษณะตัวแทนตัวการ จำเลยจะยกฐานะผู้จัดการมรดกมาต่อสู้อายุความกับทายาทตามมาตรา 1754,1755 หาได้ไม่
คดีเกี่ยวกับการจัดการมรดก ผู้จัดการมรดกจะยกอายุความขึ้นต่อสู้ทายาทได้ก็แต่มาตรา 1733 วรรคสอง ซึ่งมีกำหนด 5 ปี นับแต่การจัดการมรดกสุดสิ้นลง
การที่จำเลยไปร้องขอต่อศาลให้ตั้งจำเลยเป็นผู้จัดการมรดกนั้น จำเลยได้ปกปิดความจริงอันควรบอกให้ชัดแจ้งว่าทายาทโดยธรรมของผู้ตาย ยังคงมีตัวอยู่ถึง 3 คนแสดงความไม่สุจริตของจำเลยมาตั้งแต่ต้น และเมื่อได้รับตั้งเป็นผู้จัดการมรดกแล้ว จำเลยก็ไม่ปรารถนาที่จะทำบัญชีทรัพย์มรดกตามหน้าที่ที่กฎหมายบังคับไว้ในมาตรา 1728,1729 ซ้ำในชั้นศาล ในคดีนี้ จำเลยก็ยังคงยืนยันว่าโจทก์ไม่ใช่ทายาทโดยธรรมที่จะได้รับมรดกย่อมเป็นการสมควรทุกประการที่ศาลจะถอนจำเลยจากการเป็นผู้จัดการมรดกเสียตามมาตรา 1731
คดีที่ทายาทเรียกร้องเอาทรัพย์สินอันเป็นกรรมสิทธิ์ตกทอดแก่ตน โดยขอให้ถอดถอนผู้จัดการมรดกเสียก่อนโดยจำเลยซึ่งเป็นผู้จัดการมรดกเป็นผู้ที่ไม่มีสิทธิในกองมรดกที่จะยึดถือทรัพย์สินอันเป็นมรดกนั้นไว้อย่างไรได้แม้จำเลยจะยังคงเป็นผู้จัดการมรดกอยู่จำเลยก็ต้องรับผิดต่อทายาทตามมาตรา 1720 โดยลักษณะตัวแทนตัวการ จำเลยจะยกฐานะผู้จัดการมรดกมาต่อสู้อายุความกับทายาทตามมาตรา 1754,1755 หาได้ไม่
คดีเกี่ยวกับการจัดการมรดก ผู้จัดการมรดกจะยกอายุความขึ้นต่อสู้ทายาทได้ก็แต่มาตรา 1733 วรรคสอง ซึ่งมีกำหนด 5 ปี นับแต่การจัดการมรดกสุดสิ้นลง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 247/2481
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลในการถอดถอนผู้จัดการมฤดกที่ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งศาล โดยอาศัยข้อตกลงระหว่างคู่ความ
+ส่วนได้เสียในกอง+ยื่นคำร้องต่อศาลขอให้ผู้จัดการมฤดกแสดงบัญชีและถ้าไม่นำมายื่นก็ขอให้ถอดถอน ผู้จัดากรมฤดก+เพี้ยนมาหลายครั้ง ในที่สุดให้ตกลงกันกำหนดวัน+บัญชีต่อหน้าศาล และถ้าไม่นำมายื่นในวันนั้นก็ให้ศาลถอดถอนได้ ครั้นถึงกำหนดผู้จัดการมฤดกไม่นำบัญชีมายื่นผู้ร้องจึงขอให้ศาลสั่งตามที่ได้ตกลงกันไว้ดังนี้ ศาลมีคำสั่งให้ถอดถอนผู้จัดการมฤดกเสียได้ ไม่เป็นการเกินคำขอของผู้ร้อง
ศาลตั้งผู้จัดการมฤดกก่อนกันใช้ประมวลแพ่ง ฯ บรรพ 6 ศษลจะสั่งถอดถอนผู้จัดการมฤดกนั้นโดยอาศัย ม.1731 ได้หรือไม่
ศาลตั้งผู้จัดการมฤดกก่อนกันใช้ประมวลแพ่ง ฯ บรรพ 6 ศษลจะสั่งถอดถอนผู้จัดการมฤดกนั้นโดยอาศัย ม.1731 ได้หรือไม่