พบผลลัพธ์ทั้งหมด 312 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4814/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาไม่รับเนื่องจากข้อพิพาทเรื่องค่าเสียหายในส่วนที่ต่ำกว่า 200,000 บาท ตามมาตรา 248 วรรคหนึ่ง
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยทั้งสองร่วมกันชดใช้ค่ารักษาพยาบาลจำนวน52,531บาทค่าขาดรายได้จากการทำงานจำนวน40,000บาทค่าพาหนะเดินทางจำนวน10,000บาทค่าผ่าตัดรักษาเท้าจำนวน15,000บาทและค่าเสียความสามารถในการประกอบการงานจำนวน200,000บาทรวมเป็นเงิน317,531บาทแก่โจทก์พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ7.5ต่อปีในต้นเงินดังกล่าวนับแต่วันทำละเมิดจนกว่าจะชำระเสร็จแก่โจทก์ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนจำเลยที่2ฎีกาโต้เถียงดุลพินิจในการกำหนดค่าเสียหายอันเป็นข้อเท็จจริงว่าค่าพาหนะเดินทางไม่ควรเกิน4,000บาทค่าผ่าตัดรักษาเท้าไม่ควรกำหนดให้และค่าเสียความสามารถในการประกอบการงานไม่ควรเกิน40,000บาทดังนั้นทุนทรัพย์ที่ยังพิพาทกันในชั้นฎีกามีจำนวน181,000บาทและเมื่อรวมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ7.5ต่อปีในต้นเงินดังกล่าวนับแต่วันทำละเมิดจนถึงวันฟ้องแล้วรวมเป็นเงิน194,575บาทไม่เกิน200,000บาทจึงต้องห้ามมิให้ฎีกาในข้อเท็จจริงดังกล่าวตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา248วรรคหนึ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4814/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาไม่รับวินิจฉัยเรื่องค่าเสียหาย เนื่องจากข้อพิพาทในชั้นฎีกามีทุนทรัพย์ไม่เกิน 200,000 บาท ตามมาตรา 248 วรรคหนึ่ง
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยทั้งสองร่วมกันชดใช้ค่ารักษาพยาบาลจำนวน52,531บาทค่าขาดรายได้จากการทำงานจำนวน40,000บาทค่าพาหนะเดินทางจำนวน10,000บาทค่าผ่าตัดรักษาเท้าจำนวน15,000บาทและค่าเสียความสามารถในการประกอบการงานจำนวน200,000บาทรวมเป็นเงิน317,531บาทแก่โจทก์พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ7.5ต่อปีในต้นเงินดังกล่าวนับแต่วันทำละเมิดจนกว่าจะชำระเสร็จแก่โจทก์ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนจำเลยที่2ฎีกาโต้เถียงดุลพินิจในการกำหนดค่าเสียหายอันเป็นข้อเท็จจริงว่าค่าพาหนะเดินทางไม่ควรเกิน4,000บาทค่าผ่าตัดรักษาเท้าไม่ควรกำหนดให้และค่าเสียความสามารถในการประกอบการงานไม่ควรเกิน40,000บาทดังนั้นทุนทรัพย์ที่ยังพิพาทกันในชั้นฎีกามีจำนวน181,000บาทและเมื่อรวมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ7.5ต่อปีในต้นเงินดังกล่าวนับแต่วันทำละเมิดจนถึงวันฟ้องแล้วรวมเป็นเงิน194,575บาทไม่เกิน200,000บาทจึงต้องห้ามมิให้ฎีกาในข้อเท็จจริงดังกล่าวตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา248วรรคหนึ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4719/2538 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าเสียหายในอนาคตไม่อาจนำมารวมคำนวณทุนทรัพย์ในชั้นอุทธรณ์ได้
ค่าเสียหายปีละ 40,000 บาท ที่ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยชำระแก่โจทก์ นับแต่วันหลังจากวันฟ้องนั้น เป็นค่าเสียหายในอนาคตจะนำไปรวมคำนวณเป็นทุนทรัพย์ในชั้นอุทธรณ์ไม่ได้
จำเลยฎีกาขอให้ศาลอุทธรณ์ภาค 1 พิจารณาอุทธรณ์ของจำเลยซึ่งอุทธรณ์ทั้งคดีส่วนฟ้องของโจทก์และคดีส่วนฟ้องแย้งของจำเลยแล้วพิพากษาใหม่ฎีกาจำเลยจึงมีคำขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันไม่อาจคำนวณเป็นราคาเงินได้ ต้องเสียค่าขึ้นศาลชั้นฎีกาในส่วนฟ้องของโจทก์และฟ้องแย้งของจำเลยอย่างละ 200 บาทรวมเป็น 400 บาท จำเลยเสียเกินมา ศาลฎีกาสั่งให้คืนส่วนที่เสียเกินมาแก่จำเลย
จำเลยฎีกาขอให้ศาลอุทธรณ์ภาค 1 พิจารณาอุทธรณ์ของจำเลยซึ่งอุทธรณ์ทั้งคดีส่วนฟ้องของโจทก์และคดีส่วนฟ้องแย้งของจำเลยแล้วพิพากษาใหม่ฎีกาจำเลยจึงมีคำขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันไม่อาจคำนวณเป็นราคาเงินได้ ต้องเสียค่าขึ้นศาลชั้นฎีกาในส่วนฟ้องของโจทก์และฟ้องแย้งของจำเลยอย่างละ 200 บาทรวมเป็น 400 บาท จำเลยเสียเกินมา ศาลฎีกาสั่งให้คืนส่วนที่เสียเกินมาแก่จำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4719/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ทุนทรัพย์ค่าเสียหายในอนาคตไม่นำมาคำนวณในชั้นอุทธรณ์ ทำให้คดีนั้นห้ามอุทธรณ์ตามกฎหมาย
ค่าเสียหายปีละ40,000บาทที่ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยชำระแก่โจทก์นับแต่วันหลังจากวันฟ้องนั้นเป็นค่าเสียหายในอนาคตจะนำไปรวมคำนวณเป็นทุนทรัพย์ในชั้นอุทธรณ์ไม่ได้ จำเลยฎีกาขอให้ศาลอุทธรณ์ภาค1พิจารณาอุทธรณ์ของจำเลยซึ่งอุทธรณ์ทั้งคดีส่วนฟ้องของโจทก์และคดีส่วนฟ้องแย้งของจำเลยแล้วพิพากษาใหม่ฎีกาจำเลยจึงมีคำขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันไม่อาจคำนวณเป็นราคาเงินได้ต้องเสียค่าขึ้นศาลชั้นฎีกาในส่วนฟ้องของโจทก์และฟ้องแย้งของจำเลยอย่างละ200บาทรวมเป็น400บาทจำเลยเสียเกินมาศาลฎีกาสั่งให้คืนส่วนที่เสียเกินมาแก่จำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3753/2538 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีละเมิดในที่ราชพัสดุ และการยุติของประเด็นข้อพิพาทในชั้นอุทธรณ์
โจทก์ฎีกาว่า จำเลยทั้งสามกระทำละเมิดต่อโจทก์ ทำให้โจทก์เสียหาย และฟ้องโจทก์ไม่ขาดอายุความ 1 ปี เป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงเมื่อราคาทรัพย์สินหรือจำนวนทุนทรัพย์ที่พิพาทในชั้นฎีกามีไม่เกินสองแสนบาท จึงต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในข้อเท็จจริง
ที่ดินที่ตั้งโรงเรียนพิพาทเป็นที่ราชพัสดุ ตามพระราชบัญญัติที่ราชพัสดุซึ่งให้กระทรวงการคลังเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ เมื่อจำเลยกระทำละเมิดโดยขุดดินในที่ราชพัสดุขึ้นมาใช้ถมในการก่อสร้างโรงเรียน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเป็นผู้มีอำนาจฟ้อง เมื่อไม่ปรากฏว่ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้มอบหมายให้โจทก์ฟ้องคดี โจทก์ย่อมไม่มีอำนาจฟ้อง
ศาลชั้นต้นวินิจฉัยให้จำเลยทั้งสามรับผิดฐานละเมิด เมื่อจำเลยที่ 2 และที่ 3 อุทธรณ์ โจทก์ไม่ได้อุทธรณ์และไม่ได้แก้อุทธรณ์ในประเด็นความรับผิดตามสัญญาของจำเลยที่ 1 ประเด็นความรับผิดตามสัญญาของจำเลยที่ 1จึงยุติในชั้นอุทธรณ์แล้ว ไม่เป็นประเด็นวินิจฉัยในชั้นฎีกา
ที่ดินที่ตั้งโรงเรียนพิพาทเป็นที่ราชพัสดุ ตามพระราชบัญญัติที่ราชพัสดุซึ่งให้กระทรวงการคลังเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ เมื่อจำเลยกระทำละเมิดโดยขุดดินในที่ราชพัสดุขึ้นมาใช้ถมในการก่อสร้างโรงเรียน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเป็นผู้มีอำนาจฟ้อง เมื่อไม่ปรากฏว่ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้มอบหมายให้โจทก์ฟ้องคดี โจทก์ย่อมไม่มีอำนาจฟ้อง
ศาลชั้นต้นวินิจฉัยให้จำเลยทั้งสามรับผิดฐานละเมิด เมื่อจำเลยที่ 2 และที่ 3 อุทธรณ์ โจทก์ไม่ได้อุทธรณ์และไม่ได้แก้อุทธรณ์ในประเด็นความรับผิดตามสัญญาของจำเลยที่ 1 ประเด็นความรับผิดตามสัญญาของจำเลยที่ 1จึงยุติในชั้นอุทธรณ์แล้ว ไม่เป็นประเด็นวินิจฉัยในชั้นฎีกา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3753/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีละเมิดบนที่ราชพัสดุ: ต้องเป็นหน้าที่ของกระทรวงการคลังหรือผู้ได้รับมอบหมาย
โจทก์ฎีกาว่าจำเลยทั้งสามกระทำละเมิดต่อโจทก์ทำให้โจทก์เสียหายและฟ้องโจทก์ไม่ขาดอายุความ1ปีเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงเมื่อราคาทรัพย์สินหรือจำนวนทุนทรัพย์ที่พิพาทในชั้นฎีกามีไม่เกินสองแสนบาทจึงต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในข้อเท็จจริง ที่ดินที่ตั้งโรงเรียนพิพาทเป็นที่ราชพัสดุตามพระราชบัญญัติที่ราชพัสดุซึ่งให้กระทรวงการคลังเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์เมื่อจำเลยกระทำละเมิดโดยขุดดินในที่ราชพัสดุขึ้นมาใช้ถมในการก่อสร้างโรงเรียนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเป็นผู้มีอำนาจฟ้องเมื่อไม่ปรากฎว่ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้มอบหมายให้โจทก์ฟ้องคดีโจทก์ย่อมไม่มีอำนาจฟ้อง ศาลชั้นต้นวินิจฉัยให้จำเลยทั้งสามรับผิดฐานละเมิดเมื่อจำเลยที่2และที่3อุทธรณ์โจทก์ไม่ได้อุทธรณ์และไม่ได้แก้อุทธรณ์ในประเด็นความรับผิดตามสัญญาของจำเลยที่1ประเด็นความรับผิดตามสัญญาของจำเลยที่1จึงยุติในชั้นอุทธรณ์แล้วไม่เป็นประเด็นวินิจฉัยในชั้นฎีกา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3742/2538 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอนุญาตให้สืบพยานเพิ่มเติมและการพิจารณาค่าขึ้นศาลในคดีที่มีทุนทรัพย์น้อยกว่า 200,000 บาท
คดีนี้เป็นคดีที่ผู้ร้องแต่ละคนและผู้คัดค้านที่ 1 ต่างใช้สิทธิเฉพาะตัวตาม ป.วิ.พ.มาตรา 55 การพิจารณาทุนทรัพย์ของคดีสำหรับผู้ร้องแต่ละคนและผู้คัดค้านที่ 1 ต้องพิจารณาแต่ละคนแยกกัน เมื่อปรากฏว่าราคาที่ดินที่ผู้ร้องแต่ละคนและผู้คัดค้านที่ 1 เรียกร้องว่าเป็นของตนนั้นมีราคาไม่เกิน200,000 บาท จึงเป็นคดีที่มีทุนทรัพย์ที่พิพาทกันชั้นฎีกาไม่เกิน 200,000 บาทผู้ร้องแต่ละคนและผู้คัดค้านที่ 1 จึงฎีกาในข้อเท็จจริงไม่ได้ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 248 วรรคหนึ่ง
ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 86 วรรคสาม ในกรณีเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม เมื่อศาลเห็นว่าเป็นการจำเป็นที่จะต้องนำพยานหลักฐานอันเกี่ยวกับประเด็นในคดีมาสืบเพิ่มเติม ศาลจะเรียกอะไรมาเป็นพยานหลักฐานเพื่อประกอบคดีอีกก็ได้ แม้จะเป็นพยานหลักฐานของคู่ความฝ่ายที่มีหน้าที่นำสืบก่อนซึ่งศาลสั่งงดสืบพยานไปแล้วก็ตาม
คดีนี้ศาลชั้นต้นหยิบยกเหตุผลในคำสั่งว่า หากศาลสูงไม่เห็นด้วยกับคำสั่งที่ตัดพยานผู้ร้อง ก็อาจย้อนสำนวนมาให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาใหม่ทำให้เกิดความเสียหายแก่คู่ความทุกฝ่าย ฝ่ายผู้คัดค้านที่ได้ทำการสืบพยานไปบ้างแล้วก็ได้สืบพยานอย่างเต็มที่ ทั้งผู้คัดค้านที่ 1 และที่ 2 ก็ร้องขอครอบครองปรปักษ์อยู่ด้วยผู้ร้องหรือผู้คัดค้านจะนำพยานเข้าสืบก่อนหรือหลังก็ไม่ทำให้ได้เปรียบเสียเปรียบกันแต่อย่างใด นอกจากนี้พยานผู้คัดค้านก็ยังสืบไม่เสร็จ ซึ่งผู้คัดค้านมีสิทธินำพยานเข้าสืบได้อีกจนสิ้นกระแสความ ศาลชั้นต้นจึงอนุญาตให้ผู้ร้องทั้งห้านำพยานเข้าสืบได้ภายหลังที่ได้สืบพยานผู้คัดค้านทั้งสามเสร็จสิ้น และปรากฏว่าศาลชั้นต้นได้ให้โอกาสแก่ผู้คัดค้านทั้งสามถามค้านพยานผู้ร้องทั้งห้าแล้ว แต่ผู้คัดค้านทั้งสามไม่ติดใจถามค้านเอง คำสั่งศาลชั้นต้นดังกล่าวเป็นการปฏิบัติไปโดยชอบด้วย ป.วิ.พ. มาตรา 86วรรคสาม
ฎีกาปัญหาข้อกฎหมายของผู้คัดค้านทั้งสาม เพียงขอให้ศาลฎีกาเพิกถอนคำสั่งของศาลชั้นต้นที่อนุญาตให้เดินเผชิญสืบตามคำร้องของผู้ร้องทั้งห้า และคำสั่งของศาลชั้นต้นที่อนุญาตให้ผู้ร้องทั้งห้ายื่นบัญชีพยานเพิ่มเติมและคำสั่งของศาลชั้นต้นที่อนุญาตให้ผู้ร้องทั้งห้าสืบพยานหลังจากสืบพยานผู้คัดค้านทั้งสามเสร็จเรียบร้อยแล้วเท่านั้น มิได้ขอให้ศาลฎีกาพิพากษาแก้คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ให้ผู้คัดค้านทั้งสามชนะคดีมากกว่าคำพิพากษาศาลอุทธรณ์โดยอาศัยข้ออ้างตามปัญหาข้อกฎหมายดังกล่าว เป็นฎีกาที่มีคำขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันไม่อาจคำนวณเป็นราคาเงินได้ผู้คัดค้านแต่ละคนต้องเสียค่าขึ้นศาลชั้นฎีกาคนละ 200 บาท ตามตาราง 1 ข้อ 2(ข) ท้าย ป.วิ.พ. แต่ผู้คัดค้านทั้งสามเสียค่าขึ้นศาลชั้นฎีการวมกันมาอย่างคดีมีทุนทรัพย์ จึงต้องคืนค่าขึ้นศาลส่วนที่เกินแก่ผู้คัดค้านทั้งสาม
ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 86 วรรคสาม ในกรณีเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม เมื่อศาลเห็นว่าเป็นการจำเป็นที่จะต้องนำพยานหลักฐานอันเกี่ยวกับประเด็นในคดีมาสืบเพิ่มเติม ศาลจะเรียกอะไรมาเป็นพยานหลักฐานเพื่อประกอบคดีอีกก็ได้ แม้จะเป็นพยานหลักฐานของคู่ความฝ่ายที่มีหน้าที่นำสืบก่อนซึ่งศาลสั่งงดสืบพยานไปแล้วก็ตาม
คดีนี้ศาลชั้นต้นหยิบยกเหตุผลในคำสั่งว่า หากศาลสูงไม่เห็นด้วยกับคำสั่งที่ตัดพยานผู้ร้อง ก็อาจย้อนสำนวนมาให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาใหม่ทำให้เกิดความเสียหายแก่คู่ความทุกฝ่าย ฝ่ายผู้คัดค้านที่ได้ทำการสืบพยานไปบ้างแล้วก็ได้สืบพยานอย่างเต็มที่ ทั้งผู้คัดค้านที่ 1 และที่ 2 ก็ร้องขอครอบครองปรปักษ์อยู่ด้วยผู้ร้องหรือผู้คัดค้านจะนำพยานเข้าสืบก่อนหรือหลังก็ไม่ทำให้ได้เปรียบเสียเปรียบกันแต่อย่างใด นอกจากนี้พยานผู้คัดค้านก็ยังสืบไม่เสร็จ ซึ่งผู้คัดค้านมีสิทธินำพยานเข้าสืบได้อีกจนสิ้นกระแสความ ศาลชั้นต้นจึงอนุญาตให้ผู้ร้องทั้งห้านำพยานเข้าสืบได้ภายหลังที่ได้สืบพยานผู้คัดค้านทั้งสามเสร็จสิ้น และปรากฏว่าศาลชั้นต้นได้ให้โอกาสแก่ผู้คัดค้านทั้งสามถามค้านพยานผู้ร้องทั้งห้าแล้ว แต่ผู้คัดค้านทั้งสามไม่ติดใจถามค้านเอง คำสั่งศาลชั้นต้นดังกล่าวเป็นการปฏิบัติไปโดยชอบด้วย ป.วิ.พ. มาตรา 86วรรคสาม
ฎีกาปัญหาข้อกฎหมายของผู้คัดค้านทั้งสาม เพียงขอให้ศาลฎีกาเพิกถอนคำสั่งของศาลชั้นต้นที่อนุญาตให้เดินเผชิญสืบตามคำร้องของผู้ร้องทั้งห้า และคำสั่งของศาลชั้นต้นที่อนุญาตให้ผู้ร้องทั้งห้ายื่นบัญชีพยานเพิ่มเติมและคำสั่งของศาลชั้นต้นที่อนุญาตให้ผู้ร้องทั้งห้าสืบพยานหลังจากสืบพยานผู้คัดค้านทั้งสามเสร็จเรียบร้อยแล้วเท่านั้น มิได้ขอให้ศาลฎีกาพิพากษาแก้คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ให้ผู้คัดค้านทั้งสามชนะคดีมากกว่าคำพิพากษาศาลอุทธรณ์โดยอาศัยข้ออ้างตามปัญหาข้อกฎหมายดังกล่าว เป็นฎีกาที่มีคำขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันไม่อาจคำนวณเป็นราคาเงินได้ผู้คัดค้านแต่ละคนต้องเสียค่าขึ้นศาลชั้นฎีกาคนละ 200 บาท ตามตาราง 1 ข้อ 2(ข) ท้าย ป.วิ.พ. แต่ผู้คัดค้านทั้งสามเสียค่าขึ้นศาลชั้นฎีการวมกันมาอย่างคดีมีทุนทรัพย์ จึงต้องคืนค่าขึ้นศาลส่วนที่เกินแก่ผู้คัดค้านทั้งสาม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3594/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อจำกัดการฎีกาในคดีบุกรุกที่ดิน: ทุนทรัพย์และข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยแล้ว
คดีนี้เป็นคดีมีทุนทรัพย์ตามราคาที่ดินในส่วนที่โจทก์ฟ้องกล่าวหาว่าจำเลยแต่ละคนบุกรุกและเข้ามารบกวนการครอบครองที่ดินของโจทก์โดยมิชอบ ซึ่งจำเลยแต่ละคนต่างต่อสู้ว่าที่ดินส่วนนั้น ๆ จำเลยแต่ละคนได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินของจำเลยเอง ชั้นอุทธรณ์โจทก์และจำเลยที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 ที่ 5กับที่ 6 ตีราคาที่ดินพิพาททั้งสองแปลงเนื้อที่รวม 4 ไร่ 20 ตารางวา เป็นเงิน250,000 บาท ราคาที่ดินพิพาททั้งสองแปลงจึงเป็นอันยุติ เมื่อปรากฏข้อเท็จจริงตามคำเบิกความของพยานโจทก์และพยานจำเลยที่ 1 ที่ 2 และที่ 6 ว่า จำเลยที่ 1ที่ 2 ที่ 6 ครอบครองที่พิพาทเฉพาะที่ดินตาม น.ส.3 ก.เลขที่ 2795 ซึ่งมีเนื้อที่เพียง 2 ไร่ โดยแบ่งกันครอบครอง ฉะนั้นทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นฎีกาในส่วนของจำเลยที่ 1 ที่ 2 และที่ 6 จึงไม่เกินคนละสองแสนบาท ต้องห้ามมิให้จำเลยที่ 1ที่ 2 และที่ 6 ฎีกาในข้อเท็จจริงตาม ป.วิ.พ.มาตรา 248 วรรคหนึ่ง ที่จำเลยที่ 1 ที่ 2 และที่ 6 ฎีกาว่า โจทก์ไม่ได้นำสืบว่าการออก น.ส.3 ก.เป็นไปโดยชอบโจทก์ไม่มีสิทธิครอบครองที่ดินพิพาท และจำเลยที่ 1 ที่ 2 และที่ 6 ต่างเป็นผู้มีสิทธิครอบครองที่พิพาทมาเกิน 1 ปี นั้น เป็นการโต้เถียงดุลพินิจในการรับฟังพยานหลักฐานของศาลอุทธรณ์ที่วินิจฉัยและรับฟังมาว่า พยานโจทก์มีน้ำหนักดีกว่าพยานจำเลยและโจทก์เป็นผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินพิพาท ทั้งจำเลยต่างเพิ่งบุกรุกเมื่อประมาณต้นเดือนตุลาคม 2533 ตามที่โจทก์ฟ้อง จึงเป็นฎีกาในข้อเท็จจริง ต้องห้ามมิให้ฎีกาตามบทกฎหมายดังกล่าว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3594/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาไม่รับวินิจฉัยเนื่องจากทุนทรัพย์พิพาทจำเลยบางส่วนไม่เกิน 2 แสนบาท และเป็นการโต้เถียงดุลพินิจพยานหลักฐาน
คดีนี้เป็นคดีมีทุนทรัพย์ตามราคาที่ดินในส่วนที่โจทก์ฟ้องกล่าวหาว่าจำเลยแต่ละคนบุกรุกและเข้ามารบกวนการครอบครองที่ดินของโจทก์โดยมิชอบซึ่งจำเลยแต่ละคนต่างต่อสู้ว่าที่ดินส่วนนั้นๆจำเลยแต่ละคนได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินของจำเลยเองชั้นอุทธรณ์โจทก์และจำเลยที่1ที่2ที่3ที่5กับที่6ตีราคาที่ดินพิพาททั้งสองแปลงเนื้อที่รวม4ไร่20ตารางวาเป็นเงิน250,000บาทราคาที่ดินพิพาททั้งสองแปลงจึงเป็นอันยุติเมื่อปรากฏข้อเท็จจริงตามคำเบิกความของโจทก์และพยานจำเลยที่1ที่2และที่6ว่าจำเลยที่1ที่2ที่6ครอบครองที่พิพาทเฉพาะที่ดินตามน.ส.3ก.เลขที่2795ซึ่งมีเนื้อที่เพียง2ไร่โดยแบ่งกันครอบครองฉะนั้นทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นฎีกาในส่วนของจำเลยที่1ที่2และที่6จึงไม่เกินคนละสองแสนบาทต้องห้ามมิให้จำเลยที่1ที่2และที่6ฎีกาในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา248วรรคหนึ่งที่จำเลยที่1ที่2และที่6ฎีกาว่าโจทก์ไม่ได้นำสืบว่าการออกน.ส.3ก.เป็นไปโดยชอบโจทก์ไม่มีสิทธิครอบครองที่ดินพิพาทและจำเลยที่1ที่2และที่6ต่างเป็นผู้มีสิทธิครอบครองที่พิพาทเกิน1ปีนั้นเป็นการโต้เถียงดุลพินิจในการรับฟังพยานหลักฐานของศาลอุทธรณ์ที่วินิจฉัยและรับฟังมาว่าพยานโจทก์มีน้ำหนักดีกว่าพยานจำเลยและโจทก์เป็นผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินพิพาททั้งจำเลยต่างเพิ่งบุกรุกเมื่อประมาณต้นเดือนตุลาคม2533ตามที่โจทก์ฟ้องจึงเป็นฎีกาในข้อเท็จจริงต้องห้ามมิให้ฎีกาตามบทกฎหมายดังกล่าว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3495/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อจำกัดการฎีกาในข้อเท็จจริง: ทุนทรัพย์ไม่เกินสองแสนบาท และการโต้แย้งดุลพินิจการรับฟังพยานหลักฐาน
โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินพิพาทเฉพาะส่วนของจำเลยที่ 2 และที่ 3 ซึ่งโอนขายให้แก่จำเลยที่ 5 และขอให้จำเลยที่ 2ถึงที่ 4 โอนกรรมสิทธิ์ที่ดินพิพาทให้แก่โจทก์ตามสัญญาจะซื้อขาย การขอให้เพิกถอนการโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินระหว่างจำเลยที่ 2 และที่ 3 กับจำเลยที่ 5 นั้น มีผลให้โจทก์บังคับให้จำเลยที่ 2 ถึงที่ 5 โอนกรรมสิทธิ์ที่ดินพิพาทมาเป็นของโจทก์ จึงเท่ากับเรียกร้องที่ดินนั้นมาจากจำเลยที่ 5 และให้โอนมาเป็นของโจทก์ตามสัญญาจะซื้อขาย แม้จะเป็นการขอให้เพิกถอนการซื้อขายระหว่างจำเลยที่ 2 และที่ 3 กับจำเลยที่ 5 ก็ตาม แต่ผลแห่งการเพิกถอนนี้เป็นเหตุให้โจทก์ได้มาซึ่งที่ดิน-พิพาทในที่สุด จึงเป็นคดีมีทุนทรัพย์เท่ากับราคาที่ดินที่ขอให้บังคับโอนกรรมสิทธิ์ให้แก่โจทก์ ที่ดินพิพาทมีราคา 160,000 บาท ทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นฎีกาจึงไม่เกินสองแสนบาทต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในข้อเท็จจริง ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 248วรรคหนึ่ง
ศาลอุทธรณ์ภาค 2 วินิจฉัยว่า จำเลยที่ 2 ถึงที่ 4 ทำสัญญา-จะขายที่ดินพิพาทให้แก่โจทก์ในราคา 160,000 บาท ในขณะที่จำเลยดังกล่าวเป็นผู้เยาว์โดยให้จำเลยที่ 1 เป็นผู้ทำนิติกรรมแทนโดยขออนุญาตทำนิติกรรมต่อศาลคดี-เด็กและเยาวชนจังหวัดเชียงใหม่และจำเลยที่ 2 ถึงที่ 4 ได้รับเงินค่าขายที่ดิน160,000 บาท จากโจทก์แล้ว จำเลยทั้งห้าฎีกาโต้เถียงเพื่อให้ศาลฎีกาฟังแตกต่างกับที่ศาลอุทธรณ์ภาค 2 ฟังเป็นว่า จำเลยที่ 1 ไม่ได้ทำสัญญาจะขายที่ดินพิพาทให้แก่โจทก์แทนจำเลยที่ 2 ถึงที่ 4 จึงเป็นฎีกาโต้เถียงดุลพินิจในการรับฟังพยานหลักฐานของศาลอุทธรณ์ภาค 2 เป็นฎีกาในข้อเท็จจริงต้องห้ามตามบทกฎหมายดังกล่าวข้างต้น
ศาลอุทธรณ์ภาค 2 วินิจฉัยว่า จำเลยที่ 2 ถึงที่ 4 ทำสัญญา-จะขายที่ดินพิพาทให้แก่โจทก์ในราคา 160,000 บาท ในขณะที่จำเลยดังกล่าวเป็นผู้เยาว์โดยให้จำเลยที่ 1 เป็นผู้ทำนิติกรรมแทนโดยขออนุญาตทำนิติกรรมต่อศาลคดี-เด็กและเยาวชนจังหวัดเชียงใหม่และจำเลยที่ 2 ถึงที่ 4 ได้รับเงินค่าขายที่ดิน160,000 บาท จากโจทก์แล้ว จำเลยทั้งห้าฎีกาโต้เถียงเพื่อให้ศาลฎีกาฟังแตกต่างกับที่ศาลอุทธรณ์ภาค 2 ฟังเป็นว่า จำเลยที่ 1 ไม่ได้ทำสัญญาจะขายที่ดินพิพาทให้แก่โจทก์แทนจำเลยที่ 2 ถึงที่ 4 จึงเป็นฎีกาโต้เถียงดุลพินิจในการรับฟังพยานหลักฐานของศาลอุทธรณ์ภาค 2 เป็นฎีกาในข้อเท็จจริงต้องห้ามตามบทกฎหมายดังกล่าวข้างต้น