พบผลลัพธ์ทั้งหมด 30 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1262/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าธรรมเนียมศาลและการรับอุทธรณ์: ศาลต้องเรียกค่าธรรมเนียมก่อนพิจารณา หากไม่เรียกเอง ผู้เสียหายไม่ต้องรับผิด
ในคดีเรียกร้องให้คืนหรือใช้ราคาทรัพย์สิน ฯลฯ ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 254 ซึ่งให้เรียกค่าธรรมเนียมดั่งคดีแพ่งนั้น หากผู้อุทธรณ์ในคดีส่วนแพ่งมิได้เสียค่าธรรมเนียมในชั้นอุทธรณ์ขึ้นมา และไม่ปรากฏว่าผู้อุทธรณ์ขัดขืนไม่ยอมเสีย ไม่ชอบที่จะสั่งยกอุทธรณ์เสียเพียงเหตุที่มิได้เสียค่าธรรมเนียมโดยไม่พิเคราะห์ถึงมูลเหตุที่ไม่เสียนั้นเสียก่อน (ตามแนวฎีกาที่ 1426/2493, 389/2494, 1301 - 1302/2501)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1262/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าธรรมเนียมศาลและการรับอุทธรณ์: ศาลควรเรียกค่าธรรมเนียมก่อนยกอุทธรณ์เนื่องจากไม่ชำระ
ในคดีเรียกร้องให้คืนหรือใช้ราคาทรัพย์สิน ฯลฯ ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 254 ซึ่งให้เรียกค่าธรรมเนียมดั่งคดีแพ่งนั้น. หากผู้อุทธรณ์ในคดีส่วนแพ่งมิได้เสียค่าธรรมเนียมในชั้นอุทธรณ์ขึ้นมา และไม่ปรากฏว่าผู้อุทธรณ์ขัดขืนไม่ยอมเสีย. ไม่ชอบที่จะสั่งยกอุทธรณ์เสียเพียงเหตุที่มิได้เสียค่าธรรมเนียมโดยไม่พิเคราะห์ถึงมูลเหตุที่ไม่เสียนั้นเสียก่อน (ตามแนวฎีกาที่ 1426/2493,389/2494, 1301-1302/2501).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1262/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าธรรมเนียมศาลและการรับอุทธรณ์: ศาลต้องเรียกค่าธรรมเนียมก่อนพิจารณา หากไม่เรียกเอง ผู้อุทธรณ์ไม่ต้องรับผิดชอบ
ในคดีเรียกร้องให้คืนหรือใช้ราคาทรัพย์สิน ฯลฯ ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 254 ซึ่งให้เรียกค่าธรรมเนียมดั่งคดีแพ่งนั้น หากผู้อุทธรณ์ในคดีส่วนแพ่งมิได้เสียค่าธรรมเนียมในชั้นอุทธรณ์ขึ้นมา และไม่ปรากฏว่าผู้อุทธรณ์ขัดขืนไม่ยอมเสีย ไม่ชอบที่จะสั่งยกอุทธรณ์เสียเพียงเหตุที่มิได้เสียค่าธรรมเนียมโดยไม่พิเคราะห์ถึงมูลเหตุที่ไม่เสียนั้นเสียก่อน (ตามแนวฎีกาที่ 1426/2493,389/2494,1301-1302/2501)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1976-1977/2505 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยักยอกเงินของธนาคารโดยผู้จัดการ ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 354 และการเรียกร้องดอกเบี้ย
1. การร้องทุกข์นั้น ย่อมมอบอำนาจให้ร้องทุกข์แทนกันได้
(อ้างฎีกาที่ 890/2503)
2. ในคดีอาญา อัยการไม่มีอำนาจฟ้องขอให้เรียกดอกเบี้ยในจำนวนเงินที่จำเลยยักยอกไป เพราะดอกเบี้ยไม่ใช่ทรัพย์สินหรือราคาที่ผู้เสียหายสูญเสียไป เนื่องจากการกระทำผิดตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 43 แต่เนื่องจากผู้เสียหายได้เป็นโจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการ โดยถือเอาคำฟ้องของพนักงานอัยการเป็นของตนเช่นนี้ถือได้ว่า ผู้เสียหายได้เรียกดอกเบี้ยแล้วแต่เมื่อยังไม่ได้เสียค่าธรรมเนียมเนื่องจากการฟ้องเรียกดอกเบี้ยมารวมทั้ง 3 ศาลเช่นนี้ ศาลฎีกามีอำนาจสั่งให้เรียกได้ เมื่อเสียค่าธรรมเนียมแล้ว จึงจะพิจารณาวินิจฉัยต่อไปเกี่ยวกับกรณีนี้ได้
3. จำเลยเป็นผู้จัดการธนาคารยักยอกเงินธนาคาร ถือว่าเป็นการกระทำในฐานเป็นผู้มีอาชีพหรือธุรกิจอันย่อมเป็นที่ไว้วางใจของประชาชนตามถ้อยคำในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 354 แล้ว
4. ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 354 เป็นคุณแก่จำเลยว่ากฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 319
(ข้อ 2 โดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 26/2505)
(อ้างฎีกาที่ 890/2503)
2. ในคดีอาญา อัยการไม่มีอำนาจฟ้องขอให้เรียกดอกเบี้ยในจำนวนเงินที่จำเลยยักยอกไป เพราะดอกเบี้ยไม่ใช่ทรัพย์สินหรือราคาที่ผู้เสียหายสูญเสียไป เนื่องจากการกระทำผิดตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 43 แต่เนื่องจากผู้เสียหายได้เป็นโจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการ โดยถือเอาคำฟ้องของพนักงานอัยการเป็นของตนเช่นนี้ถือได้ว่า ผู้เสียหายได้เรียกดอกเบี้ยแล้วแต่เมื่อยังไม่ได้เสียค่าธรรมเนียมเนื่องจากการฟ้องเรียกดอกเบี้ยมารวมทั้ง 3 ศาลเช่นนี้ ศาลฎีกามีอำนาจสั่งให้เรียกได้ เมื่อเสียค่าธรรมเนียมแล้ว จึงจะพิจารณาวินิจฉัยต่อไปเกี่ยวกับกรณีนี้ได้
3. จำเลยเป็นผู้จัดการธนาคารยักยอกเงินธนาคาร ถือว่าเป็นการกระทำในฐานเป็นผู้มีอาชีพหรือธุรกิจอันย่อมเป็นที่ไว้วางใจของประชาชนตามถ้อยคำในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 354 แล้ว
4. ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 354 เป็นคุณแก่จำเลยว่ากฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 319
(ข้อ 2 โดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 26/2505)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1976-1977/2505
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยักยอกเงินของธนาคารโดยผู้จัดการสาขา, การฟ้องเรียกดอกเบี้ย, และการพิจารณาโทษตามกฎหมายอาญามาตรา 354
1. การร้องทุกข์นั้น ย่อมมอบอำนาจให้ร้องทุกข์แทนกันได้ (อ้างฎีกาที่ 890/2503) 2. ในคดีอาญา อัยการไม่มีอำนาจฟ้องขอให้เรียกดอกเบี้ยในจำนวนเงินที่จำเลยยักยอกไป เพราะดอกเบี้ยไม่ใช่ทรัพย์สินหรือราคาที่ผู้เสียหายสูญเสียไป เนื่องจากการกระทำผิดตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 43 แต่เนื่องจากผู้เสียหายได้เป็นโจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการ โดยถือเอาคำฟ้องของพนักงานอัยการเป็นของตนเช่นนี้ถือได้ว่า ผู้เสียหายได้เรียกดอกเบี้ยแล้ว แต่เมื่อยังไม่ได้เสียค่าธรรมเนียมเนื่องจากการฟ้องเรียกดอกเบี้ยมารวมทั้ง 3 ศาล เช่นนี้ ศาลฎีกามีอำนาจสั่งให้เรียกได้ เมื่อเสียค่าธรรมเนียมแล้ว จึงจะพิจารณาวินิจฉัยต่อไปเกี่ยวกับกรณีนี้ได้ 3. จำเลยเป็นผู้จัดการธนาคารยักยอกเงินธนาคาร ถือว่าเป็นการกระทำในฐานเป็นผู้มีอาชีพหรือธุรกิจอันย่อมเป็นที่ไว้วางใจของประชาชนตามถ้อยคำในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 354 แล้ว 4. ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 354 เป็นคุณแก่จำเลยกว่ากฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 319 (ข้อ 2 โดยประชุมใหญ่ ครั้งที่ 26/2505)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1103-1104/2496
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจสอบสวนของพนักงานสอบสวนและการยกข้อต่อสู้ที่ไม่ทันต่อศาล รวมถึงค่าธรรมเนียมโจทก์ร่วม
การที่จะฟังว่าพนักงานสอบสวนมีอำนาจสอบสวนหรือไม่นั้นเป็นข้อเท็จจริง ฉะนั้นถ้าจำเลยมิได้ยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้หรือให้การปฏิเสธว่าพนักงานสอบสวนนั้นไม่มีอำนาจเช่นนั้นแล้ว จนเมื่อสืบพยานโจทก์เสร็จแล้วจำเลยจึงกล่าวอ้างขึ้นมา และจำเลย ก็มิได้นำสืบว่า พนักงานสอบสวนมิชอบด้วยอำนาจหน้าที่อย่างไรนั้น ก็ย่อมเป็นคำกล่าวอ้างอันหาสาระมิได้ เพราะการกระทำทั้งหลายย่อมสันนิษฐานว่าเป็นการชอบ เว้นแต่จะได้ความว่าไม่ชอบ
คดีอาญาที่อัยการฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยฐานปล้นทรัพย์และขอให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์ด้วยนั้น แม้ผู้เสียหายจะขอเข้าไปเป็นโจทก์ร่วมกับอัยการ ผู้เสียหายก็มิต้องเสียค่าธรรมเนียมสำหรับทุนทรัพย์ที่ขอให้จำเลยคืน
คดีอาญาที่อัยการฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยฐานปล้นทรัพย์และขอให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์ด้วยนั้น แม้ผู้เสียหายจะขอเข้าไปเป็นโจทก์ร่วมกับอัยการ ผู้เสียหายก็มิต้องเสียค่าธรรมเนียมสำหรับทุนทรัพย์ที่ขอให้จำเลยคืน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1043/2492
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจการขอจ่ายสินบนนำจับในคดีป้องกันการค้ากำไรเกินควร: ความแตกต่างระหว่าง พ.ร.บ. 2489 และ พ.ร.บ. 2490
พ.ร.บ.ป้องกันการค้ากำไรเกินควร พ.ศ.2490 มาตรา 30 ได้บัญญัติถึงการบังคับให้ใช้สินบนนำจับไว้เป็นพิเศษแตกต่างไปจากที่บัญญัติไว้ในมาตรา 8 แห่ง พ.ร.บ.ให้บำเหน็จในการปราบปรามผู้กระทำความผิด พ.ศ.2489
คำขอให้จ่ายค่าสินบนนำจับตาม พ.ร.บ.ป้องกันการค้ากำไรเกินควร พ.ศ.2490 พนักงานอัยการไม่มีอำนาจจะขอแทนได้ เพราะ พ.ร.บ.ป้องกันการค้ากำไรเกินควร พ.ศ.2490 ไม่ได้ระบุอำนาจไว้
คำขอให้จ่ายค่าสินบนนำจับตาม พ.ร.บ.ป้องกันการค้ากำไรเกินควร พ.ศ.2490 พนักงานอัยการไม่มีอำนาจจะขอแทนได้ เพราะ พ.ร.บ.ป้องกันการค้ากำไรเกินควร พ.ศ.2490 ไม่ได้ระบุอำนาจไว้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 130/2492 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจของอัยยการในการร้องขอค่าสินบนนำจับการพะนันโดยไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียม
โดย พ.ร.บ. การพะนัน (ฉะบับที่ 5) พ.ศ. 2490 มาตรา 3 อัยยการมีอำนาจร้องขอให้จ่ายเงินสินบลนำจับการพะนันมาในฟ้องคดีอาญาได้ โดยไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมอย่างคดีแพ่ง./
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 130/2492
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจอัยการร้องขอค่าสินบนนำจับการพนันโดยไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมตาม พ.ร.บ.การพนัน
โดย พระราชบัญญัติการพนัน(ฉบับที่ 5) พ.ศ.2490 มาตรา 3 อัยการมีอำนาจร้องขอให้จ่ายเงินสินบนนำจับการพนันมาในฟ้องคดีอาญาได้ โดยไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมอย่างคดีแพ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 993/2491
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงโทษฐานแก้ไขเครื่องชั่งตวงวัด และสิทธิการเรียกร้องค่าสินบนนำจับ
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยฐานมีและใช้เครื่องชั่งที่ถูกแก้ไขและมีคำรับรองของเจ้าพนักงานและอ้างพระราชบัญญัติมาตราชั่ง ตวง วัด 2466 มาตรา 31,32 จำเลยให้การรับสารภาพ ศาลมีอำนาจลงโทษจำเลยตามมาตรา 32 ซึ่งเป็นบทหนักได้
เงินค่าสินบนผู้จับในคดีผิดพระราชบัญญัติมาตราชั่ง ตวง วัดนั้น ไม่มีกฎหมายใดให้อำนาจอัยการจะฟ้องเรียกสินบนให้แก่ผู้จับ (อ้างฎีกา 362/2481,218/2482)
เงินค่าสินบนผู้จับในคดีผิดพระราชบัญญัติมาตราชั่ง ตวง วัดนั้น ไม่มีกฎหมายใดให้อำนาจอัยการจะฟ้องเรียกสินบนให้แก่ผู้จับ (อ้างฎีกา 362/2481,218/2482)