พบผลลัพธ์ทั้งหมด 378 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3536/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตอำนาจค้ำประกัน – ห้างหุ้นส่วนจำกัด – ความรับผิดส่วนตัว
จำเลยที่ 1 ทำสัญญาขายลดเช็คซึ่งจำเลยที่ 4 ที่ 5 เป็นผู้สั่งจ่ายให้แก่โจทก์โดยจำเลยที่ 3 ซึ่งเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการของห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่ 2 ทำสัญญาค้ำประกันหนี้ของจำเลยที่ 1 ดังกล่าวในนามจำเลยที่ 2 เมื่อการค้ำประกันดังกล่าวอยู่นอกขอบวัตถุประสงค์และจำเลยที่ 2 ไม่ได้รับประโยชน์การค้ำประกันจึงไม่ผูกพันจำเลยที่ 2 จำเลยที่ 3 ซึ่งกระทำโดย ปราศจากอำนาจหรือนอกเหนือขอบอำนาจจึงรับผิดตามสัญญาค้ำประกันเป็นส่วนตัว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3332/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของเทศบาลต่อหนี้จากสัญญาซื้อขายสินค้าโดยหน่วยงานภายใน และอายุความของหนี้
ตอนต้นของพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 61 บัญญัติบังคับไว้ว่า เทศพานิชย์ของเทศบาลให้ตราเป็นเทศบัญญัติแต่ในตอนลำดับต่อมาบัญญัติเป็นข้อยกเว้นไว้ว่า กิจการใดที่เทศบาลมีรายได้หรือผลพลอยได้อันเกิดจากการกระทำตามอำนาจหน้าที่จะไม่ตราเป็นเทศบัญญัติก็ได้เมื่อระเบียบของกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการดำเนินงานของสำนักงานปุ๋ยเทศบาลนครกรุงเทพ พ.ศ. 2507 ตราไว้ว่า ผลกำไร อันเป็นรายได้จากการค้าปุ๋ยของสำนักงานปุ๋ย ๆ ส่วนหนึ่งให้ตกเป็นรายได้ ของเทศบาลนครกรุงเทพด้วย และเทศบาลนครกรุงเทพได้ตราเทศบัญญัติงบประมาณค่าใช้จ่ายประจำปีสำหรับสำนักงานปุ๋ย ๆ ไว้อีกด้วยสำนักงานปุ๋ยเทศบาลนครกรุงเทพจึงเป็นเทศพาณิชย์ที่เทศบาลนครกรุงเทพมีรายได้อันเกิดจากการดำเนินกิจการได้รับการยกเว้นไม่ต้องตราเป็นเทศบัญญัติตามมาตรา 61 นอกจากนี้ต่อมาได้มีประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 224 ลงวันที่ 9 ตุลาคม 2515 ข้อ 1 รองรับเทศพาณิชย์ที่เทศบาลได้จัดตั้งขึ้นก่อนนั้นให้ถือว่าเทศพาณิชย์นั้นได้ตั้งขึ้นโดยชอบด้วยกฎหมายว่าด้วย เทศบาลตั้งแต่วันเริ่มก่อตั้งสำนักงานปุ๋ยเทศบาลนครกรุงเทพจึงได้ก่อตั้งขึ้นโดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 39 บัญญัติห้ามมิให้ทำการมอบอำนาจให้ผู้ที่ไม่ได้เป็นพนักงานเทศบาลทำการแทนนายกเทศมนตรีเฉพาะในกรณีที่เกี่ยวกับการบริหารกิจการของเทศบาลอันเป็นอำนาจหน้าที่ของนายกเทศมนตรีตามกฎหมายนั้นเท่านั้นส่วนการดำเนินกิจการของสำนักงานปุ๋ยเทศบาลนครกรุงเทพนั้นได้มีระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการดำเนินงานของสำนักงานปุ๋ย เทศบาลนครกรุงเทพ พ.ศ. 2507 ตราไว้เป็นระเบียบต่างหากว่าให้ตั้ง คณะกรรมการบริหารขึ้นคณะหนึ่ง โดยมีผู้อำนวยการฯ เป็นผู้บริหาร สำนักงานปุ๋ยซึ่งการตั้งคณะกรรมการบริหารแยกออกต่างหากจากการ บริการกิจการของนายกเทศมนตรี หรือ คณะเทศมนตรีเทศบาลนครกรุงเทพ นี้ ได้รับการเห็นชอบของกระทรวงมหาดไทยแล้วรวมทั้งได้มีมติของที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักงานปุ๋ยฯด้วยการอนุมัติจากกระทรวงมหาดไทยให้สำนักงานปุ๋ยฯ โดยผู้อำนวยการ ดำเนินกิจการเกี่ยวกับการค้าปุ๋ยอันเป็นวัตถุประสงค์ที่ตราไว้ในระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการดำเนินงานของสำนักงานปุ๋ย พ.ศ. 2507 นั้นได้ จำเลยที่ 3 ในฐานะนายกเทศมนตรีเทศบาลนครกรุงเทพซึ่งมีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายในการควบคุมดูแลกิจการสำนักงานปุ๋ยฯ ทำหนังสือมอบอำนาจให้จำเลยที่ 4 ซึ่งมิได้เป็นพนักงานของเทศบาลนครกรุงเทพดำเนินกิจการดังกล่าวจึงไม่ต้องห้ามหรือขัดต่อบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าว
สำนักงานปุ๋ยฯ เป็นเทศพาณิชย์และเป็นหน่วยงานหนึ่งของ เทศบาลนครกรุงเทพ แม้วัตถุประสงค์จะเป็นไปในรูปการค้าปุ๋ยก็ตาม ก็ไม่ถือว่าอยู่นอกวัตถุประสงค์ของเทศบาลนครกรุงเทพเพราะได้ตรา ไว้ แล้วในระเบียบของกระทรวงมหาดไทยซึ่งให้อำนาจเทศบาลนครกรุงเทพ ตั้งสำนักงานปุ๋ยฯ นี้ขึ้น การค้าปุ๋ยจึงไม่ใช่เป็นการดำเนินงานไป นอกวัตถุประสงค์ของเทศบาลนครกรุงเทพ
โจทก์เป็นธนาคารพาณิชย์มีวัตถุประสงค์ในทางการค้าตามวิธีการของธนาคารพาณิชย์ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติธนาคารพาณิชย์หนี้ตามสัญญาเปิดเลตเตอร์ออฟเครดิต สัญญาทรัสต์รีซีทและตามตั๋วสัญญาใช้เงินซึ่งธนาคารโจทก์ค้ำประกันเป็นอาวัล เป็นการดำเนินธุรกิจการค้าตามวิธีการของธนาคารพาณิชย์อย่างหนึ่งซึ่งแตกต่างกับบุคคลผู้เป็นพ่อค้าหรือผู้ค้าที่ได้ซื้อและขายสินค้าอันเป็นปกติธุระตามนัยที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(1)(7) จึงไม่อาจนำเอาอายุความสองปีหรือห้าปีมาใช้บังคับได้ เมื่อหนี้อันเกิดจากสัญญาดังกล่าวไม่มีบทบัญญัติเรื่องอายุความไว้โดยเฉพาะจึงต้องนำเอาบทบัญญัติว่าด้วยอายุความทั่วไปตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 164 ซึ่งกำหนดไว้สิบปีมาใช้บังคับ
หนี้เงินซึ่งในสัญญาได้ตกลงให้โจทก์มีสิทธิเรียกดอกเบี้ยได้เพียงแต่ไม่ได้กำหนดอัตราดอกเบี้ยไว้ในสัญญา เมื่อจำเลยที่ 1 ยังค้างชำระหนี้ให้แก่โจทก์ตามสัญญา โจทก์จึงมีสิทธิคิดดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัดได้ร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 224 ปรากฏว่านับตั้งแต่วันผิดนัดจำเลยที่ 1 ไม่ได้ชำระหนี้ให้แก่โจทก์เลย จึงถือว่าดอกเบี้ยที่โจทก์มีสิทธิคิดจากเงินที่ค้างชำระดังกล่าวเป็นดอกเบี้ยที่ค้างชำระให้แก่โจทก์นั้นด้วย ซึ่งตามมาตรา 166 บัญญัติไว้ให้สิทธิเรียกร้องเอาดอกเบี้ยที่ค้างส่งนี้ได้ในอายุความเพียงห้าปี โจทก์หามีสิทธิเรียกดอกเบี้ยได้เกินกว่า 5 ปีไม่
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 39 บัญญัติห้ามมิให้ทำการมอบอำนาจให้ผู้ที่ไม่ได้เป็นพนักงานเทศบาลทำการแทนนายกเทศมนตรีเฉพาะในกรณีที่เกี่ยวกับการบริหารกิจการของเทศบาลอันเป็นอำนาจหน้าที่ของนายกเทศมนตรีตามกฎหมายนั้นเท่านั้นส่วนการดำเนินกิจการของสำนักงานปุ๋ยเทศบาลนครกรุงเทพนั้นได้มีระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการดำเนินงานของสำนักงานปุ๋ย เทศบาลนครกรุงเทพ พ.ศ. 2507 ตราไว้เป็นระเบียบต่างหากว่าให้ตั้ง คณะกรรมการบริหารขึ้นคณะหนึ่ง โดยมีผู้อำนวยการฯ เป็นผู้บริหาร สำนักงานปุ๋ยซึ่งการตั้งคณะกรรมการบริหารแยกออกต่างหากจากการ บริการกิจการของนายกเทศมนตรี หรือ คณะเทศมนตรีเทศบาลนครกรุงเทพ นี้ ได้รับการเห็นชอบของกระทรวงมหาดไทยแล้วรวมทั้งได้มีมติของที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักงานปุ๋ยฯด้วยการอนุมัติจากกระทรวงมหาดไทยให้สำนักงานปุ๋ยฯ โดยผู้อำนวยการ ดำเนินกิจการเกี่ยวกับการค้าปุ๋ยอันเป็นวัตถุประสงค์ที่ตราไว้ในระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการดำเนินงานของสำนักงานปุ๋ย พ.ศ. 2507 นั้นได้ จำเลยที่ 3 ในฐานะนายกเทศมนตรีเทศบาลนครกรุงเทพซึ่งมีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายในการควบคุมดูแลกิจการสำนักงานปุ๋ยฯ ทำหนังสือมอบอำนาจให้จำเลยที่ 4 ซึ่งมิได้เป็นพนักงานของเทศบาลนครกรุงเทพดำเนินกิจการดังกล่าวจึงไม่ต้องห้ามหรือขัดต่อบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าว
สำนักงานปุ๋ยฯ เป็นเทศพาณิชย์และเป็นหน่วยงานหนึ่งของ เทศบาลนครกรุงเทพ แม้วัตถุประสงค์จะเป็นไปในรูปการค้าปุ๋ยก็ตาม ก็ไม่ถือว่าอยู่นอกวัตถุประสงค์ของเทศบาลนครกรุงเทพเพราะได้ตรา ไว้ แล้วในระเบียบของกระทรวงมหาดไทยซึ่งให้อำนาจเทศบาลนครกรุงเทพ ตั้งสำนักงานปุ๋ยฯ นี้ขึ้น การค้าปุ๋ยจึงไม่ใช่เป็นการดำเนินงานไป นอกวัตถุประสงค์ของเทศบาลนครกรุงเทพ
โจทก์เป็นธนาคารพาณิชย์มีวัตถุประสงค์ในทางการค้าตามวิธีการของธนาคารพาณิชย์ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติธนาคารพาณิชย์หนี้ตามสัญญาเปิดเลตเตอร์ออฟเครดิต สัญญาทรัสต์รีซีทและตามตั๋วสัญญาใช้เงินซึ่งธนาคารโจทก์ค้ำประกันเป็นอาวัล เป็นการดำเนินธุรกิจการค้าตามวิธีการของธนาคารพาณิชย์อย่างหนึ่งซึ่งแตกต่างกับบุคคลผู้เป็นพ่อค้าหรือผู้ค้าที่ได้ซื้อและขายสินค้าอันเป็นปกติธุระตามนัยที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(1)(7) จึงไม่อาจนำเอาอายุความสองปีหรือห้าปีมาใช้บังคับได้ เมื่อหนี้อันเกิดจากสัญญาดังกล่าวไม่มีบทบัญญัติเรื่องอายุความไว้โดยเฉพาะจึงต้องนำเอาบทบัญญัติว่าด้วยอายุความทั่วไปตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 164 ซึ่งกำหนดไว้สิบปีมาใช้บังคับ
หนี้เงินซึ่งในสัญญาได้ตกลงให้โจทก์มีสิทธิเรียกดอกเบี้ยได้เพียงแต่ไม่ได้กำหนดอัตราดอกเบี้ยไว้ในสัญญา เมื่อจำเลยที่ 1 ยังค้างชำระหนี้ให้แก่โจทก์ตามสัญญา โจทก์จึงมีสิทธิคิดดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัดได้ร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 224 ปรากฏว่านับตั้งแต่วันผิดนัดจำเลยที่ 1 ไม่ได้ชำระหนี้ให้แก่โจทก์เลย จึงถือว่าดอกเบี้ยที่โจทก์มีสิทธิคิดจากเงินที่ค้างชำระดังกล่าวเป็นดอกเบี้ยที่ค้างชำระให้แก่โจทก์นั้นด้วย ซึ่งตามมาตรา 166 บัญญัติไว้ให้สิทธิเรียกร้องเอาดอกเบี้ยที่ค้างส่งนี้ได้ในอายุความเพียงห้าปี โจทก์หามีสิทธิเรียกดอกเบี้ยได้เกินกว่า 5 ปีไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3332/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อพิพาทหนี้ธนาคารและเทศพาณิชย์: อายุความ, การมอบอำนาจ, และดอกเบี้ย
ตอนต้นของพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 61 บัญญัติบังคับไว้ว่า เทศพานิชย์ของเทศบาลให้ตราเป็นเทศบัญญัติแต่ในตอนลำดับต่อมาบัญญัติเป็นข้อยกเว้นไว้ว่า กิจการใดที่เทศบาลมีรายได้หรือผลพลอยได้อันเกิดจากการกระทำตามอำนาจหน้าที่จะไม่ตราเป็นเทศบัญญัติก็ได้ เมื่อระเบียบของกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการดำเนินงานของสำนักงานปุ๋ยเทศบาลนครกรุงเทพ พ.ศ. 2507 ตราไว้ว่า ผลกำไร อันเป็นรายได้จากการค้าปุ๋ยของสำนักงานปุ๋ย ๆ ส่วนหนึ่งให้ตกเป็นรายได้ ของเทศบาลนครกรุงเทพด้วย และเทศบาลนครกรุงเทพได้ตราเทศบัญญัติงบประมาณค่าใช้จ่ายประจำปีสำหรับสำนักงานปุ๋ย ๆ ไว้อีกด้วยสำนักงานปุ๋ยเทศบาลนครกรุงเทพจึงเป็นเทศพาณิชย์ที่เทศบาลนครกรุงเทพมีรายได้อันเกิดจากการดำเนินกิจการได้รับการยกเว้นไม่ต้องตราเป็นเทศบัญญัติตามมาตรา 61 นอกจากนี้ต่อมาได้มีประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 224 ลงวันที่ 9 ตุลาคม 2515 ข้อ 1 รองรับเทศพาณิชย์ที่เทศบาลได้จัดตั้งขึ้นก่อนนั้นให้ถือว่าเทศพาณิชย์นั้นได้ตั้งขึ้นโดยชอบด้วยกฎหมายว่าด้วย เทศบาลตั้งแต่วันเริ่มก่อตั้งสำนักงานปุ๋ยเทศบาลนครกรุงเทพจึงได้ก่อตั้งขึ้นโดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 39 บัญญัติห้ามมิให้ทำการมอบอำนาจให้ผู้ที่ไม่ได้เป็นพนักงานเทศบาลทำการแทนนายกเทศมนตรีเฉพาะในกรณีที่เกี่ยวกับการบริหารกิจการของเทศบาลอันเป็นอำนาจหน้าที่ของนายกเทศมนตรีตามกฎหมายนั้นเท่านั้นส่วนการดำเนินกิจการของสำนักงานปุ๋ยเทศบาลนครกรุงเทพนั้นได้มีระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการดำเนินงานของสำนักงานปุ๋ย เทศบาลนครกรุงเทพ พ.ศ. 2507 ตราไว้เป็นระเบียบต่างหากว่าให้ตั้ง คณะกรรมการบริหารขึ้นคณะหนึ่ง โดยมีผู้อำนวยการฯ เป็นผู้บริหาร สำนักงานปุ๋ยซึ่งการตั้งคณะกรรมการบริหารแยกออกต่างหากจากการ บริการกิจการของนายกเทศมนตรี หรือ คณะเทศมนตรีเทศบาลนครกรุงเทพ นี้ ได้รับการเห็นชอบของกระทรวงมหาดไทยแล้วรวมทั้งได้มีมติของที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักงานปุ๋ยฯด้วยการอนุมัติจากกระทรวงมหาดไทยให้สำนักงานปุ๋ยฯ โดยผู้อำนวยการ ดำเนินกิจการเกี่ยวกับการค้าปุ๋ยอันเป็นวัตถุประสงค์ที่ตราไว้ในระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการดำเนินงานของสำนักงานปุ๋ย พ.ศ. 2507 นั้นได้ จำเลยที่ 3 ในฐานะนายกเทศมนตรีเทศบาลนครกรุงเทพซึ่งมีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายในการควบคุมดูแลกิจการสำนักงานปุ๋ยฯ ทำหนังสือมอบอำนาจให้จำเลยที่ 4 ซึ่งมิได้เป็นพนักงานของเทศบาลนครกรุงเทพดำเนินกิจการดังกล่าวจึงไม่ต้องห้ามหรือขัดต่อบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าว
สำนักงานปุ๋ยฯ เป็นเทศพาณิชย์และเป็นหน่วยงานหนึ่งของ เทศบาลนครกรุงเทพ แม้วัตถุประสงค์จะเป็นไปในรูปการค้าปุ๋ยก็ตาม ก็ไม่ถือว่าอยู่นอกวัตถุประสงค์ของเทศบาลนครกรุงเทพเพราะได้ตราไว้แล้วในระเบียบของกระทรวงมหาดไทยซึ่งให้อำนาจเทศบาลนครกรุงเทพ ตั้งสำนักงานปุ๋ยฯ นี้ขึ้น การค้าปุ๋ยจึงไม่ใช่เป็นการดำเนินงานไป นอกวัตถุประสงค์ของเทศบาลนครกรุงเทพ
โจทก์เป็นธนาคารพาณิชย์มีวัตถุประสงค์ในทางการค้าตามวิธีการของธนาคารพาณิชย์ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติธนาคารพาณิชย์หนี้ตามสัญญาเปิดเลตเตอร์ออฟเครดิต สัญญาทรัสต์รีซีทและตามตั๋วสัญญาใช้เงินซึ่งธนาคารโจทก์ค้ำประกันเป็นอาวัล เป็นการดำเนินธุรกิจการค้าตามวิธีการของธนาคารพาณิชย์อย่างหนึ่งซึ่งแตกต่างกับบุคคลผู้เป็นพ่อค้าหรือผู้ค้าที่ได้ซื้อและขายสินค้าอันเป็นปกติธุระตามนัยที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(1)(7) จึงไม่อาจนำเอาอายุความสองปีหรือห้าปีมาใช้บังคับได้ เมื่อหนี้อันเกิดจากสัญญาดังกล่าวไม่มีบทบัญญัติเรื่องอายุความไว้โดยเฉพาะจึงต้องนำเอาบทบัญญัติว่าด้วยอายุความทั่วไปตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 164 ซึ่งกำหนดไว้สิบปีมาใช้บังคับ
หนี้เงินซึ่งในสัญญาได้ตกลงให้โจทก์มีสิทธิเรียกดอกเบี้ยได้เพียงแต่ไม่ได้กำหนดอัตราดอกเบี้ยไว้ในสัญญา เมื่อจำเลยที่ 1 ยังค้างชำระหนี้ให้แก่โจทก์ตามสัญญา โจทก์จึงมีสิทธิคิดดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัดได้ร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 224 ปรากฏว่านับตั้งแต่วันผิดนัดจำเลยที่ 1 ไม่ได้ชำระหนี้ให้แก่โจทก์เลยจึงถือว่าดอกเบี้ยที่โจทก์มีสิทธิคิดจากเงินที่ค้างชำระดังกล่าวเป็นดอกเบี้ยที่ค้างชำระให้แก่โจทก์นั้นด้วย ซึ่งตามมาตรา 166 บัญญัติไว้ให้สิทธิเรียกร้องเอาดอกเบี้ยที่ค้างส่งนี้ได้ในอายุความเพียงห้าปี โจทก์หามีสิทธิเรียกดอกเบี้ยได้เกินกว่า 5 ปีไม่
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 39 บัญญัติห้ามมิให้ทำการมอบอำนาจให้ผู้ที่ไม่ได้เป็นพนักงานเทศบาลทำการแทนนายกเทศมนตรีเฉพาะในกรณีที่เกี่ยวกับการบริหารกิจการของเทศบาลอันเป็นอำนาจหน้าที่ของนายกเทศมนตรีตามกฎหมายนั้นเท่านั้นส่วนการดำเนินกิจการของสำนักงานปุ๋ยเทศบาลนครกรุงเทพนั้นได้มีระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการดำเนินงานของสำนักงานปุ๋ย เทศบาลนครกรุงเทพ พ.ศ. 2507 ตราไว้เป็นระเบียบต่างหากว่าให้ตั้ง คณะกรรมการบริหารขึ้นคณะหนึ่ง โดยมีผู้อำนวยการฯ เป็นผู้บริหาร สำนักงานปุ๋ยซึ่งการตั้งคณะกรรมการบริหารแยกออกต่างหากจากการ บริการกิจการของนายกเทศมนตรี หรือ คณะเทศมนตรีเทศบาลนครกรุงเทพ นี้ ได้รับการเห็นชอบของกระทรวงมหาดไทยแล้วรวมทั้งได้มีมติของที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักงานปุ๋ยฯด้วยการอนุมัติจากกระทรวงมหาดไทยให้สำนักงานปุ๋ยฯ โดยผู้อำนวยการ ดำเนินกิจการเกี่ยวกับการค้าปุ๋ยอันเป็นวัตถุประสงค์ที่ตราไว้ในระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการดำเนินงานของสำนักงานปุ๋ย พ.ศ. 2507 นั้นได้ จำเลยที่ 3 ในฐานะนายกเทศมนตรีเทศบาลนครกรุงเทพซึ่งมีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายในการควบคุมดูแลกิจการสำนักงานปุ๋ยฯ ทำหนังสือมอบอำนาจให้จำเลยที่ 4 ซึ่งมิได้เป็นพนักงานของเทศบาลนครกรุงเทพดำเนินกิจการดังกล่าวจึงไม่ต้องห้ามหรือขัดต่อบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าว
สำนักงานปุ๋ยฯ เป็นเทศพาณิชย์และเป็นหน่วยงานหนึ่งของ เทศบาลนครกรุงเทพ แม้วัตถุประสงค์จะเป็นไปในรูปการค้าปุ๋ยก็ตาม ก็ไม่ถือว่าอยู่นอกวัตถุประสงค์ของเทศบาลนครกรุงเทพเพราะได้ตราไว้แล้วในระเบียบของกระทรวงมหาดไทยซึ่งให้อำนาจเทศบาลนครกรุงเทพ ตั้งสำนักงานปุ๋ยฯ นี้ขึ้น การค้าปุ๋ยจึงไม่ใช่เป็นการดำเนินงานไป นอกวัตถุประสงค์ของเทศบาลนครกรุงเทพ
โจทก์เป็นธนาคารพาณิชย์มีวัตถุประสงค์ในทางการค้าตามวิธีการของธนาคารพาณิชย์ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติธนาคารพาณิชย์หนี้ตามสัญญาเปิดเลตเตอร์ออฟเครดิต สัญญาทรัสต์รีซีทและตามตั๋วสัญญาใช้เงินซึ่งธนาคารโจทก์ค้ำประกันเป็นอาวัล เป็นการดำเนินธุรกิจการค้าตามวิธีการของธนาคารพาณิชย์อย่างหนึ่งซึ่งแตกต่างกับบุคคลผู้เป็นพ่อค้าหรือผู้ค้าที่ได้ซื้อและขายสินค้าอันเป็นปกติธุระตามนัยที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(1)(7) จึงไม่อาจนำเอาอายุความสองปีหรือห้าปีมาใช้บังคับได้ เมื่อหนี้อันเกิดจากสัญญาดังกล่าวไม่มีบทบัญญัติเรื่องอายุความไว้โดยเฉพาะจึงต้องนำเอาบทบัญญัติว่าด้วยอายุความทั่วไปตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 164 ซึ่งกำหนดไว้สิบปีมาใช้บังคับ
หนี้เงินซึ่งในสัญญาได้ตกลงให้โจทก์มีสิทธิเรียกดอกเบี้ยได้เพียงแต่ไม่ได้กำหนดอัตราดอกเบี้ยไว้ในสัญญา เมื่อจำเลยที่ 1 ยังค้างชำระหนี้ให้แก่โจทก์ตามสัญญา โจทก์จึงมีสิทธิคิดดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัดได้ร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 224 ปรากฏว่านับตั้งแต่วันผิดนัดจำเลยที่ 1 ไม่ได้ชำระหนี้ให้แก่โจทก์เลยจึงถือว่าดอกเบี้ยที่โจทก์มีสิทธิคิดจากเงินที่ค้างชำระดังกล่าวเป็นดอกเบี้ยที่ค้างชำระให้แก่โจทก์นั้นด้วย ซึ่งตามมาตรา 166 บัญญัติไว้ให้สิทธิเรียกร้องเอาดอกเบี้ยที่ค้างส่งนี้ได้ในอายุความเพียงห้าปี โจทก์หามีสิทธิเรียกดอกเบี้ยได้เกินกว่า 5 ปีไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2947/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแปลงหนี้ใหม่ต้องมีกรรมการลงชื่อครบถ้วนตามที่จดทะเบียน มิเช่นนั้นไม่ผูกพันเจ้าหนี้
หนังสือรับรองของสำนักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทกรุงเทพมหานครระบุกรรมการผู้มีอำนาจลงชื่อแทนบริษัทโจทก์ว่า ส. หรือ ก. ลงลายมือชื่อร่วมกับ จ. หรือ อ. รวมเป็นสองคนและประทับตราสำคัญของบริษัทโจทก์แม้เอกสารสัญญาที่ทำขึ้นจะมีข้อความเป็นการแปลงหนี้ใหม่ โดยเปลี่ยนตัวลูกหนี้ แต่ในช่อง "ผู้รับสัญญา" ในเอกสารดังกล่าวมีก.กรรมการของโจทก์ลงชื่อเพียงผู้เดียวไม่ครบจำนวนตามที่จดทะเบียนไว้เอกสารดังกล่าวจึงไม่ผูกพันโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2947/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจกรรมการลงนามไม่ครบถ้วน ทำให้สัญญาแปลงหนี้ไม่ผูกพันเจ้าหนี้
หนังสือรับรองของสำนักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทกรุงเทพมหานครระบุกรรมการผู้มีอำนาจลงชื่อแทนบริษัทโจทก์ว่า ส. หรือ ก. ลงลายมือชื่อร่วมกับ จ. หรือ อ. รวมเป็นสองคนและประทับตราสำคัญของบริษัทโจทก์แม้เอกสารสัญญาที่ทำขึ้นจะมีข้อความเป็นการแปลงหนี้ใหม่โดยเปลี่ยนตัวลูกหนี้ แต่ในช่อง 'ผู้รับสัญญา' ในเอกสารดังกล่าวมีก.กรรมการของโจทก์ลงชื่อเพียงผู้เดียวไม่ครบจำนวนตามที่จดทะเบียนไว้เอกสารดังกล่าวจึงไม่ผูกพันโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2144/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจกรรมการลงลายมือชื่อสลักหลังเช็คแทนบริษัท: ไม่ถือเป็นความรับผิดส่วนตัว
จำเลยที่ 2 เป็นบริษัทจำกัดและเป็นผู้ทรงเช็คที่ได้รับชำระหนี้จากจำเลยที่ 1 ผู้สั่งจ่าย การที่จำเลยที่ 3 ในฐานะกรรมการผู้มีอำนาจทำการแทนจำเลยที่ 2 ได้ลงลายมือชื่อและประทับตราสำคัญของบริษัทลงบนลายมือชื่อสลักหลังเช็คดังกล่าวโอนให้แก่โจทก์ โดยไม่ปรากฏว่าเป็นการกระทำนอกขอบวัตถุที่ประสงค์ของจำเลยที่ 2 นั้น เป็นการแสดงความประสงค์ของนิติบุคคลโดยทางผู้แทนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 75 อันอาจกล่าวได้ว่าเป็นการกระทำของจำเลยที่ 2 เอง และเห็นเจตนาได้โดยชัดแจ้งว่ากระทำในนามจำเลยที่ 2 แม้มิได้เขียนแถลงว่ากระทำการแทนจำเลยที่ 2 จำเลยที่ 3 ก็หาต้องรับผิดเป็นส่วนตัวไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2144/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจกรรมการลงนามสลักหลังเช็คแทนบริษัทจำกัด ไม่ทำให้เกิดความรับผิดส่วนตัว
จำเลยที่ 2 เป็นบริษัทจำกัดและเป็นผู้ทรงเช็คที่ได้รับชำระหนี้จากจำเลยที่ 1 ผู้สั่งจ่าย การที่จำเลยที่ 3ในฐานะกรรมการผู้มีอำนาจทำการแทนจำเลยที่ 2 ได้ลงลายมือชื่อและประทับตราสำคัญของบริษัทลงบนลายมือชื่อสลักหลังเช็คดังกล่าวโอนให้แก่โจทก์โดยไม่ปรากฏว่าเป็นการกระทำนอกขอบวัตถุที่ประสงค์ของจำเลยที่ 2 นั้น เป็นการแสดงความประสงค์ของนิติบุคคลโดยทางผู้แทนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 75 อันอาจกล่าวได้ว่าเป็นการกระทำของจำเลยที่ 2 เอง และเห็นเจตนาได้โดยชัดแจ้งว่ากระทำในนามจำเลยที่ 2 แม้มิได้เขียนแถลงว่ากระทำการแทนจำเลยที่ 2จำเลยที่ 3 ก็หาต้องรับผิดเป็นส่วนตัวไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1579/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีละเมิดของนิติบุคคล: การตกลงซ่อมรถโดยผู้รับผิดชอบไม่ใช่การประนีประนอมยอมความ
กรมทางหลวงโจทก์เป็นกรมในรัฐบาล มีฐานะเป็นนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 75 ผู้แทนของโจทก์คืออธิบดีรถยนต์ของโจทก์ถูกรถยนต์จำเลยชนเสียหายการที่ ป. ข้าราชการในกรมโจทก์และเป็นผู้รับผิดชอบรถของโจทก์คันที่ถูกชนไปบันทึกตกลงกับจำเลยให้ซ่อมรถให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยตามกำหนดเวลาและไม่ติดใจเรียกร้องค่าเสียหายนั้น เมื่อไม่ปรากฏว่าโจทก์ได้แต่งตั้ง ป. ให้เป็นตัวแทน บันทึกดังกล่าวยังถือไม่ได้ว่าเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความที่มีผลผูกพันโจทก์โจทก์จึงมีอำนาจฟ้องจำเลยในมูลละเมิดได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1459/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจกรรมการลงนามแทนบริษัทผูกพันบริษัท แม้ไม่มีตราสำคัญ การซื้อขายไม้ถือเป็นสัญญาที่ผูกพัน
จำเลยมีวัตถุประสงค์ทำการซื้อขายไม้ กรรมการหนึ่งคนลงลายมือชื่อและประทับตราสำคัญของบริษัทมีอำนาจลงชื่อแทนจำเลย เอกสารที่มีข้อความระบุว่าจำเลยตกลงขายไม้ให้โจทก์ ซึ่งมี พ. กรรมการคนหนึ่งของจำเลยลงชื่อในช่องผู้ขาย แม้จะไม่ได้ประทับตราสำคัญของจำเลย ก็แสดงว่าพ. ตกลงขายไม้ในนามจำเลย ข้อตกลงดังกล่าวจึงผูกพันจำเลย เมื่อจำเลยเป็นฝ่ายผิดสัญญา โจทก์มีสิทธิฟ้องบังคับจำเลยให้ส่งมอบไม้ตามข้อตกลงหรือเรียกค่าเสียหายได้
เมื่อโจทก์ไม่สามารถนำสืบถึงจำนวนค่าเสียหายที่แน่นอน ศาลก็กำหนดค่าเสียหายให้ตามจำนวนที่ศาลเห็นสมควรได้
เมื่อโจทก์ไม่สามารถนำสืบถึงจำนวนค่าเสียหายที่แน่นอน ศาลก็กำหนดค่าเสียหายให้ตามจำนวนที่ศาลเห็นสมควรได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1459/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การผูกพันสัญญาซื้อขายไม้ แม้ไม่มีตราบริษัท เมื่อมีกรรมการลงนาม สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายเมื่อผิดสัญญา
จำเลยมีวัตถุประสงค์ทำการซื้อขายไม้ กรรมการหนึ่งคนลงลายมือชื่อและประทับตราสำคัญของบริษัทมีอำนาจลงชื่อแทนจำเลย เอกสารที่มีข้อความระบุว่าจำเลยตกลงขายไม้ให้โจทก์ ซึ่งมี พ. กรรมการคนหนึ่งของจำเลยลงชื่อในช่องผู้ขาย แม้จะไม่ได้ประทับตราสำคัญของจำเลย ก็แสดงว่า พ. ตกลงขายไม้ในนามจำเลย ข้อตกลงดังกล่าวจึงผูกพันจำเลย เมื่อจำเลยเป็นฝ่ายผิดสัญญา โจทก์มีสิทธิฟ้องบังคับจำเลยให้ส่งมอบไม้ตามข้อตกลงหรือเรียกค่าเสียหายได้
เมื่อโจทก์ไม่สามารถนำสืบถึงจำนวนค่าเสียหายที่แน่นอน ศาลก็กำหนดค่าเสียหายให้ตามจำนวนที่ศาลเห็นสมควรได้
เมื่อโจทก์ไม่สามารถนำสืบถึงจำนวนค่าเสียหายที่แน่นอน ศาลก็กำหนดค่าเสียหายให้ตามจำนวนที่ศาลเห็นสมควรได้