พบผลลัพธ์ทั้งหมด 133 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 181/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิรับมรดกของบุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรอง
บุตรนอกกฎหมายซึ่งบิดารับรองโดยเลี้ยงดูร่วมบ้านให้เรียกว่าบิดา เป็นที่รู้กันทั่วไป รับมรดกของบิดาได้ตาม มาตรา 1627พี่น้องของเจ้ามรดกซึ่งเป็นทายาทลำดับถัดไปอ้างอายุความมาตัดบุตรซึ่งเป็นทายาทลำดับที่ 1 ไม่ได้ตามมาตรา 1755
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1415/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมฉบับหลังมีผลเพิกถอนพินัยกรรมฉบับก่อน ผู้จัดการมรดกต้องรับผิดต่อทายาทตามกฎหมาย
การแสดงเจตนาที่จะเป็นพินัยกรรมได้ จะต้องมีลักษณะเป็นคำสั่ง คำสั่งนั้นเป็นคำสั่งครั้งสุดท้ายกำหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สินของบุคคลนั้น และในการต่าง ๆ อันจะให้เกิดเป็นผลบังคับได้ตามกฎหมายเมื่อคนตาย
เจ้ามรดกมีหนังสือถึงโจทก์ซึ่งเป็นบุตร แจ้งให้ทราบว่าตนทำพินัยกรรมลับไว้ที่อำเภอในหนังสือระบุว่า ห้ามมิให้จำเลยขายที่นา และห้ามมิให้จำเลยออกเงินส่วนตัวทำศพเจ้ามรดก มิให้นาตกเป็นของจำเลย ให้แบ่งนาให้โจทก์คนละ 5 ไร่ เหลือจากแบ่งห้ามมิให้จำเลยขายเอาเงินทำศพเจ้ามรดก และไม่ให้นาส่วนที่เหลือตกเป็นของจำเลย เงินสด 10,000 บาท ถ้าทำศพเจ้ามรดกแล้วมีเงินเหลือมอบให้โจทก์ไป ให้โจทก์เป็นผู้เก็บค่าเช่านา ตอนท้ายของหนังสือมีความต่อไปว่า ถ้าจำเลยไม่ปฏิบัติตามจดหมายนี้ ก็ให้โจทก์ไปร้องเรียนนายอำเภอ ขอให้นายอำเภอถอนพินัยกรรมลับด้วย ดังนี้ เอกสารหนังสือของเจ้ามรดกเป็นพินัยกรรม และเข้าแบบพินัยกรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1657 เพราะเจ้ามรดกเขียนเองทั้งฉบับ มีผลเป็นการเพิกถอนพินัยกรรมลับของเจ้ามรดกซึ่งทำไว้ฉบับแรกบางส่วนตามมาตรา 1694
คดีที่มีจำเลยเป็นผู้จัดการมรดก โจทก์ซึ่งเป็นทายาทฟ้องเรียกทรัพย์มรดกของเจ้ามรดกจากจำเลย จำเลยจะยกอายุความมรดก 1 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 ขึ้นต่อสู้โจทก์หาได้ไม่ เพราะกฎหมายบัญญัติเรื่องอายุความเกี่ยวกับการจัดการมรดกที่ผู้จัดการมรดกจะต้องรับผิดต่อทายาทไว้โดยเฉพาะแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1733 วรรค 2 ซึ่งมีกำหนด 5 ปี จำเลยมีสิทธิยกอายุความ 5 ปีที่นี้เท่านั้นขึ้นต่อสู้โจทก์
จำเลยมิใช่บุคคลภายนอก แต่เป็นผู้จัดการมรดก ต้องถือว่าจำเลยยึดถือที่นามรดกไว้แทนโจทก์ซึ่งเป็นทายาท จำเลยจะอ้างสิทธิว่าได้แย่งการครอบครองจากโจทก์มิได้ จะนำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1375 มาใช้บังคับไม่ได้
เจ้ามรดกมีหนังสือถึงโจทก์ซึ่งเป็นบุตร แจ้งให้ทราบว่าตนทำพินัยกรรมลับไว้ที่อำเภอในหนังสือระบุว่า ห้ามมิให้จำเลยขายที่นา และห้ามมิให้จำเลยออกเงินส่วนตัวทำศพเจ้ามรดก มิให้นาตกเป็นของจำเลย ให้แบ่งนาให้โจทก์คนละ 5 ไร่ เหลือจากแบ่งห้ามมิให้จำเลยขายเอาเงินทำศพเจ้ามรดก และไม่ให้นาส่วนที่เหลือตกเป็นของจำเลย เงินสด 10,000 บาท ถ้าทำศพเจ้ามรดกแล้วมีเงินเหลือมอบให้โจทก์ไป ให้โจทก์เป็นผู้เก็บค่าเช่านา ตอนท้ายของหนังสือมีความต่อไปว่า ถ้าจำเลยไม่ปฏิบัติตามจดหมายนี้ ก็ให้โจทก์ไปร้องเรียนนายอำเภอ ขอให้นายอำเภอถอนพินัยกรรมลับด้วย ดังนี้ เอกสารหนังสือของเจ้ามรดกเป็นพินัยกรรม และเข้าแบบพินัยกรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1657 เพราะเจ้ามรดกเขียนเองทั้งฉบับ มีผลเป็นการเพิกถอนพินัยกรรมลับของเจ้ามรดกซึ่งทำไว้ฉบับแรกบางส่วนตามมาตรา 1694
คดีที่มีจำเลยเป็นผู้จัดการมรดก โจทก์ซึ่งเป็นทายาทฟ้องเรียกทรัพย์มรดกของเจ้ามรดกจากจำเลย จำเลยจะยกอายุความมรดก 1 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 ขึ้นต่อสู้โจทก์หาได้ไม่ เพราะกฎหมายบัญญัติเรื่องอายุความเกี่ยวกับการจัดการมรดกที่ผู้จัดการมรดกจะต้องรับผิดต่อทายาทไว้โดยเฉพาะแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1733 วรรค 2 ซึ่งมีกำหนด 5 ปี จำเลยมีสิทธิยกอายุความ 5 ปีที่นี้เท่านั้นขึ้นต่อสู้โจทก์
จำเลยมิใช่บุคคลภายนอก แต่เป็นผู้จัดการมรดก ต้องถือว่าจำเลยยึดถือที่นามรดกไว้แทนโจทก์ซึ่งเป็นทายาท จำเลยจะอ้างสิทธิว่าได้แย่งการครอบครองจากโจทก์มิได้ จะนำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1375 มาใช้บังคับไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1415/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมฉบับหลังมีผลเพิกถอนพินัยกรรมฉบับแรกบางส่วน ผู้จัดการมรดกต้องรับผิดต่อทายาทตามกฎหมาย
การแสดงเจตนาที่จะเป็นพินัยกรรมได้ จะต้องมีลักษณะเป็นคำสั่ง คำสั่งนั้นเป็นคำสั่งครั้งสุดท้ายกำหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สินของบุคคลนั้น และในการต่างๆ อันจะให้เกิดเป็นผลบังคับได้ตามกฎหมายเมื่อตนตาย
เจ้ามรดกมีหนังสือถึงโจทก์ซึ่งเป็นบุตร แจ้งให้ทราบว่าตนทำพินัยกรรมลับไว้ที่อำเภอในหนังสือระบุว่า ห้ามมิให้จำเลยขายที่นา และห้ามมิให้จำเลยออกเงินส่วนตัวทำศพเจ้ามรดก มิให้นาตกเป็นของจำเลย ให้แบ่งนาให้โจทก์คนละ 5 ไร่ เหลือจากแบ่งห้ามมิให้จำเลยขายเอาเงินทำศพเจ้ามรดก และไม่ให้นาส่วนที่เหลือตกเป็นของจำเลย เงินสด 10,000 บาท ถ้าทำศพเจ้ามรดกแล้วมีเงินเหลือมอบให้โจทก์ไป ให้โจทก์เป็นผู้เก็บค่าเช่านา ตอนท้ายของหนังสือมีความต่อไปว่า ถ้าจำเลยไม่ปฏิบัติตามจดหมายนี้ ก็ให้โจทก์ไปร้องเรียนนายอำเภอ ขอให้นายอำเภอถอนพินัยกรรมลับด้วย ดังนี้ เอกสารหนังสือของเจ้ามรดกเป็นพินัยกรรม และเข้าแบบพินัยกรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1657 เพราะเจ้ามรดกเขียนเองทั้งฉบับ มีผลเป็นการเพิกถอนพินัยกรรมลับของเจ้ามรดกซึ่งทำไว้ฉบับแรกบางส่วนตามมาตรา 1694
คดีที่มีจำเลยเป็นผู้จัดการมรดก โจทก์ซึ่งเป็นทายาทฟ้องเรียกทรัพย์มรดกของเจ้ามรดกจากจำเลย จำเลยจะยกอายุความมรดก 1 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1754 ขึ้นต่อสู้โจทก์หาได้ไม่ เพราะกฎหมายบัญญัติเรื่องอายุความเกี่ยวกับการจัดการมรดกที่ผู้จัดการมรดกจะต้องรับผิดต่อทายาทไว้โดยเฉพาะแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1733 วรรค 2 ซึ่งมีกำหนด 5 ปี จำเลยมีสิทธิยกอายุความ 5 ปีนี้เท่านั้นขึ้นต่อสู้โจทก์
จำเลยมิใช่บุคคลภายนอก แต่เป็นผู้จัดการมรดก ต้องถือว่าจำเลยยึดถือที่นามรดกไว้แทนโจทก์ซึ่งเป็นทายาท จำเลยจะอ้างสิทธิว่าได้แย่งการครอบครองจากโจทก์มิได้ จะนำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1375 มาใช้บังคับไม่ได้
เจ้ามรดกมีหนังสือถึงโจทก์ซึ่งเป็นบุตร แจ้งให้ทราบว่าตนทำพินัยกรรมลับไว้ที่อำเภอในหนังสือระบุว่า ห้ามมิให้จำเลยขายที่นา และห้ามมิให้จำเลยออกเงินส่วนตัวทำศพเจ้ามรดก มิให้นาตกเป็นของจำเลย ให้แบ่งนาให้โจทก์คนละ 5 ไร่ เหลือจากแบ่งห้ามมิให้จำเลยขายเอาเงินทำศพเจ้ามรดก และไม่ให้นาส่วนที่เหลือตกเป็นของจำเลย เงินสด 10,000 บาท ถ้าทำศพเจ้ามรดกแล้วมีเงินเหลือมอบให้โจทก์ไป ให้โจทก์เป็นผู้เก็บค่าเช่านา ตอนท้ายของหนังสือมีความต่อไปว่า ถ้าจำเลยไม่ปฏิบัติตามจดหมายนี้ ก็ให้โจทก์ไปร้องเรียนนายอำเภอ ขอให้นายอำเภอถอนพินัยกรรมลับด้วย ดังนี้ เอกสารหนังสือของเจ้ามรดกเป็นพินัยกรรม และเข้าแบบพินัยกรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1657 เพราะเจ้ามรดกเขียนเองทั้งฉบับ มีผลเป็นการเพิกถอนพินัยกรรมลับของเจ้ามรดกซึ่งทำไว้ฉบับแรกบางส่วนตามมาตรา 1694
คดีที่มีจำเลยเป็นผู้จัดการมรดก โจทก์ซึ่งเป็นทายาทฟ้องเรียกทรัพย์มรดกของเจ้ามรดกจากจำเลย จำเลยจะยกอายุความมรดก 1 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1754 ขึ้นต่อสู้โจทก์หาได้ไม่ เพราะกฎหมายบัญญัติเรื่องอายุความเกี่ยวกับการจัดการมรดกที่ผู้จัดการมรดกจะต้องรับผิดต่อทายาทไว้โดยเฉพาะแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1733 วรรค 2 ซึ่งมีกำหนด 5 ปี จำเลยมีสิทธิยกอายุความ 5 ปีนี้เท่านั้นขึ้นต่อสู้โจทก์
จำเลยมิใช่บุคคลภายนอก แต่เป็นผู้จัดการมรดก ต้องถือว่าจำเลยยึดถือที่นามรดกไว้แทนโจทก์ซึ่งเป็นทายาท จำเลยจะอ้างสิทธิว่าได้แย่งการครอบครองจากโจทก์มิได้ จะนำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1375 มาใช้บังคับไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1415/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมฉบับหลังมีผลเพิกถอนพินัยกรรมฉบับแรกบางส่วน ผู้จัดการมรดกต้องรับผิดต่อทายาทตามกฎหมาย
การแสดงเจตนาที่จะเป็นพินัยกรรมได้ จะต้องมีลักษณะเป็นคำสั่ง. คำสั่งนั้นเป็นคำสั่งครั้งสุดท้ายกำหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สินของบุคคลนั้น. และในการต่างๆ อันจะให้เกิดเป็นผลบังคับได้ตามกฎหมายเมื่อตนตาย.
เจ้ามรดกมีหนังสือถึงโจทก์ซึ่งเป็นบุตร. แจ้งให้ทราบว่าตนทำพินัยกรรมลับไว้ที่อำเภอในหนังสือระบุว่า. ห้ามมิให้จำเลยขายที่นา. และห้ามมิให้จำเลยออกเงินส่วนตัวทำศพเจ้ามรดก. มิให้นาตกเป็นของจำเลย. ให้แบ่งนาให้โจทก์คนละ 5 ไร่. เหลือจากแบ่งห้ามมิให้จำเลยขายเอาเงินทำศพเจ้ามรดก. และไม่ให้นาส่วนที่เหลือตกเป็นของจำเลย. เงินสด 10,000 บาท. ถ้าทำศพเจ้ามรดกแล้วมีเงินเหลือมอบให้โจทก์ไป. ให้โจทก์เป็นผู้เก็บค่าเช่านา.ตอนท้ายของหนังสือมีความต่อไปว่า. ถ้าจำเลยไม่ปฏิบัติตามจดหมายนี้. ก็ให้โจทก์ไปร้องเรียนนายอำเภอ. ขอให้นายอำเภอถอนพินัยกรรมลับด้วย. ดังนี้ เอกสารหนังสือของเจ้ามรดกเป็นพินัยกรรม. และเข้าแบบพินัยกรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1657. เพราะเจ้ามรดกเขียนเองทั้งฉบับ. มีผลเป็นการเพิกถอนพินัยกรรมลับของเจ้ามรดกซึ่งทำไว้ฉบับแรกบางส่วนตามมาตรา 1694.
คดีที่มีจำเลยเป็นผู้จัดการมรดก. โจทก์ซึ่งเป็นทายาทฟ้องเรียกทรัพย์มรดกของเจ้ามรดกจากจำเลย. จำเลยจะยกอายุความมรดก 1 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1754 ขึ้นต่อสู้โจทก์หาได้ไม่. เพราะกฎหมายบัญญัติเรื่องอายุความเกี่ยวกับการจัดการมรดกที่ผู้จัดการมรดกจะต้องรับผิดต่อทายาทไว้โดยเฉพาะแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1733 วรรค 2 ซึ่งมีกำหนด 5 ปี. จำเลยมีสิทธิยกอายุความ 5 ปีนี้เท่านั้นขึ้นต่อสู้โจทก์.
จำเลยมิใช่บุคคลภายนอก. แต่เป็นผู้จัดการมรดก. ต้องถือว่าจำเลยยึดถือที่นามรดกไว้แทนโจทก์ซึ่งเป็นทายาท. จำเลยจะอ้างสิทธิว่าได้แย่งการครอบครองจากโจทก์มิได้. จะนำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1375 มาใช้บังคับไม่ได้.
เจ้ามรดกมีหนังสือถึงโจทก์ซึ่งเป็นบุตร. แจ้งให้ทราบว่าตนทำพินัยกรรมลับไว้ที่อำเภอในหนังสือระบุว่า. ห้ามมิให้จำเลยขายที่นา. และห้ามมิให้จำเลยออกเงินส่วนตัวทำศพเจ้ามรดก. มิให้นาตกเป็นของจำเลย. ให้แบ่งนาให้โจทก์คนละ 5 ไร่. เหลือจากแบ่งห้ามมิให้จำเลยขายเอาเงินทำศพเจ้ามรดก. และไม่ให้นาส่วนที่เหลือตกเป็นของจำเลย. เงินสด 10,000 บาท. ถ้าทำศพเจ้ามรดกแล้วมีเงินเหลือมอบให้โจทก์ไป. ให้โจทก์เป็นผู้เก็บค่าเช่านา.ตอนท้ายของหนังสือมีความต่อไปว่า. ถ้าจำเลยไม่ปฏิบัติตามจดหมายนี้. ก็ให้โจทก์ไปร้องเรียนนายอำเภอ. ขอให้นายอำเภอถอนพินัยกรรมลับด้วย. ดังนี้ เอกสารหนังสือของเจ้ามรดกเป็นพินัยกรรม. และเข้าแบบพินัยกรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1657. เพราะเจ้ามรดกเขียนเองทั้งฉบับ. มีผลเป็นการเพิกถอนพินัยกรรมลับของเจ้ามรดกซึ่งทำไว้ฉบับแรกบางส่วนตามมาตรา 1694.
คดีที่มีจำเลยเป็นผู้จัดการมรดก. โจทก์ซึ่งเป็นทายาทฟ้องเรียกทรัพย์มรดกของเจ้ามรดกจากจำเลย. จำเลยจะยกอายุความมรดก 1 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1754 ขึ้นต่อสู้โจทก์หาได้ไม่. เพราะกฎหมายบัญญัติเรื่องอายุความเกี่ยวกับการจัดการมรดกที่ผู้จัดการมรดกจะต้องรับผิดต่อทายาทไว้โดยเฉพาะแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1733 วรรค 2 ซึ่งมีกำหนด 5 ปี. จำเลยมีสิทธิยกอายุความ 5 ปีนี้เท่านั้นขึ้นต่อสู้โจทก์.
จำเลยมิใช่บุคคลภายนอก. แต่เป็นผู้จัดการมรดก. ต้องถือว่าจำเลยยึดถือที่นามรดกไว้แทนโจทก์ซึ่งเป็นทายาท. จำเลยจะอ้างสิทธิว่าได้แย่งการครอบครองจากโจทก์มิได้. จะนำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1375 มาใช้บังคับไม่ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1109/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในทรัพย์มรดกและการทำสัญญาของผู้อำนาจปกครองเด็ก
จำเลยซึ่งเป็นน้องเจ้ามรดก ไม่มีสิทธิในทรัพย์มรดกของผู้ตาย จึงยกอายุความ 1 ปีขึ้นต่อสู้โจทก์ซึ่งเป็นบุตรของเจ้ามรดกไม่ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1755
ที่นาพิพาทเป็นทรัพย์ของเจ้ามรดกตกทอดได้แก่โจทก์ซึ่งเป็นบุตรกับมารดาเจ้ามรดก โจทก์ทั้งสามเป็นผู้เยาว์ มารดาโจทก์ไม่มีอำนาจทำสัญญาประนีประนอมยอมความเกี่ยวกับที่พิพาทได้โดยพลการ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1546 สัญญาประนีประนอมที่ ส.กับมารดาโจทก์ทำไว้ไม่มีผลบังคับแก่โจทก์ได้
ที่นาพิพาทเป็นทรัพย์ของเจ้ามรดกตกทอดได้แก่โจทก์ซึ่งเป็นบุตรกับมารดาเจ้ามรดก โจทก์ทั้งสามเป็นผู้เยาว์ มารดาโจทก์ไม่มีอำนาจทำสัญญาประนีประนอมยอมความเกี่ยวกับที่พิพาทได้โดยพลการ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1546 สัญญาประนีประนอมที่ ส.กับมารดาโจทก์ทำไว้ไม่มีผลบังคับแก่โจทก์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1109/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในทรัพย์มรดก, อายุความ, และผลของสัญญาประนีประนอมยอมความที่ทำโดยผู้ใช้อำนาจปกครองเด็ก
จำเลยซึ่งเป็นน้องเจ้ามรดก ไม่มีสิทธิในทรัพย์มรดกของผู้ตาย จึงยกอายุความ 1 ปีขึ้นต่อสู้โจทก์ซึ่งเป็นบุตรของเจ้ามรดกไม่ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1755
ที่นาพิพาทเป็นทรัพย์ของเจ้ามรดกตกทอดได้แก่โจทก์ซึ่งเป็นบุตรกับมารดาเจ้ามรดก โจทก์ทั้งสามเป็นผู้เยาว์ มารดาโจทก์ไม่มีอำนาจทำสัญญาประนีประนอมยอมความเกี่ยวกับที่พิพาทได้โดยพลการ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1546 สัญญาประนีประนอมยอมความ ส.กับมารดาโจทก์ทำไว้ไม่มีผลบังคับแก่โจทก์
ที่นาพิพาทเป็นทรัพย์ของเจ้ามรดกตกทอดได้แก่โจทก์ซึ่งเป็นบุตรกับมารดาเจ้ามรดก โจทก์ทั้งสามเป็นผู้เยาว์ มารดาโจทก์ไม่มีอำนาจทำสัญญาประนีประนอมยอมความเกี่ยวกับที่พิพาทได้โดยพลการ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1546 สัญญาประนีประนอมยอมความ ส.กับมารดาโจทก์ทำไว้ไม่มีผลบังคับแก่โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1109/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในมรดกและการทำสัญญาประนีประนอมของผู้อำนาจปกครองเด็ก
จำเลยซึ่งเป็นน้องเจ้ามรดก. ไม่มีสิทธิในทรัพย์มรดกของผู้ตาย. จึงยกอายุความ 1 ปีขึ้นต่อสู้โจทก์ซึ่งเป็นบุตรของเจ้ามรดกไม่ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1755.
ที่นาพิพาทเป็นทรัพย์ของเจ้ามรดกตกทอดได้แก่โจทก์ซึ่งเป็นบุตรกับมารดาเจ้ามรดก. โจทก์ทั้งสามเป็นผู้เยาว์. มารดาโจทก์ไม่มีอำนาจทำสัญญาประนีประนอมยอมความเกี่ยวกับที่พิพาทได้โดยพลการ. ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1546. สัญญาประนีประนอมที่ ส.กับมารดาโจทก์ทำไว้ไม่มีผลบังคับแก่โจทก์ได้.
ที่นาพิพาทเป็นทรัพย์ของเจ้ามรดกตกทอดได้แก่โจทก์ซึ่งเป็นบุตรกับมารดาเจ้ามรดก. โจทก์ทั้งสามเป็นผู้เยาว์. มารดาโจทก์ไม่มีอำนาจทำสัญญาประนีประนอมยอมความเกี่ยวกับที่พิพาทได้โดยพลการ. ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1546. สัญญาประนีประนอมที่ ส.กับมารดาโจทก์ทำไว้ไม่มีผลบังคับแก่โจทก์ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 543/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความการเรียกร้องมรดกตามพินัยกรรม: ผู้รับพินัยกรรมมีสิทธิฟ้องภายใน 1 ปี หากไม่มีผู้จัดการมรดก
โจทก์และจำเลยต่างเป็นผู้รับพินัยกรรม แต่โจทก์เป็นผู้ครอบครองมรดกแต่ผู้เดียว เมื่อจำเลยมิได้ฟ้องร้องคดีเพื่อเรียกร้องเอามรดกตามพินัยกรรมจนพ้นกำหนดหนึ่งปี นับแต่วันที่จำเลยรู้ถึงสิทธิซึ่งจำเลยมีอยู่ตามพินัยกรรมแล้ว โจทก์ย่อมกล่าวอ้างอายุความหนึ่งปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 วรรคสอง ขึ้นใช้ยันจำเลย และฟ้องขอให้ห้ามจำเลยมิให้คัดค้านการที่โจทก์ขอรับมรดกได้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1755 เป็นบทบัญญัติถึงเรื่องการใช้อายุความหนึ่งปีขึ้นต่อสู้ว่าต้องเป็นทายาท หรือบุคคลซึ่งชอบที่จะใช้สิทธิของทายาท หรือผู้จัดการมรดก โจทก์เป็นผู้รับพินัยกรรม จึงมีสิทธิกล่าวอ้างอายุความหนึ่งปีขึ้นใช้ยันจำเลยซึ่งเป็นผู้รับพินัยกรรมด้วยกันได้
ที่ดินมรดกมีหลายแปลง มีข้อกำหนดตามพินัยกรรมในเรื่องผู้จัดการมรดกเฉพาะที่ดินที่พิพาทกับผู้มีชื่อ โดยไม่ได้ระบุว่าที่ดินแปลงใดอันจะเป็นมรดกที่มีผู้จัดการซึ่งมีสิทธิฟ้องเรียกเอาได้เกินหนึ่งปี เมื่อจำเลยจะอ้างประโยชน์จากอายุความเพราะเหตุนี้ ภาระการพิสูจน์ย่อมตกแก่จำเลย
ที่ดินมรดกหลายแปลง แปลงใดที่พินัยกรรมมิได้กำหนดให้มีผู้จัดการมรดก ผู้รับพินัยกรรมจะฟ้องเรียกเอาเกินกว่าหนึ่งปีไม่ได้
โจทก์ซึ่งเป็นผู้รับพินัยกรรมครอบครองที่ดินมรดกมาแต่ผู้เดียวเกินกว่าหนึ่งปี ฟ้องขอให้ห้ามจำเลยมิให้เกี่ยวข้องกับมรดก จำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่ามรดกรายนี้มีผู้จัดการอันจะทำให้มีสิทธิฟ้องร้องเกินหนึ่งปีได้ ประเด็นนี้จึงไม่เป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากล่าวกันมาแล้วในศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ไม่มีอำนาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัย เพราะเป็นเรื่องนอกประเด็น
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1755 เป็นบทบัญญัติถึงเรื่องการใช้อายุความหนึ่งปีขึ้นต่อสู้ว่าต้องเป็นทายาท หรือบุคคลซึ่งชอบที่จะใช้สิทธิของทายาท หรือผู้จัดการมรดก โจทก์เป็นผู้รับพินัยกรรม จึงมีสิทธิกล่าวอ้างอายุความหนึ่งปีขึ้นใช้ยันจำเลยซึ่งเป็นผู้รับพินัยกรรมด้วยกันได้
ที่ดินมรดกมีหลายแปลง มีข้อกำหนดตามพินัยกรรมในเรื่องผู้จัดการมรดกเฉพาะที่ดินที่พิพาทกับผู้มีชื่อ โดยไม่ได้ระบุว่าที่ดินแปลงใดอันจะเป็นมรดกที่มีผู้จัดการซึ่งมีสิทธิฟ้องเรียกเอาได้เกินหนึ่งปี เมื่อจำเลยจะอ้างประโยชน์จากอายุความเพราะเหตุนี้ ภาระการพิสูจน์ย่อมตกแก่จำเลย
ที่ดินมรดกหลายแปลง แปลงใดที่พินัยกรรมมิได้กำหนดให้มีผู้จัดการมรดก ผู้รับพินัยกรรมจะฟ้องเรียกเอาเกินกว่าหนึ่งปีไม่ได้
โจทก์ซึ่งเป็นผู้รับพินัยกรรมครอบครองที่ดินมรดกมาแต่ผู้เดียวเกินกว่าหนึ่งปี ฟ้องขอให้ห้ามจำเลยมิให้เกี่ยวข้องกับมรดก จำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่ามรดกรายนี้มีผู้จัดการอันจะทำให้มีสิทธิฟ้องร้องเกินหนึ่งปีได้ ประเด็นนี้จึงไม่เป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากล่าวกันมาแล้วในศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ไม่มีอำนาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัย เพราะเป็นเรื่องนอกประเด็น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 360/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลบังคับใช้ของสัญญาแบ่งทรัพย์มรดกและการครอบครองทรัพย์สินตามสัญญา
สัญญาแบ่งทรัพย์มรดกมีผลบังคับได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1750.
ฟ้องบรรยายว่าบรรดาทายาทนำพินัยกรรมไปให้เจ้าพนักงานอำเภอเปิดและยินยอมทำบันทึกประนีประนอมแบ่งทรัพย์ตามพินัยกรรมระหว่างทายาท โจทก์ได้ที่ดินแปลงพิพาท ขอให้ศาลพิพากษาว่าที่พิพาทเป็นของโจทก์. ดังนี้ เป็นการฟ้องขอให้ศาลแสดงว่าที่พิพาทเป็นของโจทก์ตามสัญญาแบ่งทรัพย์. และเมื่อทำสัญญาแล้ว โจทก์ก็ครอบครองที่พิพาทตลอดมา. เมื่อโจทก์ไม่ได้ฟ้องขอแบ่งมรดก. จำเลยจึงอ้างเอาอายุความมรดกมาบังคับแก่คดีไม่ได้.
ฟ้องบรรยายว่าบรรดาทายาทนำพินัยกรรมไปให้เจ้าพนักงานอำเภอเปิดและยินยอมทำบันทึกประนีประนอมแบ่งทรัพย์ตามพินัยกรรมระหว่างทายาท โจทก์ได้ที่ดินแปลงพิพาท ขอให้ศาลพิพากษาว่าที่พิพาทเป็นของโจทก์. ดังนี้ เป็นการฟ้องขอให้ศาลแสดงว่าที่พิพาทเป็นของโจทก์ตามสัญญาแบ่งทรัพย์. และเมื่อทำสัญญาแล้ว โจทก์ก็ครอบครองที่พิพาทตลอดมา. เมื่อโจทก์ไม่ได้ฟ้องขอแบ่งมรดก. จำเลยจึงอ้างเอาอายุความมรดกมาบังคับแก่คดีไม่ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 360/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาแบ่งทรัพย์มรดกมีผลผูกพันตามกฎหมาย และการครอบครองทรัพย์ตามสัญญาไม่ขาดอายุความ
สัญญาแบ่งทรัพย์มรดกมีผลบังคับได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1750
ฟ้องบรรยายว่าบรรดาทายาทนำพินัยกรรมไปให้เจ้าพนักงานอำเภอเปิดและยินยอมทำบันทึกประนีประนอมแบ่งทรัพย์ตามพินัยกรรมระหว่างทายาท โจทก์ได้ที่ดินแปลงพิพาท ขอให้ศาลพิพากษาว่าที่พิพาทเป็นของโจทก์ดังนี้ เป็นการฟ้องขอให้ศาลแสดงว่าที่พิพาทเป็นของโจทก์ตามสัญญาแบ่งทรัพย์และเมื่อทำสัญญาแล้ว โจทก์ก็ครอบครองที่พิพาทตลอดมา เมื่อโจทก์ไม่ได้ฟ้องขอแบ่งมรดกจำเลยจึงอ้างเอาอายุความมรดกมาบังคับแก่คดีไม่ได้
ฟ้องบรรยายว่าบรรดาทายาทนำพินัยกรรมไปให้เจ้าพนักงานอำเภอเปิดและยินยอมทำบันทึกประนีประนอมแบ่งทรัพย์ตามพินัยกรรมระหว่างทายาท โจทก์ได้ที่ดินแปลงพิพาท ขอให้ศาลพิพากษาว่าที่พิพาทเป็นของโจทก์ดังนี้ เป็นการฟ้องขอให้ศาลแสดงว่าที่พิพาทเป็นของโจทก์ตามสัญญาแบ่งทรัพย์และเมื่อทำสัญญาแล้ว โจทก์ก็ครอบครองที่พิพาทตลอดมา เมื่อโจทก์ไม่ได้ฟ้องขอแบ่งมรดกจำเลยจึงอ้างเอาอายุความมรดกมาบังคับแก่คดีไม่ได้