พบผลลัพธ์ทั้งหมด 717 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5680/2530 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์หลังมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด: สิทธิในการดำเนินคดีแทนลูกหนี้
โจทก์ซึ่งเป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาของศาลแรงงานกลางนำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดทรัพย์สินของจำเลยไว้ก่อน แล้ว หลังจากนั้น จำเลยถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2530 ครั้นวันที่ 29 มิถุนายน 2530 เจ้าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดทรัพย์ที่โจทก์นำยึดตามคำสั่งศาล เช่นนี้ จำเลยจะร้องคัดค้านการขายทอดตลาดทรัพย์ดังกล่าวไม่ได้ อำนาจในการดำเนินคดีย่อมตกแก่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แต่ผู้เดียวตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483 มาตรา 22
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มาศาลในวันที่ศาลนัดไต่สวนคำร้องของจำเลยที่ขอคัดค้านการขายทอดตลาดทรัพย์ เมื่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เป็นผู้มีอำนาจดำเนินคดีแทนจำเลย ย่อมมีอำนาจจะคุ้มครองป้องกันสิทธิของจำเลยทุกประการ ศาลจึงไม่มีหน้าที่จะต้องสอบถามเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ว่า ประสงค์จะดำเนินคดีต่อไปหรือไม่
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มาศาลในวันที่ศาลนัดไต่สวนคำร้องของจำเลยที่ขอคัดค้านการขายทอดตลาดทรัพย์ เมื่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เป็นผู้มีอำนาจดำเนินคดีแทนจำเลย ย่อมมีอำนาจจะคุ้มครองป้องกันสิทธิของจำเลยทุกประการ ศาลจึงไม่มีหน้าที่จะต้องสอบถามเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ว่า ประสงค์จะดำเนินคดีต่อไปหรือไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5680/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจดำเนินคดีตกแก่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เมื่อศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์ ลูกหนี้หมดอำนาจ
โจทก์ซึ่งเป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาของศาลแรงงานกลางนำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดทรัพย์สินของจำเลยไว้ ต่อมาวันที่ 25มิถุนายน 2530 จำเลยถูกศาลแพ่งสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด ครั้นวันที่29 มิถุนายน 2530 เจ้าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดทรัพย์ที่ยึดเช่นนี้ จำเลยจะร้องคัดค้านการขายทอดตลาดทรัพย์ดังกล่าวไม่ได้อำนาจในการดำเนินคดีย่อมตก แก่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ตาม พ.ร.บ.ล้มละลาย พุทธศักราช 2483 มาตรา 22 เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มาศาลในวันนัดไต่สวนคำร้อง ของจำเลยที่ขอคัดค้านการขายทอดตลาดทรัพย์ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ย่อมมีอำนาจคุ้มครองป้องกันสิทธิของจำเลย ศาลจึงไม่มีหน้าที่ต้องสอบถามเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ว่า ประสงค์จะดำเนินคดีต่อไปหรือไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5680/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจดำเนินคดีหลังศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์: เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีอำนาจคุ้มครองสิทธิจำเลยแต่ผู้เดียว
โจทก์ซึ่งเป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาของศาลแรงงานกลางนำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดทรัพย์สินของจำเลยไว้ก่อนแล้ว หลังจากนั้น จำเลยถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด เมื่อวันที่ 25มิถุนายน 2530 ครั้นวันที่ 29 มิถุนายน 2530 เจ้าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดทรัพย์ที่โจทก์นำยึดตามคำสั่งศาล เช่นนี้ จำเลยจะร้องคัดค้านการขายทอดตลาดทรัพย์ดังกล่าวไม่ได้ อำนาจในการดำเนินคดีย่อมตกแก่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แต่ผู้เดียวตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483 มาตรา 22
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มาศาลในวันที่ศาลนัดไต่สวนคำร้องของจำเลยที่ขอคัดค้านการขายทอดตลาดทรัพย์ เมื่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เป็นผู้มีอำนาจดำเนินคดีแทนจำเลย ย่อมมีอำนาจจะคุ้มครองป้องกันสิทธิของจำเลยทุกประการ ศาลจึงไม่มีหน้าที่จะต้องสอบถามเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ว่า ประสงค์จะดำเนินคดีต่อไปหรือไม่.
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มาศาลในวันที่ศาลนัดไต่สวนคำร้องของจำเลยที่ขอคัดค้านการขายทอดตลาดทรัพย์ เมื่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เป็นผู้มีอำนาจดำเนินคดีแทนจำเลย ย่อมมีอำนาจจะคุ้มครองป้องกันสิทธิของจำเลยทุกประการ ศาลจึงไม่มีหน้าที่จะต้องสอบถามเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ว่า ประสงค์จะดำเนินคดีต่อไปหรือไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1897/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนการโอนทรัพย์สินหลังศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ การโอนหลังมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เป็นโมฆะ
การที่ลูกหนี้ (จำเลย) ในฐานะผู้จัดการมรดกของ พ. ซึ่งเป็นสามีมิได้จดทะเบียนสมรสกันมอบอำนาจให้ ส. ขายที่ดินและบ้านพิพาททั้งส่วนที่เป็นมรดกของ พ. และส่วนที่เป็นของตนให้แก่ผู้คัดค้านขณะที่ศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้(จำเลย) แล้ว สัญญาซื้อขายระหว่างลูกหนี้ (จำเลย) กับผู้คัดค้านเฉพาะที่เกี่ยวกับทรัพย์พิพาทอันเป็นส่วนของลูกหนี้ (จำเลย) ย่อมเป็นนิติกรรมอันฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติ มาตรา 22, 24 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483 ตกเป็นโมฆะ ไม่มีผลบังคับ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีอำนาจขอให้ศาลเพิกถอนการโอนทรัพย์พิพาทอันเป็นส่วนของลูกหนี้ (จำเลย) เสียได้ และเมื่อนิติกรรมดังกล่าวตกเป็นโมฆะแล้ว คู่สัญญาคือลูกหนี้ (จำเลย) ผู้ขายและผู้คัดค้านผู้ซื้อย่อมกลับคืนสู่ฐานะเดิมโดยผลแห่งกฎหมายไม่มีความจำเป็นที่จะต้องสั่งให้มีการชดใช้เงินในกรณีที่ไม่สามารถกลับคืนสู่ฐานะเดิมอีกและถึงแม้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ได้ขอให้เพิกถอนการโอนโดยอ้าง มาตรา 114 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483 มาด้วย และผู้คัดค้านอ้างว่าได้รับโอนทรัพย์พิพาทมาโดยสุจริตและมีค่าตอบแทน เมื่อได้ความว่าลูกหนี้ (จำเลย) โอนทรัพย์ให้ผู้คัดค้านหลังจากศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ลูกหนี้ (จำเลย) เด็ดขาดแล้วก็ต้องปรับตามมาตรา 24 เพราะคำว่า การโอนทรัพย์สินหรือกระทำใด ๆ เกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนี้ ซึ่งลูกหนี้ได้กระทำหรือยินยอมให้กระทำในระหว่างระยะเวลาสามปีก่อนมีการขอให้ล้มละลายและภายหลังนั้น หมายถึงการโอนที่กระทำกันก่อนศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์หาใช่การโอนที่กระทำกันหลังจากศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ลูกหนี้ (จำเลย) ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1897/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนการโอนทรัพย์หลังศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ในคดีล้มละลาย
การที่ลูกหนี้ (จำเลย) ในฐานะผู้จัดการมรดกของ พ. ซึ่งเป็นสามีมิได้จดทะเบียนสมรสกันมอบอำนาจให้ ส. ขายที่ดินและบ้านพิพาททั้งส่วนที่เป็นมรดกของ พ. และส่วนที่เป็นของตนให้แก่ผู้คัดค้านขณะที่ศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้(จำเลย) แล้ว สัญญาซื้อขายระหว่างลูกหนี้ (จำเลย) กับผู้คัดค้านเฉพาะที่เกี่ยวกับทรัพย์พิพาทอันเป็นส่วนของลูกหนี้ (จำเลย)ย่อมเป็นนิติกรรมอันฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติมาตรา 22,24 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483 ตกเป็นโมฆะ ไม่มีผลบังคับ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีอำนาจขอให้ศาลเพิกถอนการโอนทรัพย์พิพาทอันเป็นส่วนของลูกหนี้ (จำเลย) เสียได้ และเมื่อนิติกรรมดังกล่าวตกเป็นโมฆะแล้ว คู่สัญญาคือลูกหนี้(จำเลย) ผู้ขายและผู้คัดค้านผู้ซื้อย่อมกลับคืนสู่ฐานะเดิมโดยผลแห่งกฎหมายไม่มีความจำเป็นที่จะต้องสั่งให้มีการชดใช้เงินในกรณีที่ไม่สามารถกลับคืนสู่ฐานะเดิมอีกและถึงแม้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ได้ขอให้เพิกถอนการโอนโดยอ้างมาตรา 114 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483 มาด้วยและผู้คัดค้านอ้างว่าได้รับโอนทรัพย์พิพาทมาโดยสุจริตและมีค่าตอบแทน เมื่อได้ความว่าลูกหนี้ (จำเลย) โอนทรัพย์ให้ผู้คัดค้านหลังจากศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ลูกหนี้ (จำเลย)เด็ดขาดแล้วก็ต้องปรับตามมาตรา 24 เพราะคำว่า การโอนทรัพย์สินหรือกระทำใด ๆ เกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนี้ ซึ่งลูกหนี้ได้กระทำหรือยินยอมให้กระทำในระหว่างระยะเวลาสามปีก่อนมีการขอให้ล้มละลายและภายหลังนั้น หมายถึงการโอนที่กระทำกันก่อนศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์หาใช่การโอนที่กระทำกันหลังจากศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ลูกหนี้ (จำเลย) ไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 939/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ตัวแทนเชิดและการรับผิดในสัญญาซื้อขายลดเช็ค กรณีจำเลยล้มละลาย
โจทก์ฎีกาคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ที่ยกฟ้อง ในระหว่างพิจารณาของศาลฎีกา จำเลยถูกพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด อำนาจการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีแพ่งต่อไปย่อมเป็นของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 25 แต่เมื่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่ขอเข้าว่าคดีหรือมีคำขอให้จำหน่ายคดีก็ต้องดำเนินกระบวนพิจารณาต่อไป แม้จำเลยจะขอให้จำหน่ายคดี และโจทก์ไม่ค้านก็ตาม
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 2 กระทำการแทนจำเลยที่ 1 ในฐานะที่เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยที่2 เป็นตัวแทนเชิดศาลก็ย่อมวินิจฉัยให้จำเลยที่ 1 รับผิดในการกระทำของจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นตัวแทนเชิดได้เพราะความรับผิดของตัวแทนกับตัวแทนเชิดมีลักษณะอย่างเดียวกัน ไม่เป็นการนอกฟ้องนอกประเด็น
การที่จำเลยที่ 5 ซึ่งเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการของจำเลยที่ 1ยอมให้จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นเพียงหุ้นส่วนจำกัดความรับผิดของจำเลยที่ 1 ลงลายมือชื่อในสัญญาขายลดเช็คกับโจทก์ในฐานะเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ และประทับตราจำเลยที่ 1 ในสัญญาดังกล่าวถือได้ว่าจำเลยที่ 1 โดยจำเลยที่ 5 ได้เชิดจำเลยที่ 2 หรือยอมให้จำเลยที่ 2 เชิดตนเองเป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1จึงต้องรับผิดตามสัญญาขายลดเช็คต่อโจทก์ผู้สุจริตเสมือนว่าจำเลยที่ 2 เป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1.
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 2 กระทำการแทนจำเลยที่ 1 ในฐานะที่เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยที่2 เป็นตัวแทนเชิดศาลก็ย่อมวินิจฉัยให้จำเลยที่ 1 รับผิดในการกระทำของจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นตัวแทนเชิดได้เพราะความรับผิดของตัวแทนกับตัวแทนเชิดมีลักษณะอย่างเดียวกัน ไม่เป็นการนอกฟ้องนอกประเด็น
การที่จำเลยที่ 5 ซึ่งเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการของจำเลยที่ 1ยอมให้จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นเพียงหุ้นส่วนจำกัดความรับผิดของจำเลยที่ 1 ลงลายมือชื่อในสัญญาขายลดเช็คกับโจทก์ในฐานะเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ และประทับตราจำเลยที่ 1 ในสัญญาดังกล่าวถือได้ว่าจำเลยที่ 1 โดยจำเลยที่ 5 ได้เชิดจำเลยที่ 2 หรือยอมให้จำเลยที่ 2 เชิดตนเองเป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1จึงต้องรับผิดตามสัญญาขายลดเช็คต่อโจทก์ผู้สุจริตเสมือนว่าจำเลยที่ 2 เป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 939/2530 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ตัวแทนเชิด-ความรับผิดของห้างหุ้นส่วนจำกัด: การขยายความรับผิดจากตัวแทนไปยังห้างหุ้นส่วนและผู้ค้ำประกัน
โจทก์ฎีกาคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ที่ยกฟ้อง ในระหว่างพิจารณาของศาลฎีกา จำเลยถูกพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด อำนาจการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีแพ่งต่อไปย่อมเป็นของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ตามพระราชบัญญัติ ล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 25 แต่เมื่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่ขอเข้าว่าคดีหรือมีคำขอให้จำหน่ายคดีก็ต้องดำเนินกระบวนพิจารณาต่อไป แม้จำเลยจะขอให้จำหน่ายคดี และโจทก์ไม่ค้านก็ตาม
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 2 กระทำการแทนจำเลยที่ 1 ในฐานะที่เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยที่ 2 เป็นตัวแทนเชิดศาลก็ย่อมวินิจฉัยให้จำเลยที่ 1 รับผิดในการกระทำของจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นตัวแทนเชิดได้เพราะความรับผิดของตัวแทนกับตัวแทนเชิดมีลักษณะอย่างเดียวกัน ไม่เป็นการนอกฟ้องนอกประเด็น
การที่จำเลยที่ 5 ซึ่งเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการของจำเลยที่ 1 ยอมให้จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นเพียงหุ้นส่วนจำกัดความรับผิดของจำเลยที่ 1 ลงลายมือชื่อในสัญญาขายลดเช็คกับโจทก์ในฐานะเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ และประทับตราจำเลยที่ 1 ในสัญญาดังกล่าวถือได้ว่าจำเลยที่ 1 โดยจำเลยที่ 5 ได้เชิดจำเลยที่ 2 หรือยอมให้จำเลยที่ 2 เชิดตนเองเป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 จึงต้องรับผิดตามสัญญาขายลดเช็คต่อโจทก์ผู้สุจริตเสมือนว่าจำเลยที่ 2 เป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1.
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 2 กระทำการแทนจำเลยที่ 1 ในฐานะที่เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยที่ 2 เป็นตัวแทนเชิดศาลก็ย่อมวินิจฉัยให้จำเลยที่ 1 รับผิดในการกระทำของจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นตัวแทนเชิดได้เพราะความรับผิดของตัวแทนกับตัวแทนเชิดมีลักษณะอย่างเดียวกัน ไม่เป็นการนอกฟ้องนอกประเด็น
การที่จำเลยที่ 5 ซึ่งเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการของจำเลยที่ 1 ยอมให้จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นเพียงหุ้นส่วนจำกัดความรับผิดของจำเลยที่ 1 ลงลายมือชื่อในสัญญาขายลดเช็คกับโจทก์ในฐานะเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ และประทับตราจำเลยที่ 1 ในสัญญาดังกล่าวถือได้ว่าจำเลยที่ 1 โดยจำเลยที่ 5 ได้เชิดจำเลยที่ 2 หรือยอมให้จำเลยที่ 2 เชิดตนเองเป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 จึงต้องรับผิดตามสัญญาขายลดเช็คต่อโจทก์ผู้สุจริตเสมือนว่าจำเลยที่ 2 เป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 760/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คดีล้มละลาย: เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีอำนาจจัดการทรัพย์สินหลังศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด
ในคดีล้มละลาย เมื่อศาลชั้นต้นมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของจำเลยเด็ดขาดแล้ว ก็เป็นอำนาจของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ที่จะเข้าจัดการทรัพย์สินของจำเลยต่อไปตามวิธีการที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติล้มละลาย จำเลยจะมาขอทุเลาการบังคับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 231 ดังเช่นคดีแพ่งธรรมดาหาได้ไม่. (อ้างคำสั่งคำร้องที่ 112/2518)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 299/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนการโอนทรัพย์สินหลังยกเลิกการล้มละลาย: ศาลขาดอำนาจเมื่อลูกหนี้พ้นสภาพ
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ร้องขอให้ศาลสั่งเพิกถอนการโอนที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างซึ่งลูกหนี้ (จำเลย)โอนขายให้ผู้คัดค้าน ศาลชั้นต้นพิพากษายกคำร้องโดยศาลอุทธรณ์พิพากษายืนและผู้ร้องฎีกา ในระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกาปรากฏว่าศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้ยกเลิกการล้มละลายของลูกหนี้ (จำเลย) ดังนี้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่มีอำนาจจัดกิจการและทรัพย์สินแทนลูกหนี้ (จำเลย) ต่อไปลูกหนี้ (จำเลย) พ้นจากภาวะการเป็นบุคคลล้มละลายแล้วเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จึงไม่มีอำนาจตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483 มาตรา 22,24 และ 114 ที่จะขอให้ศาลเพิกถอนการโอนดังกล่าวได้ ต้องจำหน่ายคดีของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เสียจากสารบบความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 299/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสิ้นสุดอำนาจเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์หลังการยกเลิกการล้มละลาย และผลกระทบต่อการเพิกถอนการโอนทรัพย์สิน
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ร้องขอให้ศาลสั่งเพิกถอนการโอนที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างซึ่งลูกหนี้ (จำเลย)โอนขายให้ผู้คัดค้าน ศาลชั้นต้นพิพากษายกคำร้องโดยศาลอุทธรณ์พิพากษายืนและผู้ร้องฎีกา ในระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกาปรากฏว่าศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้ยกเลิกการล้มละลายของลูกหนี้ (จำเลย) ดังนี้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่มีอำนาจจัดกิจการและทรัพย์สินแทนลูกหนี้ (จำเลย) ต่อไปลูกหนี้ (จำเลย) พ้นจากภาวะการเป็นบุคคลล้มละลายแล้วเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จึงไม่มีอำนาจตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483 มาตรา 22,24 และ 114 ที่จะขอให้ศาลเพิกถอนการโอนดังกล่าวได้ ต้องจำหน่ายคดีของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เสียจากสารบบความ