พบผลลัพธ์ทั้งหมด 28 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 67/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับผิดของผู้ค้ำประกันร่วมกันในหนี้จำกัดวงเงิน และการคิดดอกเบี้ยเมื่อผิดนัดชำระ
ฎีกาของโจทก์แม้จะวินิจฉัยให้ก็ไม่เป็นประโยชน์แก่โจทก์จึงเป็นฎีกาที่ไม่เป็นสาระตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249 ศาลฎีกาไม่จำต้องวินิจฉัยให้ จำเลยที่ 1 ทำสัญญารับชำระหนี้ให้แก่โจทก์จำนวน 500,000 บาทโดยมีจำเลยที่ 2 ที่ 3 และที่ 4 ต่างทำสัญญาค้ำประกันการชำระหนี้ในวงเงินดังกล่าวให้ไว้แก่โจทก์คนละฉบับ ดังนี้ เป็นกรณีที่บุคคลหลายคนยอมเข้าเป็นผู้ค้ำประกันในหนี้รายเดียวกัน ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 682 ซึ่งผู้ค้ำประกันจะต้องรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วม หาใช่แยกความรับผิดกันไม่ กรณีดังกล่าวแม้หนี้ของจำเลยที่ 1 จะมีจำนวนเกินกว่า500,000 บาท จำเลยอื่นซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันหาต้องรับผิดในเรื่องดอกเบี้ยตามสัญญารับชำระหนี้ในส่วนที่เกินกว่า 500,000 บาทไม่แต่ถ้าผิดนัดต้องรับผิดชดใช้ดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปีนับแต่วันผิดนัด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 367/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความค้ำประกัน, ความรับผิดของผู้ค้ำประกันร่วม, การปลดหนี้เฉพาะส่วนไม่กระทบความรับผิดของผู้ค้ำประกันอื่น
ค้ำประกัน ไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้ว่ามีกำหนดอายุความเท่าใด. จึงมีกำหนดอายุความสิบปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164.
การบรรยายฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม.
จำเลยที่ 1 ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคารโจทก์โดยมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันหนี้อัตราหนึ่ง. ต่อมาจำเลยที่ 3 ได้เข้าค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีของจำเลยที่1 อีกอัตราหนึ่ง. ดังนี้ หาทำให้จำเลยที่ 2 พ้นความรับผิดต่อโจทก์ไม่.
จำเลยที่ 2 ที่ 3 มีความรับผิดต่อโจทก์ในฐานะผู้ค้ำประกันการที่จำเลยที่ 1 เบิกเงินเกินบัญชีอันเป็นบัญชีเดียวกัน. จำเลยทั้งสองจึงต้องรับผิดอยู่ตามจำนวนที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้ภายในจำนวนที่จำเลยที่ 2 และที่ 3 ค้ำประกันไว้. แม้โจทก์ยอมรับการชำระหนี้จากจำเลยที่ 3 จำนวนหนึ่งและปลดหนี้ให้โดยการถอนฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 3 เสียนั้น. ก็หาใช่เป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2จนถึงกับให้จำเลยที่ 2 หลุดพ้นความรับผิดไปด้วยไม่.เพราะหนี้รายนี้ยังมิได้ชำระโดยสิ้นเชิง. การปลดหนี้ดังกล่าวคงเป็นประโยชน์เพียงเท่าส่วนที่ได้ปลดไปเท่านั้น.
ปัญหาว่าบริษัทจำเลยไม่มีวัตถุประสงค์ค้ำประกันหนี้. หากไปประกันหนี้จะต้องรับผิดหรือไม่. มิใช่ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน.
การบรรยายฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม.
จำเลยที่ 1 ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคารโจทก์โดยมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันหนี้อัตราหนึ่ง. ต่อมาจำเลยที่ 3 ได้เข้าค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีของจำเลยที่1 อีกอัตราหนึ่ง. ดังนี้ หาทำให้จำเลยที่ 2 พ้นความรับผิดต่อโจทก์ไม่.
จำเลยที่ 2 ที่ 3 มีความรับผิดต่อโจทก์ในฐานะผู้ค้ำประกันการที่จำเลยที่ 1 เบิกเงินเกินบัญชีอันเป็นบัญชีเดียวกัน. จำเลยทั้งสองจึงต้องรับผิดอยู่ตามจำนวนที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้ภายในจำนวนที่จำเลยที่ 2 และที่ 3 ค้ำประกันไว้. แม้โจทก์ยอมรับการชำระหนี้จากจำเลยที่ 3 จำนวนหนึ่งและปลดหนี้ให้โดยการถอนฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 3 เสียนั้น. ก็หาใช่เป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2จนถึงกับให้จำเลยที่ 2 หลุดพ้นความรับผิดไปด้วยไม่.เพราะหนี้รายนี้ยังมิได้ชำระโดยสิ้นเชิง. การปลดหนี้ดังกล่าวคงเป็นประโยชน์เพียงเท่าส่วนที่ได้ปลดไปเท่านั้น.
ปัญหาว่าบริษัทจำเลยไม่มีวัตถุประสงค์ค้ำประกันหนี้. หากไปประกันหนี้จะต้องรับผิดหรือไม่. มิใช่ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 367/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความค้ำประกัน - ความรับผิดของผู้ค้ำประกันร่วม - การปลดหนี้เฉพาะบางส่วนไม่กระทบความรับผิดของผู้อื่น
ค้ำประกัน ไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้ว่ามีกำหนดอายุความเท่าใดจึงมีกำหนดอายุความสิบปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
การบรรยายฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม
จำเลยที่ 1 ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคารโจทก์โดยมี
จำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันหนี้อัตราหนึ่ง ต่อมาจำเลยที่ 3 ได้เข้าค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีของจำเลยที่1 อีกอัตราหนึ่งดังนี้หาทำให้จำเลยที่ 2 พ้นความรับผิดต่อโจทก์ไม่
จำเลยที่ 2 ที่ 3 มีความรับผิดต่อโจทก์ในฐานะผู้ค้ำประกันการที่จำเลยที่ 1 เบิกเงินเกินบัญชีอันเป็นบัญชีเดียวกัน จำเลยทั้งสองจึงต้องรับผิดอยู่ตามจำนวนที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้ภายในจำนวนที่จำเลยที่ 2 และที่ 3 ค้ำประกันไว้ แม้โจทก์ยอมรับการชำระหนี้จากจำเลยที่ 3 จำนวนหนึ่งและปลดหนี้ให้โดยการถอนฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 3 เสียนั้นก็หาใช่เป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 จนถึงกับให้จำเลยที่ 2 หลุดพ้นความรับผิดไปด้วยไม่เพราะหนี้รายนี้ยังมิได้ชำระโดยสิ้นเชิงการปลดหนี้ดังกล่าวคงเป็นประโยชน์เพียงเท่าส่วนที่ได้ปลดไปเท่านั้น
ปัญหาว่าบริษัทจำเลยไม่มีวัตถุประสงค์ค้ำประกันหนี้หากไปประกันหนี้จะต้องรับผิดหรือไม่มิใช่ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
การบรรยายฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม
จำเลยที่ 1 ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคารโจทก์โดยมี
จำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันหนี้อัตราหนึ่ง ต่อมาจำเลยที่ 3 ได้เข้าค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีของจำเลยที่1 อีกอัตราหนึ่งดังนี้หาทำให้จำเลยที่ 2 พ้นความรับผิดต่อโจทก์ไม่
จำเลยที่ 2 ที่ 3 มีความรับผิดต่อโจทก์ในฐานะผู้ค้ำประกันการที่จำเลยที่ 1 เบิกเงินเกินบัญชีอันเป็นบัญชีเดียวกัน จำเลยทั้งสองจึงต้องรับผิดอยู่ตามจำนวนที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้ภายในจำนวนที่จำเลยที่ 2 และที่ 3 ค้ำประกันไว้ แม้โจทก์ยอมรับการชำระหนี้จากจำเลยที่ 3 จำนวนหนึ่งและปลดหนี้ให้โดยการถอนฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 3 เสียนั้นก็หาใช่เป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 จนถึงกับให้จำเลยที่ 2 หลุดพ้นความรับผิดไปด้วยไม่เพราะหนี้รายนี้ยังมิได้ชำระโดยสิ้นเชิงการปลดหนี้ดังกล่าวคงเป็นประโยชน์เพียงเท่าส่วนที่ได้ปลดไปเท่านั้น
ปัญหาว่าบริษัทจำเลยไม่มีวัตถุประสงค์ค้ำประกันหนี้หากไปประกันหนี้จะต้องรับผิดหรือไม่มิใช่ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 367/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความค้ำประกัน, ความรับผิดของผู้ค้ำประกันร่วม, การปลดหนี้เฉพาะส่วนไม่กระทบความรับผิดของผู้อื่น
ค้ำประกัน ไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้ว่ามีกำหนดอายุความเท่าใด จึงมีกำหนดอายุความสิบปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
การบรรยายฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม
จำเลยที่ 1 ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคารโจทก์โดยมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันหนี้อัตราหนึ่ง ต่อมาจำเลยที่ 3 ได้เข้าค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีของจำเลยที่ 1 อีกอัตราหนึ่ง ดังนี้ หาทำให้จำเลยที่ 2 พ้นความรับผิดต่อโจทก์ไม่
จำเลยที่ 2 ที่ 3 มีความรับผิดต่อโจทก์ ในฐานะผู้ค้ำประกันการที่จำเลยที่ 1 เบิกเงินเกินบัญชีอันเป็นบัญชีเดียวกัน จำเลยทั้งสองจึงต้องรับผิดอยู่ตามจำนวนที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้ภายในจำนวนที่จำเลยที่ 2 และที่ 3 ค้ำประกันไว้ แม้โจทก์ยอมรับการชำระหนี้จากจำเลยที่ 3 จำนวนหนึ่งและปลดหนี้ให้โดยการถอนฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 3 เสียนั้น ก็หาใช่เป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 จนถึงกับให้จำเลยที่ 2 หลุดพ้นความรับผิดไปด้วยไม่ เพราะหนี้รายนี้ยังมิได้ชำระโดยสิ้นเชิง การปลดหนี้ดังกล่าวคงเป็นประโยชน์เพียงเท่าส่วนที่ได้ปลดไปเท่านั้น
ปัญหาว่าบริษัทจำเลยไม่มีวัตถุประสงค์ค้ำประกันหนี้ หากไปประกันหนี้จะต้องรับผิดหรือไม่ มิใช่ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
การบรรยายฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม
จำเลยที่ 1 ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคารโจทก์โดยมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันหนี้อัตราหนึ่ง ต่อมาจำเลยที่ 3 ได้เข้าค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีของจำเลยที่ 1 อีกอัตราหนึ่ง ดังนี้ หาทำให้จำเลยที่ 2 พ้นความรับผิดต่อโจทก์ไม่
จำเลยที่ 2 ที่ 3 มีความรับผิดต่อโจทก์ ในฐานะผู้ค้ำประกันการที่จำเลยที่ 1 เบิกเงินเกินบัญชีอันเป็นบัญชีเดียวกัน จำเลยทั้งสองจึงต้องรับผิดอยู่ตามจำนวนที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้ภายในจำนวนที่จำเลยที่ 2 และที่ 3 ค้ำประกันไว้ แม้โจทก์ยอมรับการชำระหนี้จากจำเลยที่ 3 จำนวนหนึ่งและปลดหนี้ให้โดยการถอนฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 3 เสียนั้น ก็หาใช่เป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 จนถึงกับให้จำเลยที่ 2 หลุดพ้นความรับผิดไปด้วยไม่ เพราะหนี้รายนี้ยังมิได้ชำระโดยสิ้นเชิง การปลดหนี้ดังกล่าวคงเป็นประโยชน์เพียงเท่าส่วนที่ได้ปลดไปเท่านั้น
ปัญหาว่าบริษัทจำเลยไม่มีวัตถุประสงค์ค้ำประกันหนี้ หากไปประกันหนี้จะต้องรับผิดหรือไม่ มิใช่ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 359/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผู้ค้ำประกันร่วมกันมีสิทธิไล่เบี้ยกันได้ตามหลักทั่วไป
ผู้ค้ำประกันร่วมกัน 2 คน เมื่อผู้ค้ำประกันคนหนึ่งได้ชำระหนี้ทั้งหมดแทนลูกหนี้ไป ย่อมรับช่วงสิทธิของเจ้าหนี้ไล่เบี้ยเอากับผู้ค้ำประกันอีกคนหนึ่งได้กึ่งหนึ่งตามมาตรา 229(3) และ 296 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 682 วรรค 2 บัญญัตินิติสัมพันธ์ระหว่างผู้ค้ำประกันกับเจ้าหนี้ และมาตรา 693บัญญัตินิติสัมพันธ์ระหว่างผู้ค้ำประกันกับลูกหนี้แต่ในระหว่างผู้ค้ำประกันด้วยกันบทบัญญัติในลักษณะค้ำประกันมิได้กำหนดความรับผิดต่อกันไว้จึงต้องใช้หลักทั่วไปตามมาตรา 229,296
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 682 วรรค 2 บัญญัตินิติสัมพันธ์ระหว่างผู้ค้ำประกันกับเจ้าหนี้ และมาตรา 693บัญญัตินิติสัมพันธ์ระหว่างผู้ค้ำประกันกับลูกหนี้แต่ในระหว่างผู้ค้ำประกันด้วยกันบทบัญญัติในลักษณะค้ำประกันมิได้กำหนดความรับผิดต่อกันไว้จึงต้องใช้หลักทั่วไปตามมาตรา 229,296
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 359/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผู้ค้ำประกันร่วมกัน ไล่เบี้ยเรียกคืนหนี้ได้กึ่งหนึ่งตามหลักทั่วไป
ผู้ค้ำประกันร่วมกัน 2 คน เมื่อผู้ค้ำประกันคนหนึ่งได้ชำระหนี้ทั้งหมดแทนลูกหนี้ไป ย่อมรับช่วงสิทธิของเจ้าหนี้ไล่เบี้ยเอากับผู้ค้ำประกันอีกคนหนึ่งได้กึ่งหนึ่งตามมาตรา 229(3) และ 296 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 682 วรรค 2 บัญญัตินิติสัมพันธ์ระหว่างผู้ค้ำประกันกับเจ้าหนี้ และมาตรา 693 บัญญัตินิติสัมพันธ์ระหว่างผู้ค้ำประกันกับลูกหนี้ แต่ในระหว่างผู้ค้ำประกันด้วยกัน บทบัญญัติในลักษณะค้ำประกันมิได้กำหนดความรับผิดต่อกันไว้ จึงต้องใช้หลักทั่วไปตามมาตรา 229,296.
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 682 วรรค 2 บัญญัตินิติสัมพันธ์ระหว่างผู้ค้ำประกันกับเจ้าหนี้ และมาตรา 693 บัญญัตินิติสัมพันธ์ระหว่างผู้ค้ำประกันกับลูกหนี้ แต่ในระหว่างผู้ค้ำประกันด้วยกัน บทบัญญัติในลักษณะค้ำประกันมิได้กำหนดความรับผิดต่อกันไว้ จึงต้องใช้หลักทั่วไปตามมาตรา 229,296.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 738/2481
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาปราณีประนอมที่ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ ฟ้องร้องบังคับคดีไม่ได้ แต่สามารถยกขึ้นต่อสู้ได้
มาตรา 851 แห่งประมวลแพ่งฯ บัญญัติห้ามมิให้ยก+ฟ้องร้องให้บังคับคดีซึ่งสัญญาปราณีประนอมที่มิได้หลักฐานเป็นหนังสือแต่หาขัดขวางต่อการที่จะ+ต่อสู้ว่าได้ปฏิบัติการให้เป็นไปตามสัญญานั้นแล้วไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 501/2479
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดร่วมกันของนายประกันและการบังคับชำระหนี้จากนายประกันคนใดคนหนึ่ง
นายประกันหลายคนเข้าทำการรับประกันตัวจำเลยต่อศาล ถ้าหากจำเลยหนีไปนายประกันทุกคนจะต้องรับผิดร่วมกัน และศาลจะบังคับเอาแก่นายประกันคนหนึ่งคนใดในจำนวนค่าประกันทั้งหมดก็ได้