พบผลลัพธ์ทั้งหมด 177 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7195/2539 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้อง, ความสามารถของโจทก์ผู้เยาว์, และข้อจำกัดการฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
จำเลยฎีกาว่า โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง ปัญหานี้เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้จะมิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลอุทธรณ์จำเลยก็มีสิทธิยกขึ้นฎีกาได้
คดีนี้เป็นคดีละเมิดมิใช่คดีครอบครัวที่ฟ้องหรือร้องขอต่อศาลหรือกระทำการใด ๆ ในทางศาลเกี่ยวกับผู้เยาว์หรือครอบครัวซึ่งจะต้องบังคับตาม ป.พ.พ.ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 11 (3) แห่ง พ.ร.บ.จัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2534 ดังนั้นเมื่อมีข้อบกพร่องเกี่ยวกับเรื่องความสามารถของโจทก์ที่ 2 ถึงที่ 7 ซึ่งเป็นผู้เยาว์ในคดีนี้ ศาลชั้นต้นจึงมีอำนาจแก้ไขข้อบกพร่องโดยตั้งโจทก์ที่ 1 เป็นผู้แทนเฉพาะคดีให้แก่โจทก์ที่ 2 ถึงที่ 7 ได้ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 56 วรรคสุดท้าย โดยโจทก์ที่ 1 ไม่จำต้องขออำนาจในการดำเนินคดีนี้แทนโจทก์ที่ 2ถึงที่ 7 จากศาลเยาวชนและครอบครัว
คดีนี้โจทก์ทั้งแปดต่างใช้สิทธิเฉพาะตัวของโจทก์แต่ละคนฟ้องให้จำเลยทั้งห้าร่วมกันใช้ค่าเสียหายอันเกิดจากการกระทำละเมิด แม้จะฟ้องรวมกันมาก็ต้องถือทุนทรัพย์ของโจทก์แต่ละคนแยกกัน เมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษาให้จำเลยที่ 2 ที่ 3 และที่ 4 ร่วมกันรับผิดใช้ค่าเสียหายพร้อมดอกเบี้ยนับถึงวันฟ้องให้แก่โจทก์แต่ละคนไม่เกินสองแสนบาท ซึ่งถือเป็นทุนทรัพย์ที่พิพาทในชั้นฎีกาจึงต้องห้ามมิให้จำเลยที่ 2 ที่ 3 และที่ 4 ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตาม ป.วิ.พ.มาตรา 248 วรรคหนึ่ง
คดีนี้เป็นคดีละเมิดมิใช่คดีครอบครัวที่ฟ้องหรือร้องขอต่อศาลหรือกระทำการใด ๆ ในทางศาลเกี่ยวกับผู้เยาว์หรือครอบครัวซึ่งจะต้องบังคับตาม ป.พ.พ.ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 11 (3) แห่ง พ.ร.บ.จัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2534 ดังนั้นเมื่อมีข้อบกพร่องเกี่ยวกับเรื่องความสามารถของโจทก์ที่ 2 ถึงที่ 7 ซึ่งเป็นผู้เยาว์ในคดีนี้ ศาลชั้นต้นจึงมีอำนาจแก้ไขข้อบกพร่องโดยตั้งโจทก์ที่ 1 เป็นผู้แทนเฉพาะคดีให้แก่โจทก์ที่ 2 ถึงที่ 7 ได้ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 56 วรรคสุดท้าย โดยโจทก์ที่ 1 ไม่จำต้องขออำนาจในการดำเนินคดีนี้แทนโจทก์ที่ 2ถึงที่ 7 จากศาลเยาวชนและครอบครัว
คดีนี้โจทก์ทั้งแปดต่างใช้สิทธิเฉพาะตัวของโจทก์แต่ละคนฟ้องให้จำเลยทั้งห้าร่วมกันใช้ค่าเสียหายอันเกิดจากการกระทำละเมิด แม้จะฟ้องรวมกันมาก็ต้องถือทุนทรัพย์ของโจทก์แต่ละคนแยกกัน เมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษาให้จำเลยที่ 2 ที่ 3 และที่ 4 ร่วมกันรับผิดใช้ค่าเสียหายพร้อมดอกเบี้ยนับถึงวันฟ้องให้แก่โจทก์แต่ละคนไม่เกินสองแสนบาท ซึ่งถือเป็นทุนทรัพย์ที่พิพาทในชั้นฎีกาจึงต้องห้ามมิให้จำเลยที่ 2 ที่ 3 และที่ 4 ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตาม ป.วิ.พ.มาตรา 248 วรรคหนึ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7195/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องของผู้เยาว์, การแก้ไขข้อบกพร่อง, และข้อจำกัดในการฎีกาข้อเท็จจริงเมื่อมีทุนทรัพย์พิพาทจำกัด
จำเลยฎีกาว่าโจทก์ไม่่มีอำนาจฟ้องปัญหานี้เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนแม้จะมิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลอุทธรณ์จำเลยก็มีสิทธิยกขึ้นฎีกาได้ คดีนี้เป็นคดีละเมิดมิใช่คดีครอบครัวที่ฟ้องหรือร้องขอต่อศาลหรือกระทำการใดๆในทางศาลเกี่ยวกับผู้เยาว์หรือครอบครัวซึ่งจะต้องบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา11(3)แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัวพ.ศ.2534ดังนั้นเมื่อมีข้อบกพร่องเกี่ยวกับเรื่องความสามารถของโจทก์ที่2ถึงที่7ซึ่งเป็นผู้เยาว์ในคดีนี้ศาลชั้นต้นจึงมีอำนาจแก้ไขข้อบกพร่องโดยตั้งโจทก์ที่1เป็นผู้แทนเฉพาะคดีให้แก่โจทก์ที่2ถึงที่7ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา56วรรคสุดท้าย โดยโจทก์ที่1ไม่จำต้องขออำนาจในการดำเนินคดีนี้แทนโจทก์ที่2ถึงที่7จากศาลเยาวชนและครอบครัว คดีนี้โจทก์ทั้งแปดต่างใช้สิทธิเฉพาะตัวของโจทก์แต่ละคนฟ้องให้จำเลยทั้งห้าร่วมกันใช้ค่าเสียหายอันเกิดจากการกระทำละเมิดแม้จะฟ้องรวมกันมาก็ต้องถือทุนทรัพย์ของโจทก์แต่ละคนแยกกันเมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษาให้จำเลยที่2ที่3และที่4ร่วมกันรับผิดใช้ค่าเสียหายพร้อมดอกเบี้ยนับถึงวันฟ้องให้แก่โจทก์แต่ละคนไม่เกินสองแสนบาทซึ่งถือเป็นทุนทรัพย์ที่พิพาทในชั้นฎีกาจึงต้องห้ามมิให้จำเลยที่2ที่3และที่4ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา248วรรคหนึ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7127/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องและข้อเท็จจริงจากพยานนอกคำให้การ: ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยหากได้มาโดยไม่ชอบ
แม้ปัญหาเกี่ยวกับอำนาจฟ้องเป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ถึงจะมิได้เป็นข้อยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลชั้นต้นและอุทธรณ์ ก็ชอบที่จะยกขึ้นอ้างในชั้นฎีกาได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 วรรคสอง ก็ตาม แต่ข้อกฎหมายนั้นจะต้องเป็นข้อกฎหมายที่ได้มาจาก ข้อเท็จจริงในการดำเนินกระบวนพิจารณาโดยชอบข้อเท็จจริงที่ปรากฏจากพยานนอกคำให้การเป็นการได้มาโดยไม่ชอบด้วยกระบวนพิจารณา ศาลฎีกาไม่วินิจฉัยให้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6637/2539 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องเคลือบคลุม & ศาลฎีกาปฏิเสธรับวินิจฉัยฟ้องแย้งเนื่องจากทุนทรัพย์ไม่เกิน 200,000 บาท
ที่จำเลยฎีกาว่า โจทก์ฟ้องอ้างหนังสือสัญญาจะซื้อขายที่ดินพิพาทลงวันที่ 24 มิถุนายน 2535 แต่ปรากฏว่าหนังสือสัญญาจะซื้อขายที่ดินซึ่งเป็นคู่ฉบับเก็บไว้ฝ่ายละฉบับกลับลงวันที่ 21 มิถุนายน 2535 เห็นได้ว่าเป็นสัญญาคนละฉบับกับที่ฟ้อง ฟ้องจึงเคลือบคลุมนั้น เมื่อจำเลยให้การมิได้อ้างเหตุนี้ว่าเป็นฟ้องเคลือบคลุมจำเลยเพิ่งจะยกขึ้นอ้างในชั้นอุทธรณ์และฎีกา แม้ศาลอุทธรณ์จะวินิจฉัยให้ก็ตาม ก็ถือไม่ได้ว่าเป็นข้อที่ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ทั้งไม่ใช่เป็นปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 249วรรคสอง ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำวินิจฉัยของศาลอุทธรณ์ที่ว่าจำเลยเป็นฝ่ายผิดสัญญานั้นเป็นปัญหาข้อเท็จจริง ต้องห้ามมิให้จำเลยฎีกาในส่วนฟ้องแย้งเพราะทุนทรัพย์ตามฟ้องแย้งของจำเลยไม่เกิน 200,000 บาท และคำวินิจฉัยของศาลอุทธรณ์ดังกล่าวขัดกับคำวินิจฉัยของศาลฎีกาที่ว่าโจทก์เป็นฝ่ายผิดสัญญา เมื่อเป็นเช่นนี้ต้องบังคับตามป.วิ.พ. มาตรา 146 วรรคแรก โดยถือตามคำวินิจฉัยของศาลฎีกาว่าโจทก์เป็นฝ่ายผิดสัญญา
คำวินิจฉัยของศาลอุทธรณ์ที่ว่าจำเลยเป็นฝ่ายผิดสัญญานั้นเป็นปัญหาข้อเท็จจริง ต้องห้ามมิให้จำเลยฎีกาในส่วนฟ้องแย้งเพราะทุนทรัพย์ตามฟ้องแย้งของจำเลยไม่เกิน 200,000 บาท และคำวินิจฉัยของศาลอุทธรณ์ดังกล่าวขัดกับคำวินิจฉัยของศาลฎีกาที่ว่าโจทก์เป็นฝ่ายผิดสัญญา เมื่อเป็นเช่นนี้ต้องบังคับตามป.วิ.พ. มาตรา 146 วรรคแรก โดยถือตามคำวินิจฉัยของศาลฎีกาว่าโจทก์เป็นฝ่ายผิดสัญญา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6637/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจะซื้อขายที่ดิน: ความผิดสัญญา, ฟ้องเคลือบคลุม, ข้อจำกัดการฎีกาในฟ้องแย้ง
ที่จำเลยฎีกาว่าโจทก์ฟ้องอ้างหนังสือสัญญาจะซื้อขายที่ดินพิพาทลงวันที่24มิถุนายน2535แต่ปรากฎว่าหนังสือสัญญาจะซื้อขายที่ดินซึ่งเป็นคู่ฉบับเก็บไว้ฝ่ายละฉบับกลับลงวันที่21มิถุนายน2535เห็นได้ว่าเป็นสัญญาคนละฉบับกับที่ฟ้องฟ้องจึงเคลือบคลุมนั้นเมื่อจำเลยให้การมิได้อ้างเหตุนี้ว่าเป็นฟ้องเคลือบคลุมจำเลยเพิ่มจะยกขึ้นอ้างในชั้นอุทธรณ์และฎีกาแม้ศาลอุทธรณ์จะวินิจฉัยให้ก็ตามก็ถือไม่ได้ว่าเป็นข้อที่ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ทั้งไม่ใช่เป็นปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา249วรรคสองศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย คำวินิจฉัยของศาลอุทธรณ์ที่ว่าจำเลยเป็นฝ่ายผิดสัญญานั้นเป็นปัญหาข้อเท็จจริงต้องห้ามมิให้จำเลยฎีกาในส่วนฟ้องแย้งเพราะทุนทรัพย์ตามฟ้องแย้งของจำเลยไม่เกิน200,000บาทและคำวินิจฉัยของศาลอุทธรณ์ดังกล่าวขัดกับคำวินิจฉัยของศาลฎีกาที่ว่าโจทก์เป็นฝ่ายผิดสัญญาเมื่อเป็นเช่นนี้ต้องบังคับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา146วรรคแรกโดยถือตามคำวินิจฉัยของศาลฎีกาว่าโจทก์เป็นฝ่ายผิดสัญญา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5120/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การตัดสิทธิทายาทและการแต่งตั้งผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรม: สิทธิทายาทนอกพินัยกรรมยังคงมีอยู่
ปัญหาที่ผู้ร้องฎีกาว่าผู้ตายทำพินัยกรรมยกที่ดินให้แก่บ.และระบุไว้ในพินัยกรรมว่า"บุคคลอื่นใดที่มิได้ระบุไว้ในพินัยกรรมนี้ไม่มีสิทธิรับมรดกของข้าฯแต่อย่างใด"แสดงว่าผู้ตายมีเจตนายกทรัพย์มรดกทั้งตามพินัยกรรมและนอกพินัยกรรมให้แก่บ. แต่เพียงผู้เดียวและเป็นการตัดผู้คัดค้านมิให้รับมรดกนั้นเป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนแม้ผู้ร้องจะมิได้ยกขึ้นว่ากล่าวไว้โดยชัดแจ้งในคำแก้อุทธรณ์ก็ฎีกาได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา249วรรคสอง ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1608ตัวทายาทผู้ถูกตัดมิให้รับมรดกนั้นต้องระบุไว้ให้ชัดเจนแต่ตามข้อความในพินัยกรรมมิได้ระบุไว้ให้ชัดเจนว่าตัดผู้คัดค้านมิให้รับมรดกจึงถือไม่ได้ว่าเป็นการตัดผู้คัดค้านมิให้รับมรดกและเมื่อผู้ตายยังมีทรัพย์มรดกอื่นนอกจากทรัพย์มรดกที่ยกให้แก่บ.ตามพินัยกรรมผู้คัดค้านในฐานะทายาทจึงเป็นผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์มรดกนอกพินัยกรรมมีสิทธิร้องคัดค้านและขอเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายได้ แม้ผู้คัดค้านจะเป็นทายาทมีสิทธิรับทรัพย์มรดกนอกพินัยกรรมของผู้ตายคนหนึ่งและไม่เป็นบุคคลต้องห้ามในการเป็นผู้จัดการมรดกก็ตามแต่เมื่อผู้ตายได้ทำพินัยกรรมแต่งตั้งผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกและผู้ร้องไม่เป็นบุคคลต้องห้ามในการเป็นผู้จัดการมรดกแล้วก็สมควรให้ผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกตามเจตนาของผู้ตาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1975/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องเรียกร้องค่าสินค้าจากตัวแทน - การโต้แย้งสิทธิและการแจ้งหนี้
โจทก์บรรยายฟ้องว่าโจทก์ได้มอบสินค้าให้จำเลยไปขายแทนโจทก์จำเลยก็รับว่าได้รับสินค้าของโจทก์ไว้ขายจริงดังนี้ข้อตกลงระหว่างโจทก์กับจำเลยจึงเป็นเรื่องตัวแทนโจทก์ในฐานะตัวการฟ้องเรียกเงินที่จำเลยได้รับไว้เกี่ยวด้วยการเป็นตัวแทนของจำเลยไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นพิเศษจึงต้องใช้อายุความทั่วไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา164เดิมอันเป็นบทกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในขณะที่โจทก์ใช้สิทธิเรียกร้องซึ่งมีกำหนด10ปีบังคับเมื่อนับตั้งแต่โจทก์มอบสินค้าให้จำเลยไปขายแทนจนถึงวันฟ้องยังไม่เกิน10ปีฟ้องโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ ที่จำเลยฎีกาว่าโจทก์ยังไม่มีสิทธินำคดีมาฟ้องเพราะโจทก์มิได้เรียกร้องให้จำเลยคืนค่าสินค้าที่ฝากให้จำเลยขายเสียก่อนจำเลยจึงมิได้โต้แย้งสิทธิของโจทก์นั้นข้อนี้แม้จำเลยมิได้ให้การไว้แต่เป็นปัญหาเกี่ยวกับอำนาจฟ้องอันเป็นปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยประชาชนจำเลยย่อมมีสิทธิที่จะยกขึ้นอ้างซึ่งปัญหาเช่นว่านั้นในชั้นฎีกาได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา249วรรคสองและศาลฎีกามีอำนาจวินิจฉัยให้ได้ปัญหานี้โจทก์ได้ให้ทนายความมีหนังสือแจ้งให้จำเลยส่งมอบเงินค่าสินค้าที่ฝากให้จำเลยขายส่วนที่ยังเหลืออยู่ภายใน3วันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือซึ่งจำเลยได้รับหนังสือดังกล่าวแล้วเมื่อจำเลยยังมิได้ชำระหนี้ตามหนังสือนั้นให้โจทก์ภายในกำหนดเวลาดังกล่าวจึงเป็นการโต้แย้งสิทธิของโจทก์โจทก์ย่อมมีอำนาจนำคดีนี้มาฟ้องจำเลยให้รับผิดในหนี้ดังกล่าวต่อโจทก์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1975/2539 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องเรียกเงินจากตัวแทนและการโต้แย้งสิทธิของโจทก์
โจทก์บรรยายฟ้องว่าโจทก์ได้มอบสินค้าให้จำเลยไปขายแทนโจทก์จำเลยก็รับว่าได้รับสินค้าของโจทก์ไว้ขายจริงดังนี้ข้อตกลงระหว่างโจทก์กับจำเลยจึงเป็นเรื่องตัวแทนโจทก์ในฐานะตัวการฟ้องเรียกเงินที่จำเลยได้รับไว้เกี่ยวด้วยการเป็นตัวแทนของจำเลยไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นพิเศษจึงต้องใช้อายุความทั่วไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา164เดิมอันเป็นบทกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในขณะที่โจทก์ใช้สิทธิเรียกร้องซึ่งมีกำหนด10ปีบังคับเมื่อนับตั้งแต่โจทก์มอบสินค้าให้จำเลยไปขายแทนจนถึงวันฟ้องยังไม่เกิน10ปีฟ้องโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ ที่จำเลยฎีกาว่าโจทก์ยังไม่มีสิทธินำคดีมาฟ้องเพราะโจทก์มิได้เรียกร้องให้จำเลยคืนค่าสินค้าที่ฝากให้จำเลยขายเสียก่อนจำเลยจึงมิได้โต้แย้งสิทธิของโจทก์นั้นข้อนี้แม้จำเลยมิได้ให้การไว้แต่เป็นปัญหาเกี่ยวกับอำนาจฟ้องอันเป็นปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนจำเลยย่อมมีสิทธิที่จะยกขึ้นอ้างซึ่งปัญหาเช่นว่านั้นในชั้นฎีกาได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา249วรรคสองและศาลฎีกามีอำนาจวินิจฉัยให้ได้ปัญหานี้โจทก์ได้ให้ทนายความมีหนังสือแจ้งให้จำเลยส่งมอบเงินค่าสินค้าที่ฝากให้จำเลยขายส่วนที่ยังเหลืออยู่ภายใน3วันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือซึ่งจำเลยได้รับหนังสือดังกล่าวแล้วเมื่อจำเลยยังมิได้ชำระหนี้ตามหนังสือนั้นให้โจทก์ภายในกำหนดเวลาดังกล่าวจึงเป็นการโต้แย้งสิทธิของโจทก์โจทก์ย่อมมีอำนาจนำคดีนี้มาฟ้องจำเลยให้รับผิดในหนี้ดังกล่าวต่อโจทก์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1975/2539 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องเรียกเงินค่าสินค้าจากตัวแทน และการโต้แย้งสิทธิโดยการทวงถามหนี้
โจทก์บรรยายฟ้องว่า โจทก์ได้มอบสินค้าให้จำเลยไปขายแทนโจทก์ จำเลยก็รับว่าได้รับสินค้าของโจทก์ไว้ขายจริงดังนี้ ข้อตกลงระหว่างโจทก์กับจำเลยจึงเป็นเรื่องตัวแทนโจทก์ในฐานะตัวการฟ้องเรียกเงินที่จำเลยได้รับไว้เกี่ยวด้วยการเป็นตัวแทนของจำเลย ไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นพิเศษจึงต้องใช้อายุความทั่วไป ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 164 เดิม อันเป็นบทกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในขณะที่โจทก์ใช้สิทธิเรียกร้อง ซึ่งมีกำหนด 10 ปี บังคับ เมื่อนับตั้งแต่โจทก์มอบสินค้าให้จำเลยไปขายแทนจนถึงวันฟ้องยังไม่เกิน 10 ปี ฟ้องโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ ที่จำเลยฎีกาว่าโจทก์ยังไม่มีสิทธินำคดีมาฟ้องเพราะโจทก์มิได้เรียกร้องให้จำเลยคืนค่าสินค้าที่ฝากให้จำเลยขายเสียก่อนจำเลยจึงมิได้โต้แย้งสิทธิของโจทก์นั้น ข้อนี้แม้จำเลยมิได้ให้การไว้ แต่เป็นปัญหาเกี่ยวกับอำนาจฟ้องอันเป็นปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน จำเลยย่อมมีสิทธิที่จะยกขึ้นอ้างซึ่งปัญหาเช่นว่านั้นในชั้นฎีกาได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249 วรรคสองและศาลฎีกามีอำนาจวินิจฉัยให้ได้ปัญหานี้โจทก์ได้ให้ทนายความมีหนังสือแจ้งให้จำเลยส่งมอบเงินค่าสินค้าที่ฝากให้จำเลยขายส่วนที่ยังเหลืออยู่ภายใน 3 วันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือ ซึ่งจำเลยได้รับหนังสือดังกล่าวแล้ว เมื่อจำเลยยังมิได้ชำระหนี้ตามหนังสือนั้นให้โจทก์ภายในกำหนดเวลาดังกล่าวจึงเป็นการโต้แย้งสิทธิของโจทก์ โจทก์ย่อมมีอำนาจนำคดีนี้มาฟ้องจำเลยให้รับผิดในหนี้ดังกล่าวต่อโจทก์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1975/2539 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความการเรียกร้องหนี้จากตัวแทน และอำนาจฟ้องเมื่อมีการโต้แย้งสิทธิ
โจทก์บรรยายฟ้องว่า โจทก์ได้มอบสินค้าให้จำเลยไปขายแทนโจทก์ จำเลยก็รับว่าได้รับสินค้าของโจทก์ไว้ขายจริง ดังนี้ ข้อตกลงระหว่างโจทก์กับจำเลยจึงเป็นเรื่องตัวแทน โจทก์ในฐานะตัวการฟ้องเรียกเงินที่จำเลยได้รับไว้เกี่ยวด้วยการเป็นตัวแทนของจำเลย ไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นพิเศษจึงต้องใช้อายุความทั่วไป ตาม ป.พ.พ. มาตรา 164 เดิม อันเป็นบทกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในขณะที่โจทก์ใช้สิทธิเรียกร้อง ซึ่งมีกำหนด 10 ปี บังคับ เมื่อนับตั้งแต่โจทก์มอบสินค้าให้จำเลยไปขายแทนจนถึงวันฟ้อง ยังไม่เกิน 10 ปีฟ้องโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ
ที่จำเลยฎีกาว่าโจทก์ยังไม่มีสิทธินำคดีมาฟ้องเพราะโจทก์มิได้เรียกร้องให้จำเลยคืนค่าสินค้าที่ฝากให้จำเลยขายเสียก่อน จำเลยจึงมิได้โต้แย้งสิทธิของโจทก์นั้น ข้อนี้แม้จำเลยมิได้ให้การไว้ แต่เป็นปัญหาเกี่ยวกับอำนาจฟ้องอันเป็นปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน จำเลยย่อมมีสิทธิที่จะยกขึ้นอ้างซึ่งปัญหาเช่นว่านั้นในชั้นฎีกาได้ ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 249 วรรคสอง และศาลฎีกามีอำนาจวินิจฉัยให้ได้ ปัญหานี้โจทก์ได้ให้ทนายความมีหนังสือแจ้งให้จำเลยส่งมอบเงินค่าสินค้าที่ฝากให้จำเลยขายส่วนที่ยังเหลืออยู่ภายใน 3 วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือ ซึ่งจำเลยได้รับหนังสือดังกล่าวแล้ว เมื่อจำเลยยังมิได้ชำระหนี้ตามหนังสือนั้นให้โจทก์ภายในกำหนดเวลาดังกล่าวจึงเป็นการโต้แย้งสิทธิของโจทก์ โจทก์ย่อมมีอำนาจนำคดีนี้มาฟ้องจำเลยให้รับผิดในหนี้ดังกล่าวต่อโจทก์ได้
ที่จำเลยฎีกาว่าโจทก์ยังไม่มีสิทธินำคดีมาฟ้องเพราะโจทก์มิได้เรียกร้องให้จำเลยคืนค่าสินค้าที่ฝากให้จำเลยขายเสียก่อน จำเลยจึงมิได้โต้แย้งสิทธิของโจทก์นั้น ข้อนี้แม้จำเลยมิได้ให้การไว้ แต่เป็นปัญหาเกี่ยวกับอำนาจฟ้องอันเป็นปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน จำเลยย่อมมีสิทธิที่จะยกขึ้นอ้างซึ่งปัญหาเช่นว่านั้นในชั้นฎีกาได้ ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 249 วรรคสอง และศาลฎีกามีอำนาจวินิจฉัยให้ได้ ปัญหานี้โจทก์ได้ให้ทนายความมีหนังสือแจ้งให้จำเลยส่งมอบเงินค่าสินค้าที่ฝากให้จำเลยขายส่วนที่ยังเหลืออยู่ภายใน 3 วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือ ซึ่งจำเลยได้รับหนังสือดังกล่าวแล้ว เมื่อจำเลยยังมิได้ชำระหนี้ตามหนังสือนั้นให้โจทก์ภายในกำหนดเวลาดังกล่าวจึงเป็นการโต้แย้งสิทธิของโจทก์ โจทก์ย่อมมีอำนาจนำคดีนี้มาฟ้องจำเลยให้รับผิดในหนี้ดังกล่าวต่อโจทก์ได้