พบผลลัพธ์ทั้งหมด 275 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 994/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาไม่ชอบด้วยกฎหมายเนื่องจากไม่ได้ระบุเหตุผลแห่งการอุทธรณ์และข้อเท็จจริงที่คลาดเคลื่อน
ฎีกากล่าวข้อความแต่เพียงว่า จำเลยไม่เห็นพ้องด้วยคำพิพากษาศาลล่างจึงฎีกาเพื่อศาลสูงได้วินิจฉัยในเหตุผลของพยานทั้งสองฝ่ายประกอบคำพิพากษาล่างที่จำเลยฟังว่ายังมีการคลาดเคลื่อนต่อเหตุผลข้อเท็จจริงอยู่หลายประการ...... ที่จำเลยยังไม่สามารถคัดสำนวนไปประกอบทำฎีกาทันภายในกำหนดอายุความฎีกา จึงขอยื่นฎีกาไว้แต่เพียงย่อ ดังนี้ ฎีกามิได้ระบุข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายขึ้นอ้างอิงให้เห็นว่าคำวินิจฉัยของศาลอุทธรณ์คลาดเคลื่อนข้อใดเป็นฎีกาที่มิได้เป็นไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 193, 225 ไม่เป็นฎีกาที่ชอบด้วยกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1699/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อุทธรณ์ข้อเท็จจริงในคดีหมิ่นประมาทศาลแขวง: การต้องห้ามอุทธรณ์ตามกฎหมาย
คดีที่ศาลชั้นต้นพิพากษาให้ยกฟ้องโจทก์โดยฟังข้อเท็จจริงว่าจำเลยร่วมกันจัดพิมพ์หนังสืออกโฆษณาจริง แต่ข้อความนั้นไม่ใช่เรื่องดูหมิ่นเจ้าพนักงานหรือศาลหรือละเมิดอำนาจศาล จำเลยอุทธรณ์ว่าจำเลยไม่ได้ร่วมกันจัดพิมพ์หนังสือหมิ่นประมาทตามฟ้อง และฟ้องโจทก์เคลือบคลุมนั้น ถือว่าเป็นอุทธรณ์ในข้อเท็จจริง ต้องห้ามอุทธรณ์ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง พ.ศ. 2499 มาตรา 22ส่วนที่ศาลอุทธรณ์ฟ้องเคลือบคลุมนั้นไม่เป็นสารแก่คดีอันควรรับไว้วินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1699/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอุทธรณ์ข้อเท็จจริงในคดีหมิ่นประมาทต่อศาลแขวง: การห้ามอุทธรณ์ตาม พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแขวง
คดีที่ศาลชั้นต้นพิพากษาให้ยกฟ้องโจทก์โดยฟังข้อเท็จจริงว่าจำเลยร่วมกันจัดพิมพ์หนังสือออกโฆษณาจริง แต่ข้อความนั้นไม่ใช่เรื่องดูหมิ่นเจ้าพนักงานหรือศาลหรือละเมิดอำนาจศาล จำเลยอุทธรณ์ว่าจำเลยไม่ได้ร่วมกันจัดพิมพ์หนังสือหมิ่นประมาทตามฟ้อง และฟ้องโจทก์เคลือบคลุมนั้น ถือว่าเป็นอุทธรณ์ในข้อเท็จจริง ต้องห้ามอุทธรณ์ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง พ.ศ.2499 มาตรา 22 ส่วนที่อุทธรณ์ว่าฟ้องเคลือบคลุมนั้นไม่เป็นสาระแก่คดีอันควรรับไว้วินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1699/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อจำกัดการอุทธรณ์ในศาลแขวง: อุทธรณ์ข้อเท็จจริงต้องห้ามตาม พ.ร.บ.ศาลแขวง และการพิจารณาฟ้องเคลือบคลุม
คดีที่ศาลชั้นต้นพิพากษาให้ยกฟ้องโจทก์โดยฟังข้อเท็จจริงว่าจำเลยร่วมกันจัดพิมพ์หนังสือออกโฆษณาจริง. แต่ข้อความนั้นไม่ใช่เรื่องดูหมิ่นเจ้าพนักงานหรือศาลหรือละเมิดอำนาจศาล. จำเลยอุทธรณ์ว่าจำเลยไม่ได้ร่วมกันจัดพิมพ์หนังสือหมิ่นประมาทตามฟ้อง. และฟ้องโจทก์เคลือบคลุมนั้น. ถือว่าเป็นอุทธรณ์ในข้อเท็จจริง ต้องห้ามอุทธรณ์ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง พ.ศ.2499 มาตรา22. ส่วนที่อุทธรณ์ว่าฟ้องเคลือบคลุมนั้นไม่เป็นสาระแก่คดีอันควรรับไว้วินิจฉัย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 800/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หน้าที่ศาลในการรับรองอุทธรณ์และการส่งสำนวนไปยังอธิบดีอัยการ: ผู้ต้องดำเนินการเอง
การอุทธรณ์คำสั่งศาลชั้นต้นที่ไม่ส่งสำนวนและอุทธรณ์ไปให้อธิบดีกรมอัยการพิจารณารับรองตามคำร้องของโจทก์ร่วมนั้น ผู้อุทธรณ์ต้องทำเป็นอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 193 และชอบที่ศาลอุทธรณ์จะได้วินิจฉัยโดยทำเป็นคำพิพากษามิใช่ทำเป็นคำสั่ง แต่โดยที่ศาลอุทธรณ์ได้ทำคำสั่งโดยผู้พิพากษาสองนาย เพียงแต่ผิดแบบเฉพาะการทำเป็นคำพิพากษาหรือคำสั่งจึงไม่จำเป็นที่จะให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาพิพากษาใหม่ (อ้างฎีกาที่ 1244/2503)
การที่จะให้อธิบดีกรมอัยการรับรองอุทธรณ์นั้น กฎหมายมิได้บัญญัติให้ศาลชั้นต้นมีหน้าที่ต้องส่งอุทธรณ์ไปให้อธิบดีกรมอัยการรับรอง การรับรองอุทธรณ์เป็นประโยชน์แก่ผู้อุทธรณ์เอง ผู้อุทธรณ์จึงต้องขวนขวายขอร้องไปยังอธิบดีกรมอัยการเอง หาใช่อาศัยศาลเป็นเครื่องมือส่งต่อไปยังอธิบดีกรมอัยการไม่ (อ้างฎีกาที่ 656/2506)
การที่จะให้อธิบดีกรมอัยการรับรองอุทธรณ์นั้น กฎหมายมิได้บัญญัติให้ศาลชั้นต้นมีหน้าที่ต้องส่งอุทธรณ์ไปให้อธิบดีกรมอัยการรับรอง การรับรองอุทธรณ์เป็นประโยชน์แก่ผู้อุทธรณ์เอง ผู้อุทธรณ์จึงต้องขวนขวายขอร้องไปยังอธิบดีกรมอัยการเอง หาใช่อาศัยศาลเป็นเครื่องมือส่งต่อไปยังอธิบดีกรมอัยการไม่ (อ้างฎีกาที่ 656/2506)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 800/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หน้าที่ศาลในการรับรองอุทธรณ์และการส่งเรื่องให้อธิบดีอัยการ ผู้ต้องดำเนินการเอง
การอุทธรณ์คำสั่งศาลชั้นต้นที่ไม่ส่งสำนวนและอุทธรณ์ไปให้อธิบดีกรมอัยการพิจารณารับรองตามคำร้องของโจทก์ร่วมนั้นผู้อุทธรณ์ต้องทำเป็นอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 193 และชอบที่ศาลอุทธรณ์จะได้วินิจฉัยโดยทำเป็นคำพิพากษามิใช่ทำเป็นคำสั่งแต่โดยที่ศาลอุทธรณ์ได้ทำคำสั่งโดยผู้พิพากษาสองนาย เพียงแต่ผิดแบบเฉพาะการทำเป็นคำพิพากษาหรือคำสั่งจึงไม่จำเป็นที่จะให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาพิพากษาใหม่(อ้างฎีกาที่ 1244/2503)
การที่จะให้อธิบดีกรมอัยการรับรองอุทธรณ์นั้น กฎหมายมิได้บัญญัติให้ศาลชั้นต้นมีหน้าที่ต้องส่งอุทธรณ์ไปให้อธิบดีกรมอัยการรับรองการรับรองอุทธรณ์เป็นประโยชน์แก่ผู้อุทธรณ์เองผู้อุทธรณ์จึงต้องขวนขวายขอร้องไปยังอธิบดีกรมอัยการเองหาใช่อาศัยศาลเป็นเครื่องมือส่งต่อไปยังอธิบดีกรมอัยการไม่ (อ้างฎีกาที่ 656/2506)
การที่จะให้อธิบดีกรมอัยการรับรองอุทธรณ์นั้น กฎหมายมิได้บัญญัติให้ศาลชั้นต้นมีหน้าที่ต้องส่งอุทธรณ์ไปให้อธิบดีกรมอัยการรับรองการรับรองอุทธรณ์เป็นประโยชน์แก่ผู้อุทธรณ์เองผู้อุทธรณ์จึงต้องขวนขวายขอร้องไปยังอธิบดีกรมอัยการเองหาใช่อาศัยศาลเป็นเครื่องมือส่งต่อไปยังอธิบดีกรมอัยการไม่ (อ้างฎีกาที่ 656/2506)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 800/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หน้าที่ศาลในการส่งเรื่องขอรับรองอุทธรณ์ไปยังอธิบดีอัยการ และรูปแบบคำวินิจฉัยของศาล
การอุทธรณ์คำสั่งศาลชั้นต้นที่.ไม่ส่งสำนวนและอุทธรณ์ไปให้อธิบดีกรมอัยการพิจารณารับรองตามคำร้องของโจทก์ร่วมนั้น. ผู้อุทธรณ์ต้องทำเป็นอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 193. และชอบที่ศาลอุทธรณ์จะได้วินิจฉัยโดยทำเป็นคำพิพากษามิใช่ทำเป็นคำสั่ง. แต่โดยที่ศาลอุทธรณ์ได้ทำคำสั่งโดยผู้พิพากษาสองนาย เพียงแต่ผิดแบบเฉพาะการทำเป็นคำพิพากษาหรือคำสั่ง.จึง.ไม่จำเป็นที่จะให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาพิพากษาใหม่(อ้างฎีกาที่ 1244/2503).
การที่จะให้อธิบดีกรมอัยการรับรองอุทธรณ์นั้น กฎหมายมิได้บัญญัติให้ศาลชั้นต้นมีหน้าที่ต้องส่งอุทธรณ์ไปให้อธิบดีกรมอัยการรับรอง. การรับรองอุทธรณ์เป็นประโยชน์แก่ผู้อุทธรณ์เอง. ผู้อุทธรณ์จึงต้องขวนขวายขอร้องไปยังอธิบดีกรมอัยการเอง. หาใช่อาศัยศาลเป็นเครื่องมือส่งต่อไปยังอธิบดีกรมอัยการไม่.(อ้างฎีกาที่ 656/2506).
การที่จะให้อธิบดีกรมอัยการรับรองอุทธรณ์นั้น กฎหมายมิได้บัญญัติให้ศาลชั้นต้นมีหน้าที่ต้องส่งอุทธรณ์ไปให้อธิบดีกรมอัยการรับรอง. การรับรองอุทธรณ์เป็นประโยชน์แก่ผู้อุทธรณ์เอง. ผู้อุทธรณ์จึงต้องขวนขวายขอร้องไปยังอธิบดีกรมอัยการเอง. หาใช่อาศัยศาลเป็นเครื่องมือส่งต่อไปยังอธิบดีกรมอัยการไม่.(อ้างฎีกาที่ 656/2506).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1245/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีทำให้เสียทรัพย์: เจ้าของทรัพย์ต้องเป็นผู้ร้องทุกข์ หรือได้รับมอบอำนาจ หากไม่ได้ร้องทุกข์ ผู้ครอบครองไม่มีอำนาจฟ้อง
ผู้เสียหายกับจำเลยเป็นพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน จำเลยตัดฟันต้นมะขามเทศในที่ดินของมารดา เมื่อมารดาไม่ร้องทุกข์ ผู้เสียหายซึ่งเป็นเพียงผู้อาศัยย่อมไม่มีอำนาจร้องทุกข์ให้ดำเนินคดีฐานทำให้เสียทรัพย์กับจำเลยซึ่งเป็นบุตรของเจ้าของทรัพย์ได้
บทบัญญัติในมาตรา 194 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาที่บังคับให้ศาลอุทธรณ์ต้องฟังข้อเท็จจริงตามที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยมาแล้วจากพยานหลักฐานในสำนวนนั้นหมายเฉพาะข้อเท็จจริงที่ใช้ในการวินิจฉัยข้อกฎหมายตามที่มีอุทธรณ์เท่านั้น
คดีเรื่องทำให้เสียทรัพย์ ศาลชั้นต้นยกฟ้องโดยฟังว่าทรัพย์นั้นไม่ใช่ของผู้เสียหาย ผู้เสียหายไม่มีอำนาจร้องทุกข์ โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องโจทก์อุทธรณ์ว่าผู้เสียหายเป็นผู้ครอบครองมีอำนาจร้องทุกข์ได้ ดังนี้ ศาลอุทธรณ์อาจยกฟ้องโดยฟังข้อเท็จจริงใหม่ว่าจำเลยมิได้เป็นคนทำให้ทรัพย์นั้นเสียหายได้ เพราะมิใช่ข้อเท็จจริงที่ใช้ในการวินิจฉัยข้อกฎหมายตามที่มีอุทธรณ์ ดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 194
เมื่อศาลชั้นต้นยกฟ้องโดยวินิจฉัยว่า โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง เพราะ ผู้เสียหายที่ร้องทุกข์ไม่ใช่เจ้าของทรัพย์ ศาลอุทธรณ์ยกฟ้อง โดยฟังข้อเท็จจริงว่าจำเลยมิได้เป็นผู้ทำให้ทรัพย์เสียหาย ดังนี้ โจทก์ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงได้ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219
แม้โจทก์ฎีกาอ้างว่าเป็นฎีกาข้อกฎหมาย ศาลฎีกาก็มีอำนาจแปลข้อความในฎีกานั้นได้ว่า พอถือได้ว่าเป็นฎีกาในข้อเท็จจริงด้วย และถ้าคดีไม่ต้องห้ามฎีกาในข้อเท็จจริง ศาลฎีกาก็รับวินิจฉัยข้อเท็จจริงนั้นให้ด้วย
บทบัญญัติในมาตรา 194 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาที่บังคับให้ศาลอุทธรณ์ต้องฟังข้อเท็จจริงตามที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยมาแล้วจากพยานหลักฐานในสำนวนนั้นหมายเฉพาะข้อเท็จจริงที่ใช้ในการวินิจฉัยข้อกฎหมายตามที่มีอุทธรณ์เท่านั้น
คดีเรื่องทำให้เสียทรัพย์ ศาลชั้นต้นยกฟ้องโดยฟังว่าทรัพย์นั้นไม่ใช่ของผู้เสียหาย ผู้เสียหายไม่มีอำนาจร้องทุกข์ โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องโจทก์อุทธรณ์ว่าผู้เสียหายเป็นผู้ครอบครองมีอำนาจร้องทุกข์ได้ ดังนี้ ศาลอุทธรณ์อาจยกฟ้องโดยฟังข้อเท็จจริงใหม่ว่าจำเลยมิได้เป็นคนทำให้ทรัพย์นั้นเสียหายได้ เพราะมิใช่ข้อเท็จจริงที่ใช้ในการวินิจฉัยข้อกฎหมายตามที่มีอุทธรณ์ ดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 194
เมื่อศาลชั้นต้นยกฟ้องโดยวินิจฉัยว่า โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง เพราะ ผู้เสียหายที่ร้องทุกข์ไม่ใช่เจ้าของทรัพย์ ศาลอุทธรณ์ยกฟ้อง โดยฟังข้อเท็จจริงว่าจำเลยมิได้เป็นผู้ทำให้ทรัพย์เสียหาย ดังนี้ โจทก์ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงได้ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219
แม้โจทก์ฎีกาอ้างว่าเป็นฎีกาข้อกฎหมาย ศาลฎีกาก็มีอำนาจแปลข้อความในฎีกานั้นได้ว่า พอถือได้ว่าเป็นฎีกาในข้อเท็จจริงด้วย และถ้าคดีไม่ต้องห้ามฎีกาในข้อเท็จจริง ศาลฎีกาก็รับวินิจฉัยข้อเท็จจริงนั้นให้ด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1245/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีทำให้เสียทรัพย์: เจ้าของทรัพย์ต้องเป็นผู้ร้องทุกข์ ผู้ครอบครองไม่มีอำนาจฟ้องแทน
ผู้เสียหายกับจำเลยเป็นพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน จำเลยตัดฟันต้นมะขามเทศในที่ดินของมารดา เมื่อมารดาไม่ร้องทุกข์ ผู้เสียหายซึ่งเป็นเพียงผู้อาศัยย่อมไม่มีอำนาจร้องทุกข์ให้ดำเนินคดีฐานทำให้เสียทรัพย์กับจำเลยซึ่งเป็นบุตรของเจ้าของทรัพย์ได้
บทบัญญัติในมาตรา 194 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาที่บังคับให้ศาลอุทธรณ์ต้องฟังข้อเท็จจริงตามที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยมาแล้วจากพยานหลักฐานในสำนวนนั้นหมายเฉพาะข้อเท็จจริงที่ใช้ในการวินิจฉัยข้อกฎหมายตามที่มีอุทธรณ์เท่านั้น
คดีเรื่องทำให้เสียทรัพย์ ศาลชั้นต้นยกฟ้องโดยฟังว่าทรัพย์นั้นไม่ใช่ของผู้เสียหาย ผู้เสียหายไม่มีอำนาจร้องทุกข์ โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้อง โจทก์อุทธรณ์ว่าผู้เสียหายเป็นผู้ครอบครองมีอำนาจร้องทุกข์ได้ ดังนี้ ศาลอุทธรณ์อาจยกฟ้องโดยฟังข้อเท็จจริงใหม่ว่าจำเลยมิได้เป็นคนทำให้ทรัพย์นั้นเสียหายได้ เพราะมิใช่ข้อเท็จจริงที่ใช้ในการวินิจฉัยข้อกฎหมายตามที่มีอุทธรณ์ ดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 194
เมื่อศาลชั้นต้นยกฟ้องโดยวินิจฉัยว่า โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง เพราะผู้เสียหายที่ร้องทุกข์ไม่ใช่เจ้าของทรัพย์ ศาลอุทธรณ์ยกฟ้อง โดยฟังข้อเท็จจริงว่าจำเลยมิได้เป็นผู้ทำให้ทรัพย์เสียหาย ดังนี้ โจทก์ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงได้ ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219
แม้โจทก์ฎีกาอ้างว่าเป็นฎีกาข้อกฎหมาย ศาลฎีกาก็มีอำนาจแปลข้อความในฎีกานั้นได้ว่า พอถือได้ว่าเป็นฎีกาในข้อเท็จจริงด้วย และถ้าคดีไม่ต้องห้ามฎีกาในข้อเท็จจริงศาลฎีกาก็รับวินิจฉัยข้อเท็จจริงนั้นให้ด้วย
บทบัญญัติในมาตรา 194 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาที่บังคับให้ศาลอุทธรณ์ต้องฟังข้อเท็จจริงตามที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยมาแล้วจากพยานหลักฐานในสำนวนนั้นหมายเฉพาะข้อเท็จจริงที่ใช้ในการวินิจฉัยข้อกฎหมายตามที่มีอุทธรณ์เท่านั้น
คดีเรื่องทำให้เสียทรัพย์ ศาลชั้นต้นยกฟ้องโดยฟังว่าทรัพย์นั้นไม่ใช่ของผู้เสียหาย ผู้เสียหายไม่มีอำนาจร้องทุกข์ โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้อง โจทก์อุทธรณ์ว่าผู้เสียหายเป็นผู้ครอบครองมีอำนาจร้องทุกข์ได้ ดังนี้ ศาลอุทธรณ์อาจยกฟ้องโดยฟังข้อเท็จจริงใหม่ว่าจำเลยมิได้เป็นคนทำให้ทรัพย์นั้นเสียหายได้ เพราะมิใช่ข้อเท็จจริงที่ใช้ในการวินิจฉัยข้อกฎหมายตามที่มีอุทธรณ์ ดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 194
เมื่อศาลชั้นต้นยกฟ้องโดยวินิจฉัยว่า โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง เพราะผู้เสียหายที่ร้องทุกข์ไม่ใช่เจ้าของทรัพย์ ศาลอุทธรณ์ยกฟ้อง โดยฟังข้อเท็จจริงว่าจำเลยมิได้เป็นผู้ทำให้ทรัพย์เสียหาย ดังนี้ โจทก์ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงได้ ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219
แม้โจทก์ฎีกาอ้างว่าเป็นฎีกาข้อกฎหมาย ศาลฎีกาก็มีอำนาจแปลข้อความในฎีกานั้นได้ว่า พอถือได้ว่าเป็นฎีกาในข้อเท็จจริงด้วย และถ้าคดีไม่ต้องห้ามฎีกาในข้อเท็จจริงศาลฎีกาก็รับวินิจฉัยข้อเท็จจริงนั้นให้ด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1228/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เช็คชำระหนี้จากการกู้ยืม แม้ไม่มีสัญญากู้เป็นลายลักษณ์อักษร ก็อาจเข้าข่ายความผิดตาม พ.ร.บ.เช็คได้
จำเลยกู้ยืมเงินจากผู้เสียหาย โดยจำเลยออกเช็คให้ แม้จำเลยจะไม่ได้ทำหนังสือสัญญากู้ แต่ได้ออกเช็คให้แทนโดยมีมูลหนี้จากการกู้เงิน จึงย่อมมีความผูกพันกันในเบื้องต้นอันอาจเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2497 ได้
คดีที่ผู้เสียหายเข้าเป็นโจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการโจทก์ ศาลชั้นต้นงดสืบพยานโจทก์และจำเลยแล้วพิพากษายกฟ้อง พนักงานอัยการโจทก์ไม่อุทธรณ์ ฎีกา แต่โจทก์ร่วมได้อุทธรณ์ฎีกา ศาลฎีกาพิพากษาให้ยกคำพิพากษาศาลชั้นต้น และศาลอุทธรณ์ ให้ศาลชั้นต้นสืบพยานแล้วพิพากษาใหม่ เมื่อพยานโจทก์ที่ศาลชั้นต้นสั่งงดสืบเป็นพยานของพนักงานอัยการโจทก์แต่พนักงานอัยการโจทก์ไม่อุทธรณ์ฎีกา และโจทก์ร่วมแถลงไม่สืบพยาน ดังนี้ ศาลฎีกาย่อมสั่งให้ศาลชั้นต้นสืบพยานเฉพาะพยานจำเลยเท่านั้น
คดีที่ผู้เสียหายเข้าเป็นโจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการโจทก์ ศาลชั้นต้นงดสืบพยานโจทก์และจำเลยแล้วพิพากษายกฟ้อง พนักงานอัยการโจทก์ไม่อุทธรณ์ ฎีกา แต่โจทก์ร่วมได้อุทธรณ์ฎีกา ศาลฎีกาพิพากษาให้ยกคำพิพากษาศาลชั้นต้น และศาลอุทธรณ์ ให้ศาลชั้นต้นสืบพยานแล้วพิพากษาใหม่ เมื่อพยานโจทก์ที่ศาลชั้นต้นสั่งงดสืบเป็นพยานของพนักงานอัยการโจทก์แต่พนักงานอัยการโจทก์ไม่อุทธรณ์ฎีกา และโจทก์ร่วมแถลงไม่สืบพยาน ดังนี้ ศาลฎีกาย่อมสั่งให้ศาลชั้นต้นสืบพยานเฉพาะพยานจำเลยเท่านั้น