พบผลลัพธ์ทั้งหมด 679 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4123/2543 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลักทรัพย์ ปลอมเอกสาร และใช้เอกสารปลอม: การพิจารณาความผิดหลายกรรม และบทลงโทษที่เหมาะสม
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 264,268,335,91 ให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาธนาณัติรวม3 ฉบับ มูลค่า 7,640 บาท ที่ยังไม่ได้คืนแก่ผู้เสียหาย จำเลยให้การรับสารภาพ ข้อเท็จจริงจึงฟังได้ดังฟ้องของโจทก์ จำเลยจะมาโต้เถียงในชั้นฎีกาว่า จำเลยไม่มีเจตนากระทำความผิดหรือการกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิดหาได้ไม่ เพราะเป็นการโต้เถียงข้อเท็จจริงที่จำเลยให้การรับสารภาพแล้ว ทั้งยังเป็นการยกข้อเท็จจริงขึ้นอ้างใหม่ในชั้นฎีกาซึ่งเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์อีกด้วย
ฎีกาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249 วรรคหนึ่ง ประกอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15 แม้ผู้พิพากษาซึ่งพิจารณาและลงชื่อในคำพิพากษาศาลชั้นต้นอนุญาตให้ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง ศาลฎีกาก็ไม่รับวินิจฉัย
แม้ตามคำบรรยายฟ้องของโจทก์ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำความผิดฐานลักทรัพย์ธนาณัติของโจทก์ร่วมและฐานปลอมลายมือชื่อของโจทก์ร่วมลงในช่องผู้มอบฉันทะให้รับเงินจากที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขแทนโจทก์ร่วมจะบรรยายให้เห็นถึงการกระทำของจำเลยแยกเป็นข้อ ๆก็ตาม แต่จากพฤติการณ์แห่งการกระทำของจำเลยในส่วนการลักธนาณัติของโจทก์ร่วมไปแล้วปลอมลายมือชื่อของโจทก์ร่วมในช่องผู้มอบฉันทะให้รับเงินแทนและนำธนาณัติไปใช้ยื่นต่อพนักงานของที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขเพื่อให้จ่ายเงินตามธนาณัติ เป็นการที่จำเลยได้กระทำการทั้งหลายอย่างต่อเนื่องกัน โดยจำเลยมีเจตนาอย่างเดียวคือให้พนักงานของที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขหลงเชื่อว่าเอกสารต่าง ๆ ที่จำเลยได้ทำปลอมขึ้นเป็นเอกสารที่แท้จริงเพื่อจะได้จ่ายเงินตามจำนวนในธนาณัติให้แก่จำเลยเท่านั้น การกระทำของจำเลยในส่วนที่เกี่ยวกับความผิดฐานลักทรัพย์ธนาณัติของโจทก์ร่วมกับฐานปลอมเอกสารและใช้เอกสารปลอมโดยจำเลยเป็นผู้ปลอมเอกสารเองซึ่งต้องลงโทษฐานใช้เอกสารปลอมแต่กระทงเดียว เป็นการกระทำกรรมเดียวแต่ผิดต่อกฎหมายหลายบทต้องลงโทษฐานลักทรัพย์ที่เป็นของนายจ้างตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 335(11) วรรคแรก ซึ่งเป็นบทที่มีโทษหนักที่สุดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 90
แม้ว่าจำเลยให้การรับสารภาพตามฟ้องโจทก์ ก็เป็นการรับสารภาพว่าได้กระทำการต่าง ๆ ดังที่โจทก์ฟ้อง ส่วนจำเลยจะมีความผิดตามบทกฎหมายใดหรือไม่ เป็นอำนาจของศาลจะพิจารณาวินิจฉัย
จำเลยกระทำความผิดฐานลักทรัพย์ ฐานปลอมเอกสารและใช้เอกสารปลอมเกี่ยวกับธนาณัติของโจทก์ร่วมรวม 3 ฉบับซึ่งแต่ละฉบับจำเลยได้กระทำการต่าง ๆ ต่างวันเวลากันและเป็นความผิดสำเร็จแต่ละฉบับต่างวันเวลากัน การกระทำของจำเลยในส่วนนี้จึงเป็นความผิด 3 กรรมต่างกัน ต้องลงโทษทุกกรรมเป็นกระทงความผิดไปตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 91
ฎีกาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249 วรรคหนึ่ง ประกอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15 แม้ผู้พิพากษาซึ่งพิจารณาและลงชื่อในคำพิพากษาศาลชั้นต้นอนุญาตให้ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง ศาลฎีกาก็ไม่รับวินิจฉัย
แม้ตามคำบรรยายฟ้องของโจทก์ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำความผิดฐานลักทรัพย์ธนาณัติของโจทก์ร่วมและฐานปลอมลายมือชื่อของโจทก์ร่วมลงในช่องผู้มอบฉันทะให้รับเงินจากที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขแทนโจทก์ร่วมจะบรรยายให้เห็นถึงการกระทำของจำเลยแยกเป็นข้อ ๆก็ตาม แต่จากพฤติการณ์แห่งการกระทำของจำเลยในส่วนการลักธนาณัติของโจทก์ร่วมไปแล้วปลอมลายมือชื่อของโจทก์ร่วมในช่องผู้มอบฉันทะให้รับเงินแทนและนำธนาณัติไปใช้ยื่นต่อพนักงานของที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขเพื่อให้จ่ายเงินตามธนาณัติ เป็นการที่จำเลยได้กระทำการทั้งหลายอย่างต่อเนื่องกัน โดยจำเลยมีเจตนาอย่างเดียวคือให้พนักงานของที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขหลงเชื่อว่าเอกสารต่าง ๆ ที่จำเลยได้ทำปลอมขึ้นเป็นเอกสารที่แท้จริงเพื่อจะได้จ่ายเงินตามจำนวนในธนาณัติให้แก่จำเลยเท่านั้น การกระทำของจำเลยในส่วนที่เกี่ยวกับความผิดฐานลักทรัพย์ธนาณัติของโจทก์ร่วมกับฐานปลอมเอกสารและใช้เอกสารปลอมโดยจำเลยเป็นผู้ปลอมเอกสารเองซึ่งต้องลงโทษฐานใช้เอกสารปลอมแต่กระทงเดียว เป็นการกระทำกรรมเดียวแต่ผิดต่อกฎหมายหลายบทต้องลงโทษฐานลักทรัพย์ที่เป็นของนายจ้างตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 335(11) วรรคแรก ซึ่งเป็นบทที่มีโทษหนักที่สุดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 90
แม้ว่าจำเลยให้การรับสารภาพตามฟ้องโจทก์ ก็เป็นการรับสารภาพว่าได้กระทำการต่าง ๆ ดังที่โจทก์ฟ้อง ส่วนจำเลยจะมีความผิดตามบทกฎหมายใดหรือไม่ เป็นอำนาจของศาลจะพิจารณาวินิจฉัย
จำเลยกระทำความผิดฐานลักทรัพย์ ฐานปลอมเอกสารและใช้เอกสารปลอมเกี่ยวกับธนาณัติของโจทก์ร่วมรวม 3 ฉบับซึ่งแต่ละฉบับจำเลยได้กระทำการต่าง ๆ ต่างวันเวลากันและเป็นความผิดสำเร็จแต่ละฉบับต่างวันเวลากัน การกระทำของจำเลยในส่วนนี้จึงเป็นความผิด 3 กรรมต่างกัน ต้องลงโทษทุกกรรมเป็นกระทงความผิดไปตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 91
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3779/2543 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองอาวุธปืนของผู้อื่นเพื่อป้องกันตัว ไม่ถือว่ามีความผิดฐานมีอาวุธปืนไว้ในครอบครอง
จำเลยใช้อาวุธปืนของผู้อื่นที่ได้รับใบอนุญาตให้มีและใช้จากนายทะเบียนท้องที่ตามกฎหมายในลักษณะป้องกันตัวและใช้ในชั่วระยะเวลาอันสั้น โดยไม่ปรากฏเจตนาจะยึดถืออาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนดังกล่าวไว้เพื่อครอบครองทั้งในขณะเกิดเหตุผู้เป็นเจ้าของก็อยู่ในบ้านที่เกิดเหตุด้วย ถือไม่ได้ว่าจำเลยครอบครองอาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนดังกล่าว จำเลยจึงไม่มีความผิดฐานมีอาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนของผู้อื่นไว้ในครอบครองโดยมิได้รับใบอนุญาต แม้จำเลยให้การรับสารภาพ แต่เมื่อโจทก์สืบพยานหลักฐานในข้อหาพยายามฆ่าผู้อื่นแล้วปรากฏข้อเท็จจริงว่าจำเลยไม่ได้กระทำผิดฐานมีอาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนตามฟ้องศาลย่อมพิพากษายกฟ้องข้อหานี้ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 185
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3779/2543 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองอาวุธปืนของผู้อื่นเพื่อป้องกันตัว ไม่ถือว่ามีความผิดฐานครอบครองอาวุธปืนโดยมิได้รับอนุญาต
จำเลยใช้อาวุธปืนของผู้อื่นที่ได้รับใบอนุญาตให้มีและใช้จากนายทะเบียนท้องที่ตามกฎหมายในลักษณะป้องกันตัวและใช้ในชั่วระยะเวลาอันสั้นโดยไม่ปรากฏเจตนาจะยึดถืออาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนดังกล่าวไว้เพื่อครอบครองทั้งในขณะเกิดเหตุผู้เป็นเจ้าของก็อยู่ในบ้านที่เกิดเหตุด้วย ถือไม่ได้ว่าจำเลยครอบครองอาวุธปืนและเครื่องกระสุนดังกล่าว จำเลยจึงไม่มีความผิดฐานมีอาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนของผู้อื่นไว้ในครอบครองโดยมิได้รับใบอนุญาต แม้จำเลยให้การรับสารภาพแต่เมื่อโจทก์สืบพยานหลักฐานในข้อหาพยายามฆ่าผู้อื่นแล้วปรากฏข้อเท็จจริงว่าจำเลยไม่ได้กระทำผิดฐานมีอาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนตามฟ้อง ศาลย่อมพิพากษายกฟ้องข้อหานี้ได้ตาม ป.วิ.อ.มาตรา 185
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1566/2543 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานทำไม้ในเขตป่าสงวน, ครอบครองไม้หวงห้าม และยึดครองที่ดินในเขตป่าสงวน ถือเป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน
ความผิดฐานทำไม้ในเขตป่าสงวนแห่งชาติโดยไม่ได้รับใบอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ.ป่าไม้ พ.ศ.2484 มาตรา 11, 73 วรรคสอง(2)และ พ.ร.บ.ป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ.2507 มาตรา 14, 31 วรรคสอง กับความผิดฐานมีไว้ในครอบครองซึ่งไม้หวงห้ามอันยังมิได้แปรรูป โดยไม้ดังกล่าวไม่มีรอยตราค่าภาคหลวงหรือรอยตรารัฐบาลขายและพิสูจน์ไม่ได้ว่าได้ไม้ดังกล่าวมาโดยชอบด้วยกฎหมายตาม พ.ร.บ.ป่าไม้ พ.ศ.2484 มาตรา 69 วรรคสอง ต่างเป็นความผิดสำเร็จในตัวเอง แม้จำเลยกระทำความผิดในวันเดียวกันก็เป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน สำหรับความผิดฐานเข้าไปยึดถือครอบครองที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ตามพ.ร.บ.ป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ.2507 มาตรา 14, 31 เป็นความผิดสำเร็จทันทีที่จำเลยเข้าไปยึดถือครอบครองที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ เป็นความผิดต่างกรรมกันกับความผิดสองกรรมดังกล่าวมาข้างต้น จึงต้องลงโทษจำเลยทุกกรรมเป็นกระทงความผิดไปตาม ป.อ.มาตรา 91
จำเลยให้การรับสารภาพตามฟ้องแล้ว จึงต้องฟังตามคำรับสารภาพของจำเลยว่าจำเลยมีเจตนากระทำความผิดตามฟ้องโจทก์ จำเลยจะฎีกาโต้เถียงว่าจำเลยไม่มีเจตนากระทำความผิดหาได้ไม่ เพราะไม่ใช่ข้อเท็จจริงที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลชั้นต้น จึงต้องห้ามมิให้ฎีกาตาม ป.วิ.พ.มาตรา 249 วรรคหนึ่ง ประกอบด้วย ป.วิ.อ.มาตรา 15
โจทก์บรรยายฟ้องในความผิดฐานเข้าไปยึดถือครอบครองที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติว่า จำเลยเข้าไปยึดถือครอบครองที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติโดยทำไร่และทำคอกเลี้ยงโค กระบือ เนื้อที่จำนวน 5 ไร่ อันเป็นการทำให้เกิดการเสื่อมเสียแก่สภาพป่าสงวนแห่งชาติ เป็นการบรรยายถึงการกระทำทั้งหลายที่อ้างว่าจำเลยกระทำผิดตาม พ.ร.บ.ป่าสงวนแห่งชาติฯ มาตรา 14, 31 วรรคหนึ่ง เท่านั้นการที่ศาลล่างทั้งสองปรับบทลงโทษจำเลยในความผิดฐานเข้าไปยึดถือครอบครองที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติโดยไม่ได้ระบุว่าเป็นมาตรา 31 วรรคหนึ่ง เป็นการไม่ชัดเจนศาลฎีกามีอำนาจแก้ไขให้ถูกต้องได้
จำเลยให้การรับสารภาพตามฟ้องแล้ว จึงต้องฟังตามคำรับสารภาพของจำเลยว่าจำเลยมีเจตนากระทำความผิดตามฟ้องโจทก์ จำเลยจะฎีกาโต้เถียงว่าจำเลยไม่มีเจตนากระทำความผิดหาได้ไม่ เพราะไม่ใช่ข้อเท็จจริงที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลชั้นต้น จึงต้องห้ามมิให้ฎีกาตาม ป.วิ.พ.มาตรา 249 วรรคหนึ่ง ประกอบด้วย ป.วิ.อ.มาตรา 15
โจทก์บรรยายฟ้องในความผิดฐานเข้าไปยึดถือครอบครองที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติว่า จำเลยเข้าไปยึดถือครอบครองที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติโดยทำไร่และทำคอกเลี้ยงโค กระบือ เนื้อที่จำนวน 5 ไร่ อันเป็นการทำให้เกิดการเสื่อมเสียแก่สภาพป่าสงวนแห่งชาติ เป็นการบรรยายถึงการกระทำทั้งหลายที่อ้างว่าจำเลยกระทำผิดตาม พ.ร.บ.ป่าสงวนแห่งชาติฯ มาตรา 14, 31 วรรคหนึ่ง เท่านั้นการที่ศาลล่างทั้งสองปรับบทลงโทษจำเลยในความผิดฐานเข้าไปยึดถือครอบครองที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติโดยไม่ได้ระบุว่าเป็นมาตรา 31 วรรคหนึ่ง เป็นการไม่ชัดเจนศาลฎีกามีอำนาจแก้ไขให้ถูกต้องได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1566/2543
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานทำไม้และยึดครองที่ดินในเขตป่าสงวนฯ ศาลยืนโทษฐานความผิดหลายกรรมต่างกัน
ความผิดฐานทำไม้ในเขตป่าสงวนแห่งชาติโดยไม่ได้รับใบอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484 มาตรา 11,73 วรรคสอง และพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507มาตรา 14,31 วรรคสอง กับความผิดฐานมีไว้ในครอบครองซึ่งไม้หวงห้ามอันยังมิได้แปรรูป โดยไม้ดังกล่าวไม่มีรอยตราค่าภาคหลวงหรือรอยตรารัฐบาลขายและพิสูจน์ไม่ได้ว่าได้ไม้ดังกล่าวมาโดยชอบด้วยกฎหมายตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484 มาตรา 69 วรรคสอง ต่างเป็นความผิดสำเร็จในตัวเอง แม้จำเลยกระทำความผิดในวันเดียวกันก็เป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน สำหรับความผิดฐานเข้าไปยึดถือครอบครองที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ตามพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507มาตรา 14,31 เป็นความผิดสำเร็จทันทีที่จำเลยเข้าไปยึดถือครอบครองที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ เป็นความผิดต่างกรรมกันกับความผิดสองกรรมดังกล่าวมาข้างต้น จึงต้องลงโทษจำเลยทุกกรรมเป็นกระทงความผิดไปตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91
จำเลยให้การรับสารภาพตามฟ้องแล้ว จึงต้องฟังตามคำรับสารภาพของจำเลยว่าจำเลยมีเจตนากระทำความผิดตามฟ้องโจทก์ จำเลยจะฎีกาโต้เถียงว่าจำเลยไม่มีเจตนากระทำความผิดหาได้ไม่ เพราะไม่ใช่ข้อเท็จจริงที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลชั้นต้น จึงต้องห้ามมิให้ฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 วรรคหนึ่ง ประกอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15
โจทก์บรรยายฟ้องในความผิดฐานเข้าไปยึดถือครอบครองที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติว่า จำเลยเข้าไปยึดถือครอบครองที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติโดยทำไร่และทำคอกเลี้ยงโค กระบือ เนื้อที่จำนวน 5 ไร่ อันเป็นการทำให้เกิดการเสื่อมเสียแก่สภาพป่าสงวนแห่งชาติ เป็นการบรรยายถึงการกระทำทั้งหลายที่อ้างว่าจำเลยกระทำผิดตามพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติฯมาตรา 14,31 วรรคหนึ่ง เท่านั้น การที่ศาลล่างทั้งสองปรับบทลงโทษจำเลยในความผิดฐานเข้าไปยึดถือครอบครองที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติโดยไม่ได้ระบุว่าเป็นมาตรา 31 วรรคหนึ่ง เป็นการไม่ชัดเจน ศาลฎีกามีอำนาจแก้ไขให้ถูกต้องได้
จำเลยให้การรับสารภาพตามฟ้องแล้ว จึงต้องฟังตามคำรับสารภาพของจำเลยว่าจำเลยมีเจตนากระทำความผิดตามฟ้องโจทก์ จำเลยจะฎีกาโต้เถียงว่าจำเลยไม่มีเจตนากระทำความผิดหาได้ไม่ เพราะไม่ใช่ข้อเท็จจริงที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลชั้นต้น จึงต้องห้ามมิให้ฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 วรรคหนึ่ง ประกอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15
โจทก์บรรยายฟ้องในความผิดฐานเข้าไปยึดถือครอบครองที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติว่า จำเลยเข้าไปยึดถือครอบครองที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติโดยทำไร่และทำคอกเลี้ยงโค กระบือ เนื้อที่จำนวน 5 ไร่ อันเป็นการทำให้เกิดการเสื่อมเสียแก่สภาพป่าสงวนแห่งชาติ เป็นการบรรยายถึงการกระทำทั้งหลายที่อ้างว่าจำเลยกระทำผิดตามพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติฯมาตรา 14,31 วรรคหนึ่ง เท่านั้น การที่ศาลล่างทั้งสองปรับบทลงโทษจำเลยในความผิดฐานเข้าไปยึดถือครอบครองที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติโดยไม่ได้ระบุว่าเป็นมาตรา 31 วรรคหนึ่ง เป็นการไม่ชัดเจน ศาลฎีกามีอำนาจแก้ไขให้ถูกต้องได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1496/2543
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิสูจน์ความผิดฐานมียาเสพติดเพื่อจำหน่ายต้องมีพยานหลักฐานชัดเจน แม้จำเลยให้การรับสารภาพ
ในความผิดฐานมียาเสพติดให้โทษไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่ายโจทก์ไม่มีพยานนำสืบให้ชัดแจ้งว่า จำเลยมีพฤติการณ์ในการจำหน่ายประการใดบ้าง ส่วนคำรับสารภาพของจำเลยในชั้นจับกุมและชั้นสอบสวน เป็นเพียงพยานบอกเล่ามีน้ำหนักน้อย ทั้งจำเลยก็ได้ให้การปฏิเสธในชั้นพิจารณา จึงไม่อาจอาศัยมาฟังลงโทษจำเลยได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นความผิดที่มีโทษฉกรรจ์ ซึ่งตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเป็นหน้าที่ของโจทก์จะต้องนำพยานเข้าสืบประกอบ แม้จำเลยจะให้การรับสารภาพพยานหลักฐานโจทก์จึงไม่พอฟังลงโทษจำเลยฐานมียาเสพติดให้โทษไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่าย
เจ้าพนักงานผู้จับกุมได้พบตัวจำเลยขณะขับรถโดยสารประจำทางจึงได้ติดตามไปทำการจับกุมและตรวจค้นในทันทีทันใด ที่จำเลยขับรถเข้าไปจอดในอู่รถโดยสารประจำทาง มิฉะนั้น จำเลยย่อมหลบหนีหรือเคลื่อนย้ายยาเสพติดให้โทษของกลางไปได้ เป็นกรณีที่เจ้าพนักงานผู้จับกุมสามารถค้นได้โดยไม่ต้องมีหมายค้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 92(4)
ที่จำเลยฎีกาว่า มีปัญหาส่วนตัวกับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้หนึ่งซึ่งเป็นผู้จับกุมด้วย ก็มิได้ปรากฏว่า มีข้อเท็จจริงใด ๆ เป็นการยืนยันว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้นั้นคือใครและได้กระทำการอันมิชอบแต่ประการใด จึงไม่เป็นสาระที่จะเปลี่ยนแปลงผลแห่งคำวินิจฉัยของศาลอุทธรณ์ได้
เจ้าพนักงานผู้จับกุมได้พบตัวจำเลยขณะขับรถโดยสารประจำทางจึงได้ติดตามไปทำการจับกุมและตรวจค้นในทันทีทันใด ที่จำเลยขับรถเข้าไปจอดในอู่รถโดยสารประจำทาง มิฉะนั้น จำเลยย่อมหลบหนีหรือเคลื่อนย้ายยาเสพติดให้โทษของกลางไปได้ เป็นกรณีที่เจ้าพนักงานผู้จับกุมสามารถค้นได้โดยไม่ต้องมีหมายค้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 92(4)
ที่จำเลยฎีกาว่า มีปัญหาส่วนตัวกับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้หนึ่งซึ่งเป็นผู้จับกุมด้วย ก็มิได้ปรากฏว่า มีข้อเท็จจริงใด ๆ เป็นการยืนยันว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้นั้นคือใครและได้กระทำการอันมิชอบแต่ประการใด จึงไม่เป็นสาระที่จะเปลี่ยนแปลงผลแห่งคำวินิจฉัยของศาลอุทธรณ์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1496/2543 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิสูจน์ความผิดฐานมียาเสพติดเพื่อจำหน่าย จำเลยปฏิเสธ พยานหลักฐานโจทก์ไม่พอฟัง
ในความผิดฐานมียาเสพติดให้โทษไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่ายโจทก์ไม่มีพยานนำสืบให้ชัดแจ้งว่า จำเลยมีพฤติการณ์ในการจำหน่ายประการใดบ้างส่วนคำรับสารภาพของจำเลยในชั้นจับกุมและชั้นสอบสวน เป็นเพียงพยานบอกเล่ามีน้ำหนักน้อย ทั้งจำเลยก็ได้ให้การปฏิเสธในชั้นพิจารณา จึงไม่อาจอาศัยมาฟังลงโทษจำเลยได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นความผิดที่มีโทษฉกรรจ์ ซึ่งตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเป็นหน้าที่ของโจทก์จะต้องนำพยานเข้าสืบประกอบ แม้จำเลยจะให้การรับสารภาพพยานหลักฐานโจทก์จึงไม่พอฟังลงโทษจำเลยฐานมียาเสพติดให้โทษไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่าย
เจ้าพนักงานผู้จับกุมได้พบตัวจำเลยขณะขับรถโดยสารประจำทางจึงได้ติดตามไปทำการจับกุมและตรวจค้นในทันทีทันใด ที่จำเลยขับรถเข้าไปจอดในอู่รถโดยสารประจำทาง มิฉะนั้น จำเลยย่อมหลบหนีหรือเคลื่อนย้ายยาเสพติดให้โทษของกลางไปได้ เป็นกรณีที่เจ้าพนักงานผู้จับกุมสามารถค้นได้โดยไม่ต้องมีหมายค้นตาม ป.วิ.อ.มาตรา 92(4)
ที่จำเลยฎีกาว่า มีปัญหาส่วนตัวกับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้หนึ่งซึ่งเป็นผู้จับกุมด้วย ก็มิได้ปรากฏว่า มีข้อเท็จจริงใด ๆ เป็นการยืนยันว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้นั้นคือใครและได้กระทำการอันมิชอบแต่ประการใด จึงไม่เป็นสาระที่จะเปลี่ยนแปลงผลแห่งคำวินิจฉัยของศาลอุทธรณ์ได้
เจ้าพนักงานผู้จับกุมได้พบตัวจำเลยขณะขับรถโดยสารประจำทางจึงได้ติดตามไปทำการจับกุมและตรวจค้นในทันทีทันใด ที่จำเลยขับรถเข้าไปจอดในอู่รถโดยสารประจำทาง มิฉะนั้น จำเลยย่อมหลบหนีหรือเคลื่อนย้ายยาเสพติดให้โทษของกลางไปได้ เป็นกรณีที่เจ้าพนักงานผู้จับกุมสามารถค้นได้โดยไม่ต้องมีหมายค้นตาม ป.วิ.อ.มาตรา 92(4)
ที่จำเลยฎีกาว่า มีปัญหาส่วนตัวกับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้หนึ่งซึ่งเป็นผู้จับกุมด้วย ก็มิได้ปรากฏว่า มีข้อเท็จจริงใด ๆ เป็นการยืนยันว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้นั้นคือใครและได้กระทำการอันมิชอบแต่ประการใด จึงไม่เป็นสาระที่จะเปลี่ยนแปลงผลแห่งคำวินิจฉัยของศาลอุทธรณ์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 483/2543 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พ.ร.บ.ล้างมลทินไม่ลบล้างประวัติความผิดเดิม ศาลใช้ประกอบดุลยพินิจลงโทษได้
พ.ร.บ.ล้างมลทินในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี พ.ศ. 2539 มาตรา 4 ที่บัญญัติให้ล้างมลทินให้แก่บรรดาผู้ต้องโทษในกรณีความผิดต่าง ๆ ซึ่งได้กระทำก่อนหรือในวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2539 และได้พ้นโทษไปแล้วก่อนหรือในวันที่ พ.ร.บ.ฉบับดังกล่าวใช้บังคับ หรือซึ่งได้พ้นโทษไปโดยผลแห่ง พ.ร.ฎ.พระราชทานอภัยโทษพ.ศ. 2539 โดยให้ถือว่าผู้นั้นมิได้เคยถูกลงโทษในกรณีความผิดนั้น ๆ มีผลเพียงให้ถือว่าผู้ต้องโทษไม่เคยถูกลงโทษจำคุกเท่านั้น มิได้มีผลถึงกับให้ถือว่าความประพฤติหรือการกระทำอันเป็นเหตุให้บุคคลผู้นั้นถูกลงโทษจำคุกถูกลบล้างไปด้วย ศาลล่างทั้งสองจึงนำข้อเท็จจริงที่ว่าจำเลยเคยกระทำความผิดมาก่อนในคดีความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษตามที่ปรากฏในรายงานการสืบเสาะและพินิจ มาประกอบการใช้ดุลพินิจไม่รอการลงโทษจำคุกให้แก่จำเลยได้
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยที่ 1 กระทำความผิดตาม พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 15 วรรคหนึ่ง ประกอบมาตรา 67 ซึ่งระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี และปรับตั้งแต่หนึ่งหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาท จำเลยให้การรับสารภาพตามฟ้อง ศาลล่างทั้งสองจึงมีอำนาจพิพากษาลงโทษจำเลยได้โดยไม่จำต้องสืบพยานหลักฐาน ตาม ป.วิ.อ.มาตรา 176 วรรคหนึ่ง
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยที่ 1 กระทำความผิดตาม พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 15 วรรคหนึ่ง ประกอบมาตรา 67 ซึ่งระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี และปรับตั้งแต่หนึ่งหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาท จำเลยให้การรับสารภาพตามฟ้อง ศาลล่างทั้งสองจึงมีอำนาจพิพากษาลงโทษจำเลยได้โดยไม่จำต้องสืบพยานหลักฐาน ตาม ป.วิ.อ.มาตรา 176 วรรคหนึ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 483/2543 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลกระทบของ พ.ร.บ.ล้างมลทิน ต่อการพิจารณาโทษจำเลย และอำนาจศาลในการลงโทษจากคำรับสารภาพ
พระราชบัญญัติล้างมลทินในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงครองราชสิริราชสมบัติครบ 50 ปี พ.ศ. 2539 มาตรา 4 ที่บัญญัติให้ล้างมลทินให้แก่บรรดาผู้ต้องโทษในกรณีความผิดต่าง ๆ ซึ่งได้กระทำก่อนหรือในวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2539 และได้พ้นโทษไปแล้วก่อนหรือในวันที่พระราชบัญญัติฉบับดังกล่าวใช้บังคับ หรือซึ่งได้พ้นโทษไปโดยผลแห่งพระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษ พ.ศ. 2539โดยให้ถือว่าผู้นั้นมิได้เคยถูกลงโทษในกรณีความผิดนั้น ๆ มีผลเพียงให้ถือว่าผู้ต้องโทษไม่เคยถูกลงโทษจำคุกเท่านั้น มิได้มีผลถึงกับให้ถือว่าความประพฤติหรือการกระทำอันเป็นเหตุให้บุคคลผู้นั้นถูกลงโทษจำคุกถูกลบล้างไปด้วย ศาลล่างทั้งสอง จึงนำข้อเท็จจริงที่ว่าจำเลยเคยกระทำความผิดมาก่อนในคดีความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษตามที่ปรากฏในรายงานการสืบเสาะและพินิจ มาประกอบการใช้ดุลพินิจไม่รอการลงโทษจำคุกให้แก่จำเลยได้
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยที่ 1 กระทำความผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 15 วรรคหนึ่ง ประกอบมาตรา 67 ซึ่งระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี และปรับตั้งแต่หนึ่งหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาทจำเลยให้การรับสารภาพตามฟ้อง ศาลล่างทั้งสองจึงมีอำนาจพิพากษาลงโทษจำเลยได้โดยไม่จำต้องสืบพยานหลักฐาน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 176 วรรคหนึ่ง
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยที่ 1 กระทำความผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 15 วรรคหนึ่ง ประกอบมาตรา 67 ซึ่งระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี และปรับตั้งแต่หนึ่งหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาทจำเลยให้การรับสารภาพตามฟ้อง ศาลล่างทั้งสองจึงมีอำนาจพิพากษาลงโทษจำเลยได้โดยไม่จำต้องสืบพยานหลักฐาน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 176 วรรคหนึ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 243/2543
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับสารภาพโดยไม่สมัครใจและการเพิกถอนกระบวนพิจารณา ศาลฎีกาวินิจฉัยว่าคำรับสารภาพชอบด้วยกฎหมาย
คดีนี้มิใช่เป็นคดีที่มีอัตราโทษอย่างต่ำจำคุกตั้งแต่ห้าปีขึ้นไป เมื่อจำเลยให้การรับสารภาพในชั้นพิจารณา ศาลย่อมพิพากษาโดยไม่จำต้องสืบพยานหลักฐานต่อไปก็ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 176 วรรคหนึ่ง เมื่อไม่ปรากฏว่าคำรับสารภาพของจำเลยไม่ชอบด้วยกฎหมายอย่างไร และศาลชั้นต้นได้พิพากษาไปตามคำรับสารภาพนั้น กระบวนพิจารณาของศาลชั้นต้นจึงเป็นไปตามกฎหมาย หากคู่ความไม่พอใจย่อมมีสิทธิที่จะอุทธรณ์หรือฎีกาได้ แต่ไม่มีสิทธิขอให้ศาลชั้นต้นเพิกถอนกระบวนพิจารณาแล้วพิพากษาใหม่ ที่จำเลยฎีกาว่าจำเลยให้การรับสารภาพโดยไม่สมัครใจ และเข้าใจผิดว่าเป็นการถามชื่อจำเลย จึงให้การรับสารภาพไปเป็นความเข้าใจผิดของจำเลยเอง จึงไม่อาจยกเป็นข้อต่อสู้ได