พบผลลัพธ์ทั้งหมด 144 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 557/2515
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษอาญาซ้ำจากประวัติอาชญากรรม โดยคำรับของจำเลยเพียงพอต่อการพิพากษา
โจทก์ขอให้เพิ่มโทษจำเลยโดยบรรยายมาในคำฟ้องครบถ้วนเข้าเกณฑ์ที่จะเพิ่มโทษได้แล้ว เมื่อจำเลยรับว่าเคยต้องโทษและพ้นมาจริงตามฟ้อง โจทก์ไม่จำต้องสืบพยานอีก ศาลก็พิพากษาเพิ่มโทษจำเลยตามคำรับนั้นได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1698/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษอาญาตามกระทงความผิด แม้ไม่เข้าเกณฑ์มาตรา 93 ก็เพิ่มโทษตามมาตรา 92 ได้
เมื่อศาลพิพากษาเรียงกระทงลงโทษและความผิดแต่ละกระทงที่ลงโทษเข้าเกณฑ์ที่จะเพิ่มโทษได้ ย่อมเพิ่มโทษได้ทุกกระทงความผิดที่ลงโทษนั้น
โจทก์ขอให้เพิ่มโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 93เมื่อไม่เข้าเกณฑ์ที่จะเพิ่มโทษตามมาตรา 93 แต่เข้าเกณฑ์เพิ่มโทษตามมาตรา 92 ได้ ศาลย่อมเพิ่มโทษตามมาตรา 92 ซึ่งเป็นบทที่เบากว่าให้ได้
โจทก์ขอให้เพิ่มโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 93เมื่อไม่เข้าเกณฑ์ที่จะเพิ่มโทษตามมาตรา 93 แต่เข้าเกณฑ์เพิ่มโทษตามมาตรา 92 ได้ ศาลย่อมเพิ่มโทษตามมาตรา 92 ซึ่งเป็นบทที่เบากว่าให้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1698/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษอาญาตามกระทงความผิดที่เข้าเกณฑ์ แม้ขอเพิ่มโทษตามมาตราที่เบากว่าก็ทำได้
เมื่อศาลพิพากษาเรียงกระทงลงโทษและความผิดแต่ละกระทงที่ลงโทษเข้าเกณฑ์ที่จะเพิ่มโทษได้ ย่อมเพิ่มโทษได้ทุกกระทงความผิดที่ลงโทษนั้น
โจทก์ขอให้เพิ่มโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 93เมื่อไม่เข้าเกณฑ์ที่จะเพิ่มโทษตามมาตรา 93 แต่เข้าเกณฑ์เพิ่มโทษตามมาตรา 92 ได้ ศาลย่อมเพิ่มโทษตามมาตรา 92 ซึ่งเป็นบทที่เบากว่าให้ได้
โจทก์ขอให้เพิ่มโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 93เมื่อไม่เข้าเกณฑ์ที่จะเพิ่มโทษตามมาตรา 93 แต่เข้าเกณฑ์เพิ่มโทษตามมาตรา 92 ได้ ศาลย่อมเพิ่มโทษตามมาตรา 92 ซึ่งเป็นบทที่เบากว่าให้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1275/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษจำคุกฐานหลบหนีระหว่างถูกกักขังแทนค่าปรับ แม้ยังไม่เริ่มรับโทษจำคุกในคดีอื่น
จำเลยต้องคำพิพากษาของศาล คดีถึงที่สุดแล้ว 2 คดี คดีแรกฐานมีอาวุธปืนไม่รับอนุญาตต้องโทษปรับ คดีหลังฐานรับของโจรต้องโทษจำคุกนับโทษติดต่อจากคดีแรกแม้จำเลยกระทำความผิดในคดีนี้หลบหนีที่คุมขังไปในระหว่างถูกกักขังแทนค่าปรับในคดีแรก ยังไม่เริ่มรับโทษจำคุกในคดีหลังก็ดี ถือได้ว่าจำเลยได้กระทำความผิดอีกในระหว่างที่ยังจะต้องรับโทษอยู่ เข้าเกณฑ์ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 92 เพิ่มโทษจำเลยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1275/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษจำเลยในคดีหลบหนีระหว่างต้องรับโทษคดีอื่น แม้ยังไม่เริ่มรับโทษจำคุก
จำเลยต้องคำพิพากษาของศาล คดีถึงที่สุดแล้ว 2 คดี คดีแรกฐานมีอาวุธปืนไม่รับอนุญาตต้องโทษปรับ คดีหลังฐานรับของโจรต้องโทษจำคุกนับโทษติดต่อจากคดีแรก แม้จำเลยกระทำความผิดในคดีนี้หลบหนีที่คุมขังไปในระหว่างถูกกักขังแทนค่าปรับในคดีแรก ยังไม่เริ่มรับโทษจำคุกในคดีหลังก็ดี ถือได้ว่าจำเลยได้กระทำความผิดอีกในระหว่างที่ยังจะต้องรับโทษอยู่ เข้าเกณฑ์ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 92 เพิ่มโทษจำเลยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 632/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การล้างมลทินตาม พ.ร.บ.ล้างมลทินฯ และผลต่อการเพิ่มโทษซ้ำ จำเลยต้องพ้นโทษก่อนวันใช้บังคับกฎหมาย
พระราชบัญญัติล้างมลทินในโอกาสครบ 25 พุทธศตวรรษ พ.ศ. 2499 มาตรา 3 ล้างมลทินให้แต่เฉพาะผู้ต้องคำพิพากษาให้ลงโทษที่ได้พ้นโทษไปแล้วก่อนหรือวันที่กฎหมายนี้ใช้บังคับ คือ วันที่ 13 พฤษภาคม 2500เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่าในวันดังกล่าว จำเลยยังรับโทษกักกันอยู่ในคดีก่อนจำเลยจึงไม่ได้รับการล้างมลทิน และเมื่อจำเลยกระทำผิดฐานลักทรัพย์ภายในระยะ 10 ปี นับแต่วันที่จำเลยพ้นจากการกักกันในคดีก่อนศาลย่อมพิพากษาให้กักกันจำเลยอีกได้ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 41
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 632/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การล้างมลทินตาม พ.ร.บ.ล้างมลทินฯ และการเพิ่มโทษทางอาญา กรณีพ้นโทษหลังวันที่กฎหมายใช้บังคับ
พระราชบัญญัติล้างมลทินในโอกาสครบ 25 พุทธศตวรรษ พ.ศ. 2499มาตรา 3 ล้างมลทินให้แต่เฉพาะผู้ต้องคำพิพากษาให้ลงโทษที่ได้พ้นโทษไปแล้วก่อนหรือวันที่กฎหมายนี้ใช้บังคับ คือ วันที่ 13 พฤษภาคม 2500เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่าในวันดังกล่าว จำเลยยังรับโทษกักกันอยู่ในคดีก่อนจำเลยจึงไม่ได้รับการล้างมลทิน และเมื่อจำเลยกระทำผิดฐานลักทรัพย์ภายในระยะ 10 ปี นับแต่วันที่จำเลยพ้นจากการกักกันในคดีก่อนศาลย่อมพิพากษาให้กักกันจำเลยอีกได้ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 41
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 427/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่าจากการชิงทรัพย์และการเพิ่มโทษผู้กระทำผิดซ้ำ
การที่จำเลยใช้อาวุธปืนซึ่งเป็นอาวุธที่ร้ายแรงยิงผู้เสียหาย 2 นัดถูกที่ข้อมือขวา และที่ชายโครงหรือรักแร้ด้านหน้าข้างขวาถึงกระดูกซี่โครงหัก แม้จำเลยจะมีเจตนายิงเพื่อชิงทรัพย์ก็ตาม ก็ถือได้ว่าจำเลยมีเจตนาฆ่าผู้เสียหายด้วย เพราะจำเลยย่อมเล็งเห็นผลของการกระทำนั้นได้ว่า กระสุนปืนที่จำเลยยิงอาจทำให้ผู้เสียหายถึงแก่ความตาย แต่เมื่อผู้เสียหายไม่ตาย การกระทำของจำเลยจึงต้องเป็นความผิดฐานพยายามฆ่าผู้เสียหาย เพื่อจะเอาไว้ซึ่งผลประโยชน์อันเกิดแต่การที่จำเลยได้กระทำการชิงทรัพย์เพื่อปกปิดความผิดและเพื่อหลีกเลี่ยงให้พ้นอาญาในความผิดฐานชิงทรัพย์ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 80 อีกบทหนึ่ง หาใช่เป็นเพียงความผิดฐานชิงทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้ถูกกระทำร้ายรับอันตรายสาหัสตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 339 วรรคสาม เท่านั้นไม่
อัตราโทษสำหรับความผิดของจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา289 ที่จะพึงวางแก่จำเลยมีสถานเดียวคือ ประหารชีวิต แต่ที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 80 และมาตรา 52(1) ให้จำคุก16 ปี เห็นได้ว่าศาลอุทธรณ์ได้ลดมาตราส่วนโทษที่จะลงตามมาตรา 289 เสียหนึ่งในสามตามมาตรา 80 และ 52(1)ให้แล้ว
ตามมาตรา 51 แห่งประมวลกฎหมายอาญา จะเพิ่มโทษให้จำเลยให้ต้องจำคุกเกินกว่า 20 ปีไม่ได้ แต่ถ้าศาลวางโทษจำคุก 20 ปี เพิ่มโทษขึ้นไปแล้วลดลงคงจำคุกไม่เกิน 20 ปีได้
การที่ผู้กระทำผิดมาแล้วกลับมากระทำผิดอีกจะต้องถูกเพิ่มโทษนั้น ย่อมต้องเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 92, 93 หาใช่อยู่ในดุลพินิจของศาลที่จะเพิ่มหรือไม่เพิ่มตามที่ศาลเห็นสมควรไม่
อัตราโทษสำหรับความผิดของจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา289 ที่จะพึงวางแก่จำเลยมีสถานเดียวคือ ประหารชีวิต แต่ที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 80 และมาตรา 52(1) ให้จำคุก16 ปี เห็นได้ว่าศาลอุทธรณ์ได้ลดมาตราส่วนโทษที่จะลงตามมาตรา 289 เสียหนึ่งในสามตามมาตรา 80 และ 52(1)ให้แล้ว
ตามมาตรา 51 แห่งประมวลกฎหมายอาญา จะเพิ่มโทษให้จำเลยให้ต้องจำคุกเกินกว่า 20 ปีไม่ได้ แต่ถ้าศาลวางโทษจำคุก 20 ปี เพิ่มโทษขึ้นไปแล้วลดลงคงจำคุกไม่เกิน 20 ปีได้
การที่ผู้กระทำผิดมาแล้วกลับมากระทำผิดอีกจะต้องถูกเพิ่มโทษนั้น ย่อมต้องเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 92, 93 หาใช่อยู่ในดุลพินิจของศาลที่จะเพิ่มหรือไม่เพิ่มตามที่ศาลเห็นสมควรไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 427/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่าจากการชิงทรัพย์และการเพิ่มโทษผู้กระทำผิดซ้ำ
การที่จำเลยใช้อาวุธปืนซึ่งเป็นอาวุธที่ร้ายแรงยิงผู้เสียหาย 2 นัดถูกที่ข้อมือขวา และที่ชายโครงหรือรักแร้ด้านหน้าข้างขวาถึงกระดูกซี่โครงหัก แม้จำเลยจะมีเจตนายิงเพื่อชิงทรัพย์ก็ตาม ก็ถือได้ว่าจำเลยมีเจตนาฆ่าผู้เสียหายด้วย เพราะจำเลยย่อมเล็งเห็นผลของการกระทำนั้นได้ว่ากระสุนปืนที่จำเลยยิงอาจทำให้ผู้เสียหายถึงแก่ความตายแต่เมื่อผู้เสียหายไม่ตาย การกระทำของจำเลยจึงต้องเป็นความผิดฐานพยายามฆ่าผู้เสียหายเพื่อจะเอาไว้ซึ่งผลประโยชน์อันเกิดแต่การที่จำเลยได้กระทำการชิงทรัพย์เพื่อปกปิดความผิดและเพื่อหลีกเลี่ยงให้พ้นอาญาในความผิดฐานชิงทรัพย์ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 80 อีกบทหนึ่งหาใช่เป็นเพียงความผิดฐานชิงทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้ถูกกระทำร้ายรับอันตรายสาหัสตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 339 วรรคสาม เท่านั้นไม่
อัตราโทษสำหรับความผิดของจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 ที่จะพึงวางแก่จำเลยมีสถานเดียวคือ ประหารชีวิตแต่ที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 80 และมาตรา 52(1) ให้จำคุก16 ปีเห็นได้ว่าศาลอุทธรณ์ได้ลดมาตราส่วนโทษที่จะลงตามมาตรา 289 เสียหนึ่งในสามตามมาตรา 80 และ 52(1)ให้แล้ว
ตามมาตรา 51 แห่งประมวลกฎหมายอาญา จะเพิ่มโทษให้จำเลยให้ต้องจำคุกเกินกว่า 20 ปีไม่ได้แต่ถ้าศาลวางโทษจำคุก 20 ปี เพิ่มโทษขึ้นไปแล้วลดลงคงจำคุกไม่เกิน 20 ปีได้
การที่ผู้กระทำผิดมาแล้วกลับมากระทำผิดอีกจะต้องถูกเพิ่มโทษนั้นย่อมต้องเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 92,93 หาใช่อยู่ในดุลพินิจของศาลที่จะเพิ่มหรือไม่เพิ่มตามที่ศาลเห็นสมควรไม่
อัตราโทษสำหรับความผิดของจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 ที่จะพึงวางแก่จำเลยมีสถานเดียวคือ ประหารชีวิตแต่ที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 80 และมาตรา 52(1) ให้จำคุก16 ปีเห็นได้ว่าศาลอุทธรณ์ได้ลดมาตราส่วนโทษที่จะลงตามมาตรา 289 เสียหนึ่งในสามตามมาตรา 80 และ 52(1)ให้แล้ว
ตามมาตรา 51 แห่งประมวลกฎหมายอาญา จะเพิ่มโทษให้จำเลยให้ต้องจำคุกเกินกว่า 20 ปีไม่ได้แต่ถ้าศาลวางโทษจำคุก 20 ปี เพิ่มโทษขึ้นไปแล้วลดลงคงจำคุกไม่เกิน 20 ปีได้
การที่ผู้กระทำผิดมาแล้วกลับมากระทำผิดอีกจะต้องถูกเพิ่มโทษนั้นย่อมต้องเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 92,93 หาใช่อยู่ในดุลพินิจของศาลที่จะเพิ่มหรือไม่เพิ่มตามที่ศาลเห็นสมควรไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 427/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่าจากพฤติการณ์ยิงต่อเนื่อง แม้มีเจตนาชิงทรัพย์ ศาลยืนตามบทลงโทษพยายามฆ่า เพิ่มโทษซ้ำกระทำผิด
การที่จำเลยใช้อาวุธปืนซึ่งเป็นอาวุธที่ร้ายแรงยิงผู้เสียหาย 2 นัดถูกที่ข้อมือขวา และที่ชายโครงหรือรักแร้ด้านหน้าข้างขวาถึงกระดูกซี่โครงหัก. แม้จำเลยจะมีเจตนายิงเพื่อชิงทรัพย์ก็ตาม. ก็ถือได้ว่าจำเลยมีเจตนาฆ่าผู้เสียหายด้วย. เพราะจำเลยย่อมเล็งเห็นผลของการกระทำนั้นได้ว่า. กระสุนปืนที่จำเลยยิงอาจทำให้ผู้เสียหายถึงแก่ความตาย. แต่เมื่อผู้เสียหายไม่ตาย การกระทำของจำเลยจึงต้องเป็นความผิดฐานพยายามฆ่าผู้เสียหาย. เพื่อจะเอาไว้ซึ่งผลประโยชน์อันเกิดแต่การที่จำเลยได้กระทำการชิงทรัพย์เพื่อปกปิดความผิดและเพื่อหลีกเลี่ยงให้พ้นอาญาในความผิดฐานชิงทรัพย์. ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 80 อีกบทหนึ่ง. หาใช่เป็นเพียงความผิดฐานชิงทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้ถูกกระทำร้ายรับอันตรายสาหัสตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 339 วรรคสาม. เท่านั้นไม่.
อัตราโทษสำหรับความผิดของจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา289 ที่จะพึงวางแก่จำเลยมีสถานเดียวคือ ประหารชีวิต.แต่ที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 80 และมาตรา 52(1) ให้จำคุก16 ปี. เห็นได้ว่าศาลอุทธรณ์ได้ลดมาตราส่วนโทษที่จะลงตามมาตรา 289 เสียหนึ่งในสามตามมาตรา 80 และ 52(1)ให้แล้ว.
ตามมาตรา 51 แห่งประมวลกฎหมายอาญา จะเพิ่มโทษให้จำเลยให้ต้องจำคุกเกินกว่า 20 ปีไม่ได้. แต่ถ้าศาลวางโทษจำคุก 20 ปี เพิ่มโทษขึ้นไปแล้วลดลงคงจำคุกไม่เกิน 20 ปีได้.
การที่ผู้กระทำผิดมาแล้วกลับมากระทำผิดอีกจะต้องถูกเพิ่มโทษนั้น. ย่อมต้องเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 92,93 หาใช่อยู่ในดุลพินิจของศาลที่จะเพิ่มหรือไม่เพิ่มตามที่ศาลเห็นสมควรไม่.
อัตราโทษสำหรับความผิดของจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา289 ที่จะพึงวางแก่จำเลยมีสถานเดียวคือ ประหารชีวิต.แต่ที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 80 และมาตรา 52(1) ให้จำคุก16 ปี. เห็นได้ว่าศาลอุทธรณ์ได้ลดมาตราส่วนโทษที่จะลงตามมาตรา 289 เสียหนึ่งในสามตามมาตรา 80 และ 52(1)ให้แล้ว.
ตามมาตรา 51 แห่งประมวลกฎหมายอาญา จะเพิ่มโทษให้จำเลยให้ต้องจำคุกเกินกว่า 20 ปีไม่ได้. แต่ถ้าศาลวางโทษจำคุก 20 ปี เพิ่มโทษขึ้นไปแล้วลดลงคงจำคุกไม่เกิน 20 ปีได้.
การที่ผู้กระทำผิดมาแล้วกลับมากระทำผิดอีกจะต้องถูกเพิ่มโทษนั้น. ย่อมต้องเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 92,93 หาใช่อยู่ในดุลพินิจของศาลที่จะเพิ่มหรือไม่เพิ่มตามที่ศาลเห็นสมควรไม่.