พบผลลัพธ์ทั้งหมด 246 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 149/2527 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนสิทธิเรียกร้องและการขอรับชำระหนี้ซ้ำในคดีล้มละลาย การโอนสิทธิทำให้เจ้าหนี้เดิมหมดสิทธิ
เจ้าหนี้ผู้ขอรับชำระหนี้ยอมรับเงินจำนวน 20,000 บาทที่ธนาคารกรุงไทย จำกัด จ่ายทดรองให้ไป แล้วทำสัญญาโอนสิทธิเรียกร้องตามตั๋วสัญญาใช้เงินซึ่งบริษัทลูกหนี้ออกให้แก่เจ้าหนี้จำนวนเงิน 100,000 บาท ให้แก่ธนาคารกรุงไทยจำกัด เพื่อให้ธนาคารฯเป็นผู้ขอรับเงินส่วนเฉลี่ยที่จะได้รับทั้งหมดจากผู้ชำระบัญชีหรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ เมื่อหนี้ตามตั๋วสัญญาใช้เงินดังกล่าวเป็นหนี้อันไม่อาจแบ่งแยกได้ เจ้าหนี้ผู้ขอรับชำระหนี้จะโต้เถียงอ้างว่าตนมีสิทธิตามตั๋วสัญญาใช้เงินรายนี้ส่วนที่ยังไม่ได้ชำระฝืนข้อสัญญาที่ทำให้ไว้หาได้ไม่ ทั้งธนาคารกรุงไทย จำกัดได้ใช้สิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ไว้แล้ว เจ้าหนี้ไม่มีสิทธินำตั๋วสัญญาใช้เงินรายนี้มาขอรับชำระหนี้ซ้ำอีก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 753/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หุ้นส่วนผู้จัดการต้องรับผิดหนี้ของห้างหุ้นส่วนจำกัด และการขอรับชำระหนี้จากกองทรัพย์สินในคดีล้มละลาย
จำเลยเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการซึ่งเป็นหุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดความรับผิดของห้างหุ้นส่วนจำกัด ย่อมต้องรับผิดเป็นส่วนตัวในหนี้ของห้างหุ้นส่วน เมื่อกรมสรรพากรเป็นเจ้าหนี้ของห้างหุ้นส่วนดังกล่าว จึงถือได้ว่าเป็นเจ้าหนี้ของจำเลย อันอาจขอรับชำระหนี้จากกองทรัพย์สินของจำเลยได้
มูลหนี้ค่าภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีการค้าของห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. เกิดขึ้นก่อนศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จำเลย การที่คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์เพิ่งมีคำวินิจฉัยภายหลังที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จำเลย ให้ห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. ชำระค่าภาษีอากรตามที่เจ้าพนักงานประเมินทำการประเมิน เป็นเรื่องให้ห้างหุ้นส่วนดังกล่าวชำระค่าภาษีอากรที่เกิดขึ้นแล้วให้ถูกต้องครบถ้วน หาใช่มูลหนี้ค่าภาษีเพิ่งเกิดขึ้นเมื่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์มีคำวินิจฉัยไม่
ห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. ต้องยื่นแบบแสดงรายการพร้อมกับชำระภาษีเงินได้นิติบุคคลต่ออำเภอภายใน 150 วันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีแต่ละปี ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 68 ต้องนำภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่ตนมีหน้าที่ต้องหักไปส่ง ณ ที่ว่าการอำเภอภายใน 7 วันนับแต่วันที่จ่ายเงินตามมาตรา 52 และต้องยื่นแบบแสดงรายการพร้อมกับชำระภาษีการค้าแต่ละเดือนภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ตามมาตรา 85 ทวิ และมาตรา 86 รอบระยะเวลาบัญชีของห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. คือตั้งแต่วันที่ 1 มกราคมถึงวันที่ 31 ธันวาคม ดังนั้น หนี้ค่าภาษีเงินได้นิติบุคคลของห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. ปี 2518 ถึง 2520 จึงถึงกำหนดชำระภายใน 150 วันนับแต่วันที่ 31 ธันวาคม ของปีนั้น ๆ หนี้ค่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่ายในการจ่ายค่าแรงงานแต่ละคราวในปี 2517 ถึงปี 2519 ถึงกำหนดชำระภายใน 7 วันนับแต่วันจ่ายเงินแต่ละคราวและหนี้ค่าภาษีการค้าในเดือนมีนาคม พฤษภาคม กรกฎาคมและสิงหาคม 2520 ถึงกำหนดชำระภายในวันที่ 15 ของเดือนเมษายน มิถุนายน สิงหาคมและกันยายน 2520 ตามลำดับศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จำเลยเด็ดขาดเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2522 กำหนด 6 เดือนก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์คือวันที่ 21 พฤศจิกายน 2521 หนี้ค่าภาษีดังกล่าวจึงถึงกำหนดก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เกินกว่า 6 เดือน
เงินเพิ่มภาษีการค้าตามมาตรา 89 ทวิ เป็นเงินเพิ่มเนื่องจากห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. ไม่ชำระหนี้ค่าภาษีการค้าที่จะต้องชำระแต่ละเดือนภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ต้องเสียเพิ่มอีกร้อยละ 1 ต่อเดือนหรือเศษของเดือนของภาษีการค้าที่ต้องชำระ เงินเพิ่มภาษีการค้าจึงถึงกำหนดชำระเป็นเดือน ๆ ไปนับแต่วันที่ 15 ของเดือนที่ต้องชำระภาษีการค้า เงินเพิ่มภาษีการค้าที่ถึงกำหนดชำระตั้งแต่วันที่ 21 พฤศจิกายน 2521 เป็นต้นมาย่อมเป็นหนี้ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483 มาตรา 130(6)
ภาษีเทศบาลหรือภาษีท้องถิ่นเป็นภาษีที่คำนวณมาจากภาษีการค้าอัตราร้อยละ 10 ของภาษีการค้า เมื่อเงินเพิ่มภาษีการค้าส่วนหนึ่งเป็นหนี้ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483 มาตรา 130(6) ภาษีเทศบาลจำนวนเท่ากับร้อยละ 10 ของเงินเพิ่มภาษีการค้าส่วนนั้นก็เป็นหนี้ตามมาตรา 130(6) เช่นเดียวกัน
มูลหนี้ค่าภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีการค้าของห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. เกิดขึ้นก่อนศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จำเลย การที่คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์เพิ่งมีคำวินิจฉัยภายหลังที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จำเลย ให้ห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. ชำระค่าภาษีอากรตามที่เจ้าพนักงานประเมินทำการประเมิน เป็นเรื่องให้ห้างหุ้นส่วนดังกล่าวชำระค่าภาษีอากรที่เกิดขึ้นแล้วให้ถูกต้องครบถ้วน หาใช่มูลหนี้ค่าภาษีเพิ่งเกิดขึ้นเมื่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์มีคำวินิจฉัยไม่
ห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. ต้องยื่นแบบแสดงรายการพร้อมกับชำระภาษีเงินได้นิติบุคคลต่ออำเภอภายใน 150 วันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีแต่ละปี ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 68 ต้องนำภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่ตนมีหน้าที่ต้องหักไปส่ง ณ ที่ว่าการอำเภอภายใน 7 วันนับแต่วันที่จ่ายเงินตามมาตรา 52 และต้องยื่นแบบแสดงรายการพร้อมกับชำระภาษีการค้าแต่ละเดือนภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ตามมาตรา 85 ทวิ และมาตรา 86 รอบระยะเวลาบัญชีของห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. คือตั้งแต่วันที่ 1 มกราคมถึงวันที่ 31 ธันวาคม ดังนั้น หนี้ค่าภาษีเงินได้นิติบุคคลของห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. ปี 2518 ถึง 2520 จึงถึงกำหนดชำระภายใน 150 วันนับแต่วันที่ 31 ธันวาคม ของปีนั้น ๆ หนี้ค่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่ายในการจ่ายค่าแรงงานแต่ละคราวในปี 2517 ถึงปี 2519 ถึงกำหนดชำระภายใน 7 วันนับแต่วันจ่ายเงินแต่ละคราวและหนี้ค่าภาษีการค้าในเดือนมีนาคม พฤษภาคม กรกฎาคมและสิงหาคม 2520 ถึงกำหนดชำระภายในวันที่ 15 ของเดือนเมษายน มิถุนายน สิงหาคมและกันยายน 2520 ตามลำดับศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จำเลยเด็ดขาดเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2522 กำหนด 6 เดือนก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์คือวันที่ 21 พฤศจิกายน 2521 หนี้ค่าภาษีดังกล่าวจึงถึงกำหนดก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เกินกว่า 6 เดือน
เงินเพิ่มภาษีการค้าตามมาตรา 89 ทวิ เป็นเงินเพิ่มเนื่องจากห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. ไม่ชำระหนี้ค่าภาษีการค้าที่จะต้องชำระแต่ละเดือนภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ต้องเสียเพิ่มอีกร้อยละ 1 ต่อเดือนหรือเศษของเดือนของภาษีการค้าที่ต้องชำระ เงินเพิ่มภาษีการค้าจึงถึงกำหนดชำระเป็นเดือน ๆ ไปนับแต่วันที่ 15 ของเดือนที่ต้องชำระภาษีการค้า เงินเพิ่มภาษีการค้าที่ถึงกำหนดชำระตั้งแต่วันที่ 21 พฤศจิกายน 2521 เป็นต้นมาย่อมเป็นหนี้ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483 มาตรา 130(6)
ภาษีเทศบาลหรือภาษีท้องถิ่นเป็นภาษีที่คำนวณมาจากภาษีการค้าอัตราร้อยละ 10 ของภาษีการค้า เมื่อเงินเพิ่มภาษีการค้าส่วนหนึ่งเป็นหนี้ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483 มาตรา 130(6) ภาษีเทศบาลจำนวนเท่ากับร้อยละ 10 ของเงินเพิ่มภาษีการค้าส่วนนั้นก็เป็นหนี้ตามมาตรา 130(6) เช่นเดียวกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 753/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หุ้นส่วนผู้จัดการรับผิดชอบหนี้ของห้างหุ้นส่วนจำกัด และการขอรับชำระหนี้จากกองทรัพย์สินตามกฎหมายล้มละลาย
จำเลยเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการซึ่งเป็นหุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดความรับผิดของห้างหุ้นส่วนจำกัด ย่อมต้องรับผิดเป็นส่วนตัวในหนี้ของห้างหุ้นส่วน เมื่อกรมสรรพากรเป็นเจ้าหนี้ของห้างหุ้นส่วนดังกล่าวจึงถือได้ว่าเป็นเจ้าหนี้ของจำเลย อันอาจขอรับชำระหนี้จากกองทรัพย์สินของจำเลยได้
มูลหนี้ค่าภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีการค้าของห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. เกิดขึ้นก่อนศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จำเลยการที่คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์เพิ่งมีคำวินิจฉัยภายหลังที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จำเลย ให้ห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. ชำระค่าภาษีอากรตามที่เจ้าพนักงานประเมินทำการประเมิน เป็นเรื่องให้ห้างหุ้นส่วนดังกล่าวชำระค่าภาษีอากรที่เกิดขึ้นแล้วให้ถูกต้องครบถ้วน หาใช่มูลหนี้ค่าภาษีเพิ่งเกิดขึ้นเมื่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์มีคำวินิจฉัยไม่
ห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. ต้องยื่นแบบแสดงรายการพร้อมกับชำระภาษีเงินได้นิติบุคคลต่ออำเภอภายใน 150 วันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีแต่ละปี ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 68 ต้องนำภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่ตนมีหน้าที่ต้องหักไปส่งณ ที่ว่าการอำเภอภายใน 7 วันนับแต่วันที่จ่ายเงินตามมาตรา 52และต้องยื่นแบบแสดงรายการพร้อมกับชำระภาษีการค้าแต่ละเดือนภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ตามมาตรา 85 ทวิ และมาตรา 86รอบระยะเวลาบัญชีของห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. คือตั้งแต่วันที่ 1 มกราคมถึงวันที่ 31 ธันวาคม ดังนั้น หนี้ค่าภาษีเงินได้นิติบุคคลของห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. ปี 2518 ถึง 2520 จึงถึงกำหนดชำระภายใน 150 วันนับแต่วันที่ 31 ธันวาคม ของปีนั้นๆ หนี้ค่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่ายในการจ่ายค่าแรงงานแต่ละคราวในปี 2517 ถึงปี 2519 ถึงกำหนดชำระภายใน 7 วันนับแต่วันจ่ายเงินแต่ละคราวและหนี้ค่าภาษีการค้าในเดือนมีนาคม พฤษภาคม กรกฎาคมและสิงหาคม 2520 ถึงกำหนดชำระภายในวันที่ 15 ของเดือนเมษายนมิถุนายน สิงหาคมและกันยายน 2520 ตามลำดับศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จำเลยเด็ดขาดเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม2522 กำหนด 6 เดือนก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์คือวันที่21 พฤศจิกายน 2521หนี้ค่าภาษีดังกล่าวจึงถึงกำหนดก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เกินกว่า 6 เดือน
เงินเพิ่มภาษีการค้าตามมาตรา 89 ทวิ เป็นเงินเพิ่มเนื่องจากห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. ไม่ชำระหนี้ค่าภาษีการค้าที่จะต้องชำระแต่ละเดือนภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ต้องเสียเพิ่มอีกร้อยละ 1 ต่อเดือนหรือเศษของเดือนของภาษีการค้าที่ต้องชำระเงินเพิ่มภาษีการค้าจึงถึงกำหนดชำระเป็นเดือนๆ ไปนับแต่วันที่ 15 ของเดือนที่ต้องชำระภาษีการค้า เงินเพิ่มภาษีการค้าที่ถึงกำหนดชำระตั้งแต่วันที่ 21 พฤศจิกายน 2521 เป็นต้นมาย่อมเป็นหนี้ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483 มาตรา 130(6)
ภาษีเทศบาลหรือภาษีท้องถิ่นเป็นภาษีที่คำนวณมาจากภาษีการค้าอัตราร้อยละ 10 ของภาษีการค้า เมื่อเงินเพิ่มภาษีการค้าส่วนหนึ่งเป็นหนี้ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช2483 มาตรา 130(6)ภาษีเทศบาลจำนวนเท่ากับร้อยละ 10ของเงินเพิ่มภาษีการค้าส่วนนั้นก็เป็นหนี้ตามมาตรา 130(6) เช่นเดียวกัน
มูลหนี้ค่าภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีการค้าของห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. เกิดขึ้นก่อนศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จำเลยการที่คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์เพิ่งมีคำวินิจฉัยภายหลังที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จำเลย ให้ห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. ชำระค่าภาษีอากรตามที่เจ้าพนักงานประเมินทำการประเมิน เป็นเรื่องให้ห้างหุ้นส่วนดังกล่าวชำระค่าภาษีอากรที่เกิดขึ้นแล้วให้ถูกต้องครบถ้วน หาใช่มูลหนี้ค่าภาษีเพิ่งเกิดขึ้นเมื่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์มีคำวินิจฉัยไม่
ห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. ต้องยื่นแบบแสดงรายการพร้อมกับชำระภาษีเงินได้นิติบุคคลต่ออำเภอภายใน 150 วันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีแต่ละปี ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 68 ต้องนำภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่ตนมีหน้าที่ต้องหักไปส่งณ ที่ว่าการอำเภอภายใน 7 วันนับแต่วันที่จ่ายเงินตามมาตรา 52และต้องยื่นแบบแสดงรายการพร้อมกับชำระภาษีการค้าแต่ละเดือนภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ตามมาตรา 85 ทวิ และมาตรา 86รอบระยะเวลาบัญชีของห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. คือตั้งแต่วันที่ 1 มกราคมถึงวันที่ 31 ธันวาคม ดังนั้น หนี้ค่าภาษีเงินได้นิติบุคคลของห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. ปี 2518 ถึง 2520 จึงถึงกำหนดชำระภายใน 150 วันนับแต่วันที่ 31 ธันวาคม ของปีนั้นๆ หนี้ค่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่ายในการจ่ายค่าแรงงานแต่ละคราวในปี 2517 ถึงปี 2519 ถึงกำหนดชำระภายใน 7 วันนับแต่วันจ่ายเงินแต่ละคราวและหนี้ค่าภาษีการค้าในเดือนมีนาคม พฤษภาคม กรกฎาคมและสิงหาคม 2520 ถึงกำหนดชำระภายในวันที่ 15 ของเดือนเมษายนมิถุนายน สิงหาคมและกันยายน 2520 ตามลำดับศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จำเลยเด็ดขาดเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม2522 กำหนด 6 เดือนก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์คือวันที่21 พฤศจิกายน 2521หนี้ค่าภาษีดังกล่าวจึงถึงกำหนดก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เกินกว่า 6 เดือน
เงินเพิ่มภาษีการค้าตามมาตรา 89 ทวิ เป็นเงินเพิ่มเนื่องจากห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. ไม่ชำระหนี้ค่าภาษีการค้าที่จะต้องชำระแต่ละเดือนภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ต้องเสียเพิ่มอีกร้อยละ 1 ต่อเดือนหรือเศษของเดือนของภาษีการค้าที่ต้องชำระเงินเพิ่มภาษีการค้าจึงถึงกำหนดชำระเป็นเดือนๆ ไปนับแต่วันที่ 15 ของเดือนที่ต้องชำระภาษีการค้า เงินเพิ่มภาษีการค้าที่ถึงกำหนดชำระตั้งแต่วันที่ 21 พฤศจิกายน 2521 เป็นต้นมาย่อมเป็นหนี้ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483 มาตรา 130(6)
ภาษีเทศบาลหรือภาษีท้องถิ่นเป็นภาษีที่คำนวณมาจากภาษีการค้าอัตราร้อยละ 10 ของภาษีการค้า เมื่อเงินเพิ่มภาษีการค้าส่วนหนึ่งเป็นหนี้ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช2483 มาตรา 130(6)ภาษีเทศบาลจำนวนเท่ากับร้อยละ 10ของเงินเพิ่มภาษีการค้าส่วนนั้นก็เป็นหนี้ตามมาตรา 130(6) เช่นเดียวกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 551/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกระทำที่เอื้อประโยชน์ลูกหนี้หลังทราบภาวะหนี้สินล้นพ้นตัว ไม่อาจขอรับชำระหนี้ได้ตามกฎหมายล้มละลาย
สัญญาขายลดเช็คได้กระทำกันก่อนลูกหนี้ถูกเจ้าหนี้รายอื่นฟ้องเป็นคดีล้มละลายเพียงเดือนเศษ ทั้งที่หนี้ตามสัญญาขายลดเช็คครั้งก่อน ๆ นั้น ผู้ขอรับชำระหนี้ยังไม่ได้รับชำระหนี้เลย ต่อมาก็ทำสัญญาขายลดเช็คกันอีกภายหลังถูกฟ้องคดีล้มละลายแล้ว แสดงว่าการขายทั้ง 2 คราวนี้เจ้าหนี้ยอมให้ลูกหนี้กระทำขึ้นเมื่อเจ้าหนี้ได้รู้ถึงการที่ลูกหนี้มีหนี้สินล้นพ้นตัว จึงขอรับชำระหนี้ดังกล่าวไม่ได้ตาม พระราชบัญญัติล้มละลายฯ มาตรา 94(2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1384/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนี้ตามคำพิพากษาหลังพิทักษ์ทรัพย์: ศาลอนุญาตชำระได้หากมูลหนี้เกิดก่อน
แม้เจ้าหนี้จะยื่นคำขอรับชำระหนี้ตามคำพิพากษาซึ่งตัดสินหลังวันพิทักษ์ทรัพย์แต่คำพิพากษานั้นได้แสดงถึงมูลหนี้เดิมอยู่แล้วว่าเกิดขึ้นก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ ย่อมถือได้ว่าหนี้ตามคำพิพากษาที่เจ้าหนี้ขอรับชำระดังกล่าวมูลแห่งหนี้ได้เกิดขึ้นก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ เจ้าหนี้อาจขอรับชำระหนี้ได้ตามมาตรา 94 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 4/2525)
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 4/2525)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1384/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนี้ตามคำพิพากษาหลังพิทักษ์ทรัพย์: มูลหนี้เดิมเกิดขึ้นก่อนวันพิทักษ์ทรัพย์ เจ้าหนี้มีสิทธิรับชำระ
แม้เจ้าหนี้จะยื่นคำขอรับชำระหนี้ตามคำพิพากษาซึ่งตัดสินหลังวันพิทักษ์ทรัพย์แต่คำพิพากษานั้นได้แสดงถึงมูลหนี้เดิมอยู่แล้วว่าเกิดขึ้นก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ย่อมถือได้ว่าหนี้ตามคำพิพากษาที่เจ้าหนี้ขอรับชำระดังกล่าวมูลแห่งหนี้ได้เกิดขึ้นก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ เจ้าหนี้อาจขอรับชำระหนี้ได้ตามมาตรา 94 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 4/2525)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 964/2524
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องจากเช็คหลังล้มละลาย: เช็คที่ออกหลังคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด ไม่อาจใช้ขอรับชำระหนี้ได้
มูลหนี้ที่ลูกหนี้ผู้ล้มละลายออกเช็คชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ผู้ขอรับชำระหนี้ไม่มีอยู่ต่อกัน เพราะไม่ได้รับชำระหนี้เป็นเช็คตามคำขอชำระหนี้จากลูกหนี้ผู้ล้มละลายโดยตรงแต่เจ้าหนี้ได้รับชำระหนี้เป็นเช็คจาก ท. ซึ่งเป็นบุคคลภายนอก โดย ท. ได้รับเช็ครายนี้มาจากลูกหนี้ผู้ล้มละลายโดยอาศัยมูลหนี้ที่มีต่อกันอย่างไรไม่ปรากฏ ดังนี้ เจ้าหนี้จึงคงมีสิทธิในมูลหนี้ตามเช็คในฐานะผู้ทรงเช็คนั้นได้ตั้งแต่วันที่ถึงกำหนดสั่งจ่ายที่เขียนระบุไว้ในเช็คเท่านั้นเช็คลงวันที่สั่งจ่าย 22 ธันวาคม 2521 ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2521มูลหนี้ตามเช็คที่ให้สิทธิแก่เจ้าหนี้ในฐานะผู้ทรงจึงเกิดขึ้นภายหลังวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดแล้ว เจ้าหนี้จึงไม่มีสิทธิที่จะอาศัยมูลหนี้ตามเช็คที่เกิดขึ้นภายหลังจากวันที่ศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดมาขอรับชำระหนี้จากกองทรัพย์สินของลูกหนี้ตามมาตรา 94 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2968/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การทำจำนองก่อน/หลังคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ และผลของการจ่ายเช็คหลังมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ต่อการขอรับชำระหนี้
ลูกหนี้ (จำเลย) ได้มอบอำนาจให้เจ้าหนี้นำที่ดิน 6 โฉนดไปทำสัญญาจำนองประกันหนี้ที่ลูกหนี้เบิกเงินเกินบัญชีไว้กับเจ้าหนี้ เจ้าหนี้นำที่ดินทั้ง 6 โฉนดไปทำจำนองในวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ลูกหนี้ โดยได้จดทะเบียนจำนองเสร็จเรียบร้อยในเดียวกันทั้ง 6 โฉนดก่อนสิ้นเวลาราชการในวันนั้น เมื่อไม่มีพยานฝ่ายเจ้าหนี้ปากใดยื่นยันว่าได้ทำจำนองเสร็จก่อนเที่ยงวันหรือก่อนเวลา 13.30 น. อันเป็นเวลาที่ศาลชั้นต้นอ่านคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดลูกหนี้กรณีฟังไม่ได้ว่า เจ้าหนี้ได้ทำจำนองเสร็จก่อนศาลชั้นต้นอ่านคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จึงจะถือว่า เป็นเจ้าหนี้มีประกันมีสิทธิจำนองเหนือทรัพย์สินอันเป็นหลักประกันซึ่งลูกหนี้ได้ให้ไว้ก่อนถูกพิทักษ์ทรัพย์ตามพระราชบัญญัติล้มละลายฯ มาตรา 95 ไม่ได้
ลูกหนี้ออกเช็คสั่งให้ธนาคารเจ้าหนี้ผู้ขอรับชำระหนี้จ่ายเงินให้แก่บริษัท อ. โดยลงวันที่ในเช็ควันที่ 12 ธันวาคม 2517 ซึ่งเป็นเวลาภายหลังที่ลูกหนี้ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว ธนาคารเจ้าหนี้จ่ายเงินตามเช็คนั้นให้แก่บริษัท อ.ไปในวันดังกล่าว ดังนี้ มูลแห่งหนี้ที่เจ้าหนี้ขอรับชำระจึงเกิดขึ้นหลังจากที่ลูกหนี้ได้ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้วแม้เจ้าหนี้จะจ่ายเงินตามเช็คไปโดยสุจริตและไม่ทราบคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้ เจ้าหนี้ก็จะขอรับชำระหนี้ในเงินจำนวนดังกล่าวไม่ได้ตามพระราชบัญญัติล้มละลายฯ มาตรา 94
ลูกหนี้ออกเช็คสั่งให้ธนาคารเจ้าหนี้ผู้ขอรับชำระหนี้จ่ายเงินให้แก่บริษัท อ. โดยลงวันที่ในเช็ควันที่ 12 ธันวาคม 2517 ซึ่งเป็นเวลาภายหลังที่ลูกหนี้ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว ธนาคารเจ้าหนี้จ่ายเงินตามเช็คนั้นให้แก่บริษัท อ.ไปในวันดังกล่าว ดังนี้ มูลแห่งหนี้ที่เจ้าหนี้ขอรับชำระจึงเกิดขึ้นหลังจากที่ลูกหนี้ได้ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้วแม้เจ้าหนี้จะจ่ายเงินตามเช็คไปโดยสุจริตและไม่ทราบคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้ เจ้าหนี้ก็จะขอรับชำระหนี้ในเงินจำนวนดังกล่าวไม่ได้ตามพระราชบัญญัติล้มละลายฯ มาตรา 94
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2968/2522 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การทำจำนองก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ และมูลหนี้หลังมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ ไม่เป็นเจ้าหนี้มีประกัน
ลูกหนี้ (จำเลย) ได้มอบอำนาจให้เจ้าหนี้นำที่ดิน 6 โฉนดไปทำสัญญาจำนองประกันหนี้ที่ลูกหนี้เบิกเงินเกินบัญชีไว้กับเจ้าหนี้ เจ้าหนี้นำที่ดินทั้ง 6 โฉนดไปทำจำนองในวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ลูกหนี้ โดยได้จดทะเบียนจำนองเสร็จเรียบร้อยในเดียวกันทั้ง 6 โฉนดก่อนสิ้นเวลาราชการในวันนั้น เมื่อไม่มีพยานฝ่ายเจ้าหนี้ปากใดยืนยันว่าได้ทำจำนองเสร็จก่อนเที่ยงวันหรือก่อนเวลา 13.30 น. อันเป็นเวลาที่ศาลชั้นต้นอ่านคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดลูกหนี้ กรณีฟังไม่ได้ว่า เจ้าหนี้ได้ทำจำนองเสร็จก่อนศาลชั้นต้นอ่านคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จึงจะถือว่าเป็นเจ้าหนี้มีประกัน มีสิทธิจำนองเหนือทรัพย์สินอันเป็นหลักประกันซึ่งลูกหนี้ได้ให้ไว้ก่อนถูกพิทักษ์ตามพระราชบัญญัติล้มละลายฯ มาตรา 95 ไม่ได้
ลูกหนี้ออกเช็คสั่งให้ธนาคารเจ้าหนี้ผู้ขอรับชำระหนี้จ่ายเงินให้แก่บริษัท อ. โดยลงวันที่ในเช็ควันที่ 12 ธันวาคม 2517 ซึ่งเป็นเวลาภายหลังที่ลูกหนี้ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว ธนาคารเจ้าหนี้จ่ายเงินตามเช็คนั้นให้แก่บริษัท อ.ไปในวันดังกล่าว ดังนี้ มูลแห่งหนี้ที่เจ้าหนี้ขอรับชำระจึงเกิดขึ้นหลังจากที่ลูกหนี้ได้ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว แม้เจ้าหนี้จะจ่ายเงินตามเช็คไปโดยสุจริตและไม่ทราบคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้ เจ้าหนี้ก็จะขอรับชำระหนี้ในเงินจำนวนดังกล่าวไม่ได้ ตามพระราชบัญญัติล้มละลายฯ มาตรา 94
ลูกหนี้ออกเช็คสั่งให้ธนาคารเจ้าหนี้ผู้ขอรับชำระหนี้จ่ายเงินให้แก่บริษัท อ. โดยลงวันที่ในเช็ควันที่ 12 ธันวาคม 2517 ซึ่งเป็นเวลาภายหลังที่ลูกหนี้ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว ธนาคารเจ้าหนี้จ่ายเงินตามเช็คนั้นให้แก่บริษัท อ.ไปในวันดังกล่าว ดังนี้ มูลแห่งหนี้ที่เจ้าหนี้ขอรับชำระจึงเกิดขึ้นหลังจากที่ลูกหนี้ได้ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว แม้เจ้าหนี้จะจ่ายเงินตามเช็คไปโดยสุจริตและไม่ทราบคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้ เจ้าหนี้ก็จะขอรับชำระหนี้ในเงินจำนวนดังกล่าวไม่ได้ ตามพระราชบัญญัติล้มละลายฯ มาตรา 94
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2847/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนำเช็คเข้าบัญชีก่อนกำหนด ไม่ถือเป็นการใช้สิทธิไล่เบี้ยก่อนถึงกำหนด เจ้าหนี้มีสิทธิรับชำระหนี้
การที่เจ้าหนี้ผู้ทรงเช็ค(โจทก์) เป็นแต่เพียงนำเช็คที่จำเลยลูกหนี้เป็นผู้สั่งจ่ายไปเข้าบัญชีของตนที่ธนาคาร ก.ก่อนเช็คถึงกำหนด 1 วัน ซึ่งเจ้าหนี้ผู้ทรงเช็คมีสิทธิที่จะทำเช่นนั้นได้ ทั้งนี้ เพื่อให้ธนาคารดังกล่าวเรียกเก็บเงินจากธนาคารเจ้าของเช็คเมื่อเช็คถึงกำหนดชำระตามวิธีการของธนาคารนั้นเอง เมื่อธนาคาร ก. ด่วนเรียกเก็บเงินไปยังธนาคารเจ้าของเช็ค และธนาคารเจ้าของเช็คปฏิเสธการจ่ายเงินอ้างว่าเงินในบัญชีจำเลยลูกหนี้ไม่พอจ่ายในวันเดียวกันนั้นเองนั้น เป็นเรื่องการปฏิบัติงานในระหว่างธนาคารกับธนาคาร จะถือว่าผู้ทรงเช็คใช้สิทธิไล่เบี้ยลูกหนี้ผู้สั่งจ่ายก่อนเช็คถึงกำหนดหาได้ไม่ เมื่อธนาคารได้ปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็ค ลูกหนี้ผู้สั่งจ่ายจึงต้องรับผิดชำระเงินตามเช็คนั้น ทั้งเจ้าหนี้ผู้ทรงเช็คได้ทวงถามให้ลูกหนี้ผู้สั่งจ่ายชำระเงินตามเช็คหลายครั้งแล้วลูกหนี้ผู้สั่งจ่ายก็แจ้งว่าไม่มีเงินชำระ ดังนี้เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์จึงมีสิทธิขอรับชำระหนี้ตามเช็ครายนี้ได้