พบผลลัพธ์ทั้งหมด 42 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1552/2524
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดทางแพ่งจากอุบัติเหตุทางรถยนต์ การแบ่งความรับผิดตามส่วน และผลของคำพิพากษาคดีอาญา
ในคดีส่วนแพ่ง ปัญหาที่ว่าคนขับรถของฝ่ายใดประมาทนั้นคู่ความตกลงกันให้ถือข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคำพิพากษาคดีส่วนอาญา หากศาลสูงพิจารณาคดีถึงที่สุดว่า จำเลยที่ 1 คนขับรถของจำเลยที่ 2 เป็นฝ่ายผิด จำเลยที่ 2 ยอมใช้ค่าเสียหายให้โจทก์ต่อมาศาลอุทธรณ์พิพากษาคดีถึงที่สุดว่าทั้งสองฝ่ายมีความผิดและลงโทษจำคุก แม้คดีส่วนอาญาศาลพิพากษาว่าเคยขับรถทั้งสองฝ่ายมีความผิด ก็ยังแสดงว่า จำเลยที่ 1 เป็นฝ่ายผิดด้วยอยู่นั่นเอง ในการพิพากษาคดีส่วนแพ่งจึงต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคำพิพากษาคดีส่วนอาญาตามที่คู่ความตกลงกันแต่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 424 และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 47 บัญญัติไว้ว่าในการพิพากษาคดีข้อความรับผิดเพื่อละเมิดและกำหนดค่าสินไหมทดแทนในคดีส่วนแพ่ง ต้องเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วย ความรับผิดของบุคคลในทางแพ่งโดยไม่จำต้องคำนึงถึงว่าจำเลยต้อง คำพิพากษาว่าได้กระทำความผิดทางอาญาหรือไม่ เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่า จำเลยที่ 1 และคนขับรถของโจทก์ที่ 2 ต่างมีส่วนกระทำความผิดกรณีต้องปรับด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 442 และ มาตรา 223 ซึ่งศาลมีอำนาจกำหนดค่าสินไหมทดแทนสูงต่ำตามส่วน แห่งความยิ่งหย่อนของผู้มีส่วนก่อให้เกิดความเสียหายโดยอาศัยพฤติการณ์เป็นประมาณ แม้ในคดีส่วนอาญาพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลยที่ 1และคนขับรถของโจทก์ที่ 2 เท่ากัน ก็เป็นการใช้ดุลพินิจกำหนดโทษในความผิดทางอาญา จะถือเป็นหลักในการวินิจฉัยความรับผิดทางแพ่งว่าทั้งสองประมาทเท่ากันหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1382/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความค่าเสียหายจากการละเมิด: เริ่มนับแต่รู้ตัวผู้กระทำละเมิดและนายจ้าง
การที่รถที่จำเลยที่ 1 ลูกจ้างจำเลยที่ 2 ขับชนกับรถผู้อื่นก่อน แล้วแฉลบไปชนบุตรสาวโจทก์ถึงแก่ความตายนั้น โจทก์ย่อมรู้แล้วว่า ผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนต้องเป็นจำเลยที่ 1 หรือผู้ขับรถคันอื่นนั้นคนใดคนหนึ่งหรือทั้งสองคน โดยไม่จำต้องรอฟังชี้ขาดของศาลว่าฝ่ายใดเป็นผู้กระทำผิดเสียก่อน เมื่อคดีฟังได้ว่าโจทก์ผู้ต้องเสียหายรู้ถึงการละเมิด และรู้ว่าจำเลยที่ 2 เป็นนายจ้างของจำเลยที่ 1 ในวันที่ 19 พฤษภาคม 2513 อันเป็นวันเกิดเหตุนั้นเอง อายุความเฉพาะตัวจำเลยที่ 2ต้องเริ่มนับแต่วันนั้น นับถึงวันฟ้องเกิน 1 ปีคดีโจทก์เกี่ยวกับจำเลยที่ 2 จึงขาดอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2694/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลผูกพันตามคำพิพากษาคดีอาญาต่อคดีแพ่ง และข้อตกลงรอฟังคำพิพากษาคดีอาญา
โจทก์เป็นผู้เสียหายในคดีที่ผู้ว่าคดีศาลแขวงเป็นโจทก์ฟ้องจำเลยในคดีอาญา โจทก์จำเลยจึงต้องผูกพันตามคำพิพากษาในคดีนั้น เพราะถือว่าผู้ว่าคดีฟ้องคดีที่โจทก์เป็นผู้เสียหายนั้นเอง(อ้างฎีกาที่ 1134-1135/2509)
โจทก์จำเลยตกลงกันในคดีนี้ว่าขอให้ศาลรอฟังคำพิพากษาถึงที่สุดของคดีอาญาเสียก่อนถ้า ผลที่สุดของคดีอาญาเป็นอย่างไร โจทก์จำเลยจะถือตาม ดังนี้ เมื่อศาลในคดีอาญาฟังข้อเท็จจริงว่าจำเลยมิได้ประมาทโจทก์จะรื้อฟื้นข้อเท็จจริงว่าจำเลยเป็นฝ่ายประมาท ขอให้สืบพยานในข้อนี้ขึ้นอีกหาได้ไม่
โจทก์จำเลยตกลงกันในคดีนี้ว่าขอให้ศาลรอฟังคำพิพากษาถึงที่สุดของคดีอาญาเสียก่อนถ้า ผลที่สุดของคดีอาญาเป็นอย่างไร โจทก์จำเลยจะถือตาม ดังนี้ เมื่อศาลในคดีอาญาฟังข้อเท็จจริงว่าจำเลยมิได้ประมาทโจทก์จะรื้อฟื้นข้อเท็จจริงว่าจำเลยเป็นฝ่ายประมาท ขอให้สืบพยานในข้อนี้ขึ้นอีกหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2694/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลผูกพันตามคำพิพากษาคดีอาญาต่อคดีแพ่ง และผลของการตกลงรอฟังคำพิพากษา
โจทก์เป็นผู้เสียหายในคดีที่ผู้ว่าคดีศาลแขวงเป็นโจทก์ฟ้องจำเลยในคดีอาญา โจทก์จำเลยจึงต้องผูกพันตามคำพิพากษาในคดีนั้น เพราะถือว่าผู้ว่าคดีฟ้องคดีที่โจทก์เป็นผู้เสียหายนั้นเอง (อ้างฎีกาที่ 1134-1135/2509)
โจทก์จำเลยตกลงกันในคดีนี้ว่าขอให้ศาลรอฟังคำพิพากษาถึงที่สุดของคดีอาญาเสียก่อนถ้าผลที่สุดของคดีอาญาเป็นอย่างไร โจทก์จำเลยจะถือตาม ดังนี้ เมื่อศาลใน คดีอาญาฟังข้อเท็จจริงว่าจำเลยมิได้ประมาท โจทก์จะรื้อฟื้นข้อเท็จจริงว่าจำเลยเป็นฝ่ายประมาท ขอให้สืบพยานในข้อนี้ขึ้นอีกหาได้ไม่
โจทก์จำเลยตกลงกันในคดีนี้ว่าขอให้ศาลรอฟังคำพิพากษาถึงที่สุดของคดีอาญาเสียก่อนถ้าผลที่สุดของคดีอาญาเป็นอย่างไร โจทก์จำเลยจะถือตาม ดังนี้ เมื่อศาลใน คดีอาญาฟังข้อเท็จจริงว่าจำเลยมิได้ประมาท โจทก์จะรื้อฟื้นข้อเท็จจริงว่าจำเลยเป็นฝ่ายประมาท ขอให้สืบพยานในข้อนี้ขึ้นอีกหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1674/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อผูกพันตามคำพิพากษาคดีอาญาในคดีแพ่ง: ศาลแพ่งต้องถือข้อเท็จจริงตามคำพิพากษาคดีอาญา
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายจากจำเลยฐานละเมิดทำเพลิงไหม้ต้นยางพาราของโจทก์เสียหาย. ปรากฏว่าจำเลยเคยถูกฟ้องเป็นคดีอาญาฐานทำให้เพลิงไหม้ต้นยางพาราของโจทก์เสียหายมาแล้ว.ศาลวินิจฉัยในคดีอาญาว่าโจทก์ไม่มีประจักษ์พยานมาสืบ.ให้เห็นว่าจำเลยได้กระทำผิดตามที่โจทก์ฟ้อง. แม้โจทก์จะส่งคำให้การชั้นสอบสวนของพยานสองปากซึ่งในชั้นสอบสวนให้การรู้เห็นการกระทำผิดของจำเลย. แต่ในชั้นศาล โจทก์ก็ไม่ได้ตัวมาสืบ. ศาลจึงไม่รับฟังคำให้การชั้นสอบสวน. เพราะจำเลยไม่มีโอกาสซักค้าน. นอกจากนี้พยานประกอบแวดล้อมของโจทก์ก็รับฟังได้เพียงว่าไฟได้ไหม้สวนยางของผู้เสียหายเท่านั้น. ผู้เสียหายว่าได้พบจำเลยในวันเกิดเหตุโดยจำเลยช่วยดับไฟด้วย. จำเลยก็ว่าในวันเกิดเหตุจำเลยอยู่ที่บ้านผู้มีชื่อ เป็นการยันกันอยู่. พยานหลักฐานโจทก์จึงตกอยู่ในความสงสัยไม่แน่ใจ.ว่าจำเลยเป็นผู้กระทำผิด จึงยกประโยชน์แห่งความสงสัยนั้นให้เป็นผลดีแก่จำเลย. พิพากษายกฟ้องโจทก์. ดังนี้ ในการพิพากษาคดีส่วนแพ่ง ศาลจำต้องถือข้อเท็จจริงตามคำพิพากษาในคดีอาญาดังกล่าว.ซึ่งได้มีการสืบพยานโจทก์จำเลยและได้วินิจฉัยข้อเท็จจริงอันเป็นประเด็นแห่งคดีแล้วว่า โจทก์ไม่มีพยานมาสืบ.ให้ศาลเห็นว่าจำเลยได้กระทำผิดตามที่โจทก์ฟ้อง. ศาลจะรับฟังข้อเท็จจริงในคดีส่วนแพ่งขัดกับข้อเท็จจริงที่ปรากฏในคำพิพากษาคดีส่วนอาญาหาได้ไม่. (วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 18/2512).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1674/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อผูกพันตามคำพิพากษาคดีอาญาในคดีแพ่ง: ศาลต้องถือข้อเท็จจริงตามคำพิพากษาคดีอาญา
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายจากจำเลยฐานละเมิดทำเพลิงไหม้ต้นยางพาราของโจทก์เสียหาย ปรากฏว่าจำเลยเคยถูกฟ้องเป็นคดีอาญาฐานทำให้เพลิงไหม้ต้นยางพาราของโจทก์เสียหายมาแล้ว ศาลวินิจฉัยในคดีอาญาว่าโจทก์ไม่มีประจักษ์พยานมาสืบให้เห็นว่าจำเลยได้กระทำผิดตามที่โจทก์ฟ้อง แม้โจทก์จะส่งคำให้การชั้นสอบสวนของพยานสองปากซึ่งในชั้นสอบสวนให้การรู้เห็นการกระทำผิดของจำเลย แต่ในชั้นศาล โจทก์ก็ไม่ได้ตัวมาสืบศาลจึงไม่รับฟังคำให้การชั้นสอบสวน เพราะจำเลยไม่มีโอกาสซักค้าน นอกจากนี้พยานประกอบแวดล้อมของโจทก์รับฟังได้เพียงว่าไฟได้ไหม้สวนยางของผู้เสียหายเท่านั้น ผู้เสียหายว่าได้พบจำเลยในวันเกิดเหตุโดยจำเลยช่วยดับไฟด้วย จำเลยก็ว่าในวันเกิดเหตุจำเลยอยู่ที่บ้านผู้มีชื่อ เป็นการยันกันอยู่ พยานหลักฐานโจทก์จึงตกอยู่ในความสงสัยไม่แน่ใจว่าจำเลยเป็นผู้กระทำผิด จึงยกประโยชน์แห่งความสงสัยนั้นให้เป็นผลดีแก่จำเลย พิพากษายกฟ้องโจทก์ ดังนี้ ในการพิพากษาคดีส่วนแพ่ง ศางจำต้องถือข้อเท็จจริงตามคำพิพากษาในคดีอาญาดังกล่าวซึ่งได้มีการสืบพยานโจทก์จำเลยและได้วินิจฉัยข้อเท็จจริงอันเป็นประเด็นแห่งคดีแล้วว่าโจทก์ไม่มีพยานมาสืบให้ศาลเห็นว่าจำเลยได้กระทำผิดตามที่โจทก์ฟ้อง ศาลจะรับฟังข้อเท็จจริงในคดีส่วนแพ่งขัดกับข้อเท็จจริงที่ปรากฏในคำพิพากษาคดีส่วนอาญาหาได้ไม่
(วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 18/2512)
(วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 18/2512)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1674/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อผูกพันตามคำพิพากษาคดีอาญาในคดีแพ่ง: ศาลแพ่งต้องถือข้อเท็จจริงตามคำพิพากษาคดีอาญา
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายจากจำเลยฐานละเมิดทำเพลิงไหม้ต้นยางพาราของโจทก์เสียหาย ปรากฏว่าจำเลยเคยถูกฟ้องเป็นคดีอาญาฐานทำให้เพลิงไหม้ต้นยางพาราของโจทก์เสียหายมาแล้วศาลวินิจฉัยในคดีอาญาว่าโจทก์ไม่มีประจักษ์พยานมาสืบ ให้เห็นว่าจำเลยได้กระทำผิดตามที่โจทก์ฟ้อง แม้โจทก์จะส่งคำให้การชั้นสอบสวนของพยานสองปากซึ่งในชั้นสอบสวนให้การรู้เห็นการกระทำผิดของจำเลย แต่ในชั้นศาล โจทก์ก็ไม่ได้ตัวมาสืบ ศาลจึงไม่รับฟังคำให้การชั้นสอบสวน เพราะจำเลยไม่มีโอกาสซักค้าน นอกจากนี้พยานประกอบแวดล้อมของโจทก์ก็รับฟังได้เพียงว่าไฟได้ไหม้สวนยางของผู้เสียหายเท่านั้น ผู้เสียหายว่าได้พบจำเลยในวันเกิดเหตุโดยจำเลยช่วยดับไฟด้วย จำเลยก็ว่าในวันเกิดเหตุจำเลยอยู่ที่บ้านผู้มีชื่อ เป็นการยันกันอยู่ พยานหลักฐานโจทก์จึงตกอยู่ในความสงสัยไม่แน่ใจว่าจำเลยเป็นผู้กระทำผิด จึงยกประโยชน์แห่งความสงสัยนั้นให้เป็นผลดีแก่จำเลย พิพากษายกฟ้องโจทก์ ดังนี้ ในการพิพากษาคดีส่วนแพ่ง ศาลจำต้องถือข้อเท็จจริงตามคำพิพากษาในคดีอาญาดังกล่าว ซึ่งได้มีการสืบพยานโจทก์จำเลยและได้วินิจฉัยข้อเท็จจริงอันเป็นประเด็นแห่งคดีแล้วว่า โจทก์ไม่มีพยานมาสืบ ให้ศาลเห็นว่าจำเลยได้กระทำผิดตามที่โจทก์ฟ้อง ศาลจะรับฟังข้อเท็จจริงในคดีส่วนแพ่งขัดกับข้อเท็จจริงที่ปรากฏในคำพิพากษาคดีส่วนอาญาหาได้ไม่ (วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 18/2512)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 438-439/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดีแพ่งจากการทุจริต-ยักยอกทรัพย์ การรับผิดของหัวหน้าหน่วยงาน และการพิสูจน์ความรับผิด
กระทรวงการคลังฟ้องคดีเรียกค่าสินไหมทดแทนจากจำเลยฐานละเมิดเกี่ยวกับเงินภาษีอากรของกรมสรรพากรซึ่งถูกยักยอกไปอายุความเริ่มนับแต่วันที่อธิบดีกรมสรรพากรรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน
เมื่อปรากฏการทุจริตยักยอกเงินภาษีอากร และกรมสรรพากรได้ตั้งกรรมการขึ้นสอบสวนพฤติการณ์ย่อมถือได้ว่าอธิบดีกรมสรรพากร ได้รู้ถึงการละเมิดแล้วต่อมาสรรพากรจังหวัดซึ่งเป็นกรรมการคนหนึ่งได้เสนอรายงานให้อธิบดีกรมสรรพากรทราบเรื่องการทุจริตและการจับกุมผู้อยู่ในข่ายสงสัยว่าจะสมคบกันทุจริต ซึ่งมีจำเลยรวมอยู่ในพวกที่ถูกจับด้วยนั้นและต่อมาบุคคลเหล่านี้ก็ได้ถูกผู้ว่าคดีฟ้องกล่าวโทษเป็นคดีอาญาขึ้น ต้องถือว่าอธิบดีกรมสรรพากรได้รู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนแล้วตั้งแต่วันที่ได้รับรายงานจากสรรพากรจังหวัด
คณะกรรมการซึ่งอธิบดีกรมสรรพากรตั้งขึ้นสอบสวนการทุจริตรายงานว่าตรวจพบการทุจริตเพิ่มเติมอีกแต่กรรมการเห็นไม่ลงรอยกันในตัวผู้ต้องรับผิดอธิบดีกรมสรรพากรจึงสั่งให้รองอธิบดีพิจารณา รองอธิบดีพิจารณาแล้วเสนอความเห็นว่าควรให้กองวิทยาการ กรมตำรวจ พิสูจน์ลายมือผู้ทุจริตให้แน่นอนก่อนอธิบดีกรมสรรพากรสั่งให้นำเข้าประชุมปรึกษา กรรมการในที่ประชุมก็เห็นไม่ตรงกัน อธิบดีกรมสรรพากรจึงตั้งกรรมการพิจารณาอีกครั้งหนึ่งคณะกรรมการพิจารณาแล้ว เสนอรายงานต่ออธิบดี สำหรับการทุจริตครั้งหลังนี้ถือได้ว่าอธิบดีกรมสรรพากรเพิ่งรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนตั้งแต่วันที่ได้รับรายงานของคณะกรรมการชุดหลัง
การฟ้องเรียกค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิดจากผู้ที่มิได้กระทำผิดทางอาญานั้น อยู่ในกำหนดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 448 วรรคแรกแม้จะมีการฟ้องผู้กระทำละเมิดเป็นคดีอาญาด้วย แต่ศาลพิพากษายกฟ้องคดีถึงที่สุดแล้ว ย่อมถือไม่ได้ว่าเป็นการเรียกร้องค่าเสียหายในมูลอันเป็นความผิดอาญาตามมาตรา 448 วรรคสอง ต้องใช้อายุความตามวรรคแรก เช่นเดียวกัน
จำเลยซึ่งถูกฟ้องคดีอาญาว่ายักยอกเงินของโจทก์เมื่อศาลพิพากษายกฟ้องคดีอาญาว่า คดียังไม่พอจะให้ศาลชี้ขาดว่าจำเลยได้กระทำผิดตามฟ้องในการพิพากษาคดีส่วนแพ่งศาลต้องถือข้อเท็จจริงตามและหากข้อเท็จจริงในคดีส่วนแพ่งฟังไม่ได้ว่าจำเลยประมาทเลินเล่อเป็นเหตุให้มีการยักยอกเงินของโจทก์จำเลยก็ไม่ต้องรับผิดชดใช้เงินที่มีผู้ยักยอกไปให้แก่โจทก์
จำเลยเป็นหัวหน้าส่วนราชการแผนกสรรพากรประจำอำเภอมีตำแหน่งสมุหบัญชีโท มีหน้าที่รับผิดชอบในเงินภาษีอากรตลอดจนตรวจนับเงินสดและเช็คที่มีผู้นำมาชำระค่าภาษีอากรทุกวันหากจำเลยไม่ปล่อยปละละเลยและควบคุมการปฏิบัติหน้าที่ของผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาโดยใกล้ชิดและถ้าไม่ปลีกตัวออกจากการเป็นกรรมการถือกุญแจเก็บรักษาเงินผลประโยชน์ตามระเบียบของกรมสรรพากรจำเลยอื่นก็จะไม่มีโอกาสยักยอกเอาเงินภาษีอากรของโจทก์ไปได้ ดังนี้ จำเลยต้องร่วมรับผิดกับจำเลยอื่นชดใช้เงินให้แก่โจทก์
เมื่อปรากฏการทุจริตยักยอกเงินภาษีอากร และกรมสรรพากรได้ตั้งกรรมการขึ้นสอบสวนพฤติการณ์ย่อมถือได้ว่าอธิบดีกรมสรรพากร ได้รู้ถึงการละเมิดแล้วต่อมาสรรพากรจังหวัดซึ่งเป็นกรรมการคนหนึ่งได้เสนอรายงานให้อธิบดีกรมสรรพากรทราบเรื่องการทุจริตและการจับกุมผู้อยู่ในข่ายสงสัยว่าจะสมคบกันทุจริต ซึ่งมีจำเลยรวมอยู่ในพวกที่ถูกจับด้วยนั้นและต่อมาบุคคลเหล่านี้ก็ได้ถูกผู้ว่าคดีฟ้องกล่าวโทษเป็นคดีอาญาขึ้น ต้องถือว่าอธิบดีกรมสรรพากรได้รู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนแล้วตั้งแต่วันที่ได้รับรายงานจากสรรพากรจังหวัด
คณะกรรมการซึ่งอธิบดีกรมสรรพากรตั้งขึ้นสอบสวนการทุจริตรายงานว่าตรวจพบการทุจริตเพิ่มเติมอีกแต่กรรมการเห็นไม่ลงรอยกันในตัวผู้ต้องรับผิดอธิบดีกรมสรรพากรจึงสั่งให้รองอธิบดีพิจารณา รองอธิบดีพิจารณาแล้วเสนอความเห็นว่าควรให้กองวิทยาการ กรมตำรวจ พิสูจน์ลายมือผู้ทุจริตให้แน่นอนก่อนอธิบดีกรมสรรพากรสั่งให้นำเข้าประชุมปรึกษา กรรมการในที่ประชุมก็เห็นไม่ตรงกัน อธิบดีกรมสรรพากรจึงตั้งกรรมการพิจารณาอีกครั้งหนึ่งคณะกรรมการพิจารณาแล้ว เสนอรายงานต่ออธิบดี สำหรับการทุจริตครั้งหลังนี้ถือได้ว่าอธิบดีกรมสรรพากรเพิ่งรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนตั้งแต่วันที่ได้รับรายงานของคณะกรรมการชุดหลัง
การฟ้องเรียกค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิดจากผู้ที่มิได้กระทำผิดทางอาญานั้น อยู่ในกำหนดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 448 วรรคแรกแม้จะมีการฟ้องผู้กระทำละเมิดเป็นคดีอาญาด้วย แต่ศาลพิพากษายกฟ้องคดีถึงที่สุดแล้ว ย่อมถือไม่ได้ว่าเป็นการเรียกร้องค่าเสียหายในมูลอันเป็นความผิดอาญาตามมาตรา 448 วรรคสอง ต้องใช้อายุความตามวรรคแรก เช่นเดียวกัน
จำเลยซึ่งถูกฟ้องคดีอาญาว่ายักยอกเงินของโจทก์เมื่อศาลพิพากษายกฟ้องคดีอาญาว่า คดียังไม่พอจะให้ศาลชี้ขาดว่าจำเลยได้กระทำผิดตามฟ้องในการพิพากษาคดีส่วนแพ่งศาลต้องถือข้อเท็จจริงตามและหากข้อเท็จจริงในคดีส่วนแพ่งฟังไม่ได้ว่าจำเลยประมาทเลินเล่อเป็นเหตุให้มีการยักยอกเงินของโจทก์จำเลยก็ไม่ต้องรับผิดชดใช้เงินที่มีผู้ยักยอกไปให้แก่โจทก์
จำเลยเป็นหัวหน้าส่วนราชการแผนกสรรพากรประจำอำเภอมีตำแหน่งสมุหบัญชีโท มีหน้าที่รับผิดชอบในเงินภาษีอากรตลอดจนตรวจนับเงินสดและเช็คที่มีผู้นำมาชำระค่าภาษีอากรทุกวันหากจำเลยไม่ปล่อยปละละเลยและควบคุมการปฏิบัติหน้าที่ของผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาโดยใกล้ชิดและถ้าไม่ปลีกตัวออกจากการเป็นกรรมการถือกุญแจเก็บรักษาเงินผลประโยชน์ตามระเบียบของกรมสรรพากรจำเลยอื่นก็จะไม่มีโอกาสยักยอกเอาเงินภาษีอากรของโจทก์ไปได้ ดังนี้ จำเลยต้องร่วมรับผิดกับจำเลยอื่นชดใช้เงินให้แก่โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 438-439/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดีแพ่งกรณีทุจริตเงินภาษี และความรับผิดของข้าราชการต่อการยักยอกเงินของผู้อื่น
กระทรวงการคลังฟ้องคดีเรียกค่าสินไหมทดแทนจากจำเลยฐานละเมิดเกี่ยวกับเงินภาษีอากรของกรมสรรพากรซึ่งถูกยักยอกไป.อายุความเริ่มนับแต่วันที่อธิบดีกรมสรรพากรรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน.
เมื่อปรากฏการทุจริตยักยอกเงินภาษีอากร และกรมสรรพากรได้ตั้งกรรมการขึ้นสอบสวนพฤติการณ์. ย่อมถือได้ว่าอธิบดีกรมสรรพากร ได้รู้ถึงการละเมิดแล้ว. ต่อมาสรรพากรจังหวัดซึ่งเป็นกรรมการคนหนึ่งได้เสนอรายงานให้อธิบดีกรมสรรพากรทราบเรื่องการทุจริตและการจับกุมผู้อยู่ในข่ายสงสัยว่าจะสมคบกันทุจริต ซึ่งมีจำเลยรวมอยู่ในพวกที่ถูกจับด้วยนั้น. และต่อมาบุคคลเหล่านี้ก็ได้ถูกผู้ว่าคดีฟ้องกล่าวโทษเป็นคดีอาญาขึ้น. ต้องถือว่าอธิบดีกรมสรรพากรได้รู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนแล้วตั้งแต่วันที่ได้รับรายงานจากสรรพากรจังหวัด.
คณะกรรมการซึ่งอธิบดีกรมสรรพากรตั้งขึ้นสอบสวนการทุจริตรายงานว่าตรวจพบการทุจริตเพิ่มเติมอีก. แต่กรรมการเห็นไม่ลงรอยกันในตัวผู้ต้องรับผิด. อธิบดีกรมสรรพากรจึงสั่งให้รองอธิบดีพิจารณา. รองอธิบดีพิจารณาแล้วเสนอความเห็นว่าควรให้กองวิทยาการ กรมตำรวจ พิสูจน์ลายมือผู้ทุจริตให้แน่นอนก่อน. อธิบดีกรมสรรพากรสั่งให้นำเข้าประชุมปรึกษา กรรมการในที่ประชุมก็เห็นไม่ตรงกัน. อธิบดีกรมสรรพากรจึงตั้งกรรมการพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง. คณะกรรมการพิจารณาแล้ว เสนอรายงานต่ออธิบดี. สำหรับการทุจริตครั้งหลังนี้ถือได้ว่าอธิบดีกรมสรรพากรเพิ่งรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนตั้งแต่วันที่ได้รับรายงานของคณะกรรมการชุดหลัง.
การฟ้องเรียกค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิดจากผู้ที่มิได้กระทำผิดทางอาญานั้น อยู่ในกำหนดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 448 วรรคแรก. แม้จะมีการฟ้องผู้กระทำละเมิดเป็นคดีอาญาด้วย แต่ศาลพิพากษายกฟ้องคดีถึงที่สุดแล้ว. ย่อมถือไม่ได้ว่าเป็นการเรียกร้องค่าเสียหายในมูลอันเป็นความผิดอาญาตามมาตรา 448 วรรคสอง. ต้องใช้อายุความตามวรรคแรก เช่นเดียวกัน.
จำเลยซึ่งถูกฟ้องคดีอาญาว่ายักยอกเงินของโจทก์. เมื่อศาลพิพากษายกฟ้องคดีอาญาว่า คดียังไม่พอจะให้ศาลชี้ขาดว่าจำเลยได้กระทำผิดตามฟ้อง. ในการพิพากษาคดีส่วนแพ่ง.ศาลต้องถือข้อเท็จจริงตาม. และหากข้อเท็จจริงในคดีส่วนแพ่งฟังไม่ได้ว่าจำเลยประมาทเลินเล่อเป็นเหตุให้มีการยักยอกเงินของโจทก์. จำเลยก็ไม่ต้องรับผิดชดใช้เงินที่มีผู้ยักยอกไปให้แก่โจทก์.
จำเลยเป็นหัวหน้าส่วนราชการแผนกสรรพากรประจำอำเภอมีตำแหน่งสมุหบัญชีโท. มีหน้าที่รับผิดชอบในเงินภาษีอากรตลอดจนตรวจนับเงินสดและเช็คที่มีผู้นำมาชำระค่าภาษีอากรทุกวัน.หากจำเลยไม่ปล่อยปละละเลยและควบคุมการปฏิบัติหน้าที่ของผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาโดยใกล้ชิด. และถ้าไม่ปลีกตัวออกจากการเป็นกรรมการถือกุญแจเก็บรักษาเงินผลประโยชน์ตามระเบียบของกรมสรรพากร. จำเลยอื่นก็จะไม่มีโอกาสยักยอกเอาเงินภาษีอากรของโจทก์ไปได้. ดังนี้ จำเลยต้องร่วมรับผิดกับจำเลยอื่นชดใช้เงินให้แก่โจทก์.
เมื่อปรากฏการทุจริตยักยอกเงินภาษีอากร และกรมสรรพากรได้ตั้งกรรมการขึ้นสอบสวนพฤติการณ์. ย่อมถือได้ว่าอธิบดีกรมสรรพากร ได้รู้ถึงการละเมิดแล้ว. ต่อมาสรรพากรจังหวัดซึ่งเป็นกรรมการคนหนึ่งได้เสนอรายงานให้อธิบดีกรมสรรพากรทราบเรื่องการทุจริตและการจับกุมผู้อยู่ในข่ายสงสัยว่าจะสมคบกันทุจริต ซึ่งมีจำเลยรวมอยู่ในพวกที่ถูกจับด้วยนั้น. และต่อมาบุคคลเหล่านี้ก็ได้ถูกผู้ว่าคดีฟ้องกล่าวโทษเป็นคดีอาญาขึ้น. ต้องถือว่าอธิบดีกรมสรรพากรได้รู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนแล้วตั้งแต่วันที่ได้รับรายงานจากสรรพากรจังหวัด.
คณะกรรมการซึ่งอธิบดีกรมสรรพากรตั้งขึ้นสอบสวนการทุจริตรายงานว่าตรวจพบการทุจริตเพิ่มเติมอีก. แต่กรรมการเห็นไม่ลงรอยกันในตัวผู้ต้องรับผิด. อธิบดีกรมสรรพากรจึงสั่งให้รองอธิบดีพิจารณา. รองอธิบดีพิจารณาแล้วเสนอความเห็นว่าควรให้กองวิทยาการ กรมตำรวจ พิสูจน์ลายมือผู้ทุจริตให้แน่นอนก่อน. อธิบดีกรมสรรพากรสั่งให้นำเข้าประชุมปรึกษา กรรมการในที่ประชุมก็เห็นไม่ตรงกัน. อธิบดีกรมสรรพากรจึงตั้งกรรมการพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง. คณะกรรมการพิจารณาแล้ว เสนอรายงานต่ออธิบดี. สำหรับการทุจริตครั้งหลังนี้ถือได้ว่าอธิบดีกรมสรรพากรเพิ่งรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนตั้งแต่วันที่ได้รับรายงานของคณะกรรมการชุดหลัง.
การฟ้องเรียกค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิดจากผู้ที่มิได้กระทำผิดทางอาญานั้น อยู่ในกำหนดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 448 วรรคแรก. แม้จะมีการฟ้องผู้กระทำละเมิดเป็นคดีอาญาด้วย แต่ศาลพิพากษายกฟ้องคดีถึงที่สุดแล้ว. ย่อมถือไม่ได้ว่าเป็นการเรียกร้องค่าเสียหายในมูลอันเป็นความผิดอาญาตามมาตรา 448 วรรคสอง. ต้องใช้อายุความตามวรรคแรก เช่นเดียวกัน.
จำเลยซึ่งถูกฟ้องคดีอาญาว่ายักยอกเงินของโจทก์. เมื่อศาลพิพากษายกฟ้องคดีอาญาว่า คดียังไม่พอจะให้ศาลชี้ขาดว่าจำเลยได้กระทำผิดตามฟ้อง. ในการพิพากษาคดีส่วนแพ่ง.ศาลต้องถือข้อเท็จจริงตาม. และหากข้อเท็จจริงในคดีส่วนแพ่งฟังไม่ได้ว่าจำเลยประมาทเลินเล่อเป็นเหตุให้มีการยักยอกเงินของโจทก์. จำเลยก็ไม่ต้องรับผิดชดใช้เงินที่มีผู้ยักยอกไปให้แก่โจทก์.
จำเลยเป็นหัวหน้าส่วนราชการแผนกสรรพากรประจำอำเภอมีตำแหน่งสมุหบัญชีโท. มีหน้าที่รับผิดชอบในเงินภาษีอากรตลอดจนตรวจนับเงินสดและเช็คที่มีผู้นำมาชำระค่าภาษีอากรทุกวัน.หากจำเลยไม่ปล่อยปละละเลยและควบคุมการปฏิบัติหน้าที่ของผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาโดยใกล้ชิด. และถ้าไม่ปลีกตัวออกจากการเป็นกรรมการถือกุญแจเก็บรักษาเงินผลประโยชน์ตามระเบียบของกรมสรรพากร. จำเลยอื่นก็จะไม่มีโอกาสยักยอกเอาเงินภาษีอากรของโจทก์ไปได้. ดังนี้ จำเลยต้องร่วมรับผิดกับจำเลยอื่นชดใช้เงินให้แก่โจทก์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 438-439/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดีแพ่งจากการทุจริต, ความรับผิดของหัวหน้าส่วนราชการต่อการทุจริตของลูกน้อง, การพิสูจน์ความรับผิดทางแพ่งจากคดีอาญา
กระทรวงการคลังฟ้องคดีเรียกค่าสินไหมทดแทนจากจำเลยฐานละเมิดเกี่ยวกับเงินภาษีอากรของกรมสรรพากรซึ่งถูกยักยอกไป อายุความเริ่มนับแต่วันที่อธิบดีกรมสรรพากรรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน
เมื่อปรากฏการทุจริตยักยอกเงินภาษีอากร และกรมสรรพากรได้ตั้งกรรมการขึ้นสอบสวนพฤติการณ์ ย่อมถือได้ว่าอธิบดีกรมสรรพากร ได้รู้ถึงการละเมิดแล้วต่อมาสรรพากรจังหวัดซึ่งเป็นกรรมการคนหนึ่งได้เสนอรายงานให้อธิบดีกรมสรรพากรทราบเรื่องการทุจริตและการจับกุมผู้อยู่ในข่ายสงสัยว่าจะสมคบกันทุจริต ซึ่งมีจำเลยรวมอยู่ในพวกที่ถูกจับด้วยนั้น. และต่อมาบุคคลเหล่านี้ก็ได้ถูกผู้ว่าคดีฟ้องกล่าวโทษเป็นคดีอาญาขึ้น. ต้องถือว่าอธิบดีกรมสรรพากรได้รู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนแล้วตั้งแต่วันที่ได้รับรายงานจากสรรพากรจังหวัด
คณะกรรมการซึ่งอธิบดีกรมสรรพากรตั้งขึ้นสอบสวนการทุจริตรายงานว่าตรวจพบการทุจริตเพิ่มเติมอีก แต่กรรมการเห็นไม่ลงรอยกันในตัวผู้ต้องรับผิด อธิบดีกรมสรรพากรจึงสั่งให้รองอธิบดีพิจารณา รองอธิบดีพิจารณาแล้วเสนอความเห็นว่าควรให้กองวิทยาการ กรมตำรวจ พิสูจน์ลายมือผู้ทุจริตให้แน่นอนก่อน อธิบดีกรมสรรพากรสั่งให้นำเข้าประชุมปรึกษา กรรมการในที่ประชุมก็เห็นไม่ตรงกัน อธิบดีกรมสรรพากรจึงตั้งกรรมการพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง คณะกรรมการพิจารณาแล้ว เสนอรายงานต่ออธิบดี สำหรับการทุจริตครั้งหลังนี้ถือได้ว่าอธิบดีกรมสรรพากรเพิ่งรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนตั้งแต่วันที่ได้รับรายงานของคณะกรรมการชุดหลัง
การฟ้องเรียกค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิดจากผู้ที่มิได้กระทำผิดทางอาญานั้น อยู่ในกำหนดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 448 วรรคแรก แม้จะมีการฟ้องผู้กระทำละเมิดเป็นคดีอาญาด้วย แต่ศาลพิพากษายกฟ้องคดีถึงที่สุดแล้ว ย่อมถือไม่ได้ว่าเป็นการเรียกร้องค่าเสียหายในมูลอันเป็นความผิดอาญาตามมาตรา 448 วรรคสอง ต้องใช้อายุความตามวรรคแรก เช่นเดียวกัน
จำเลยซึ่งถูกฟ้องคดีอาญาว่ายักยอกเงินของโจทก์ เมื่อศาลพิพากษายกฟ้องคดีอาญาว่า คดียังไม่พอจะให้ศาลชี้ขาดว่าจำเลยได้กระทำผิดตามฟ้อง ในการพิพากษาคดีส่วนแพ่ง ศาลต้องถือข้อเท็จจริงตาม และหากข้อเท็จจริงในคดีส่วนแพ่งฟังไม่ได้ว่าจำเลยประมาทเลินเล่อเป็นเหตุให้มีการยักยอกเงินของโจทก์ จำเลยก็ไม่ต้องรับผิดชดใช้เงินที่มีผู้ยักยอกไปให้แก่โจทก์
จำเลยเป็นหัวหน้าส่วนราชการแผนกสรรพากรประจำอำเภอมีตำแหน่งสมุหบัญชีโท มีหน้าที่รับผิดชอบในเงินภาษีอากรตลอดจนตรวจนับเงินสดและเช็คที่มีผู้นำมาชำระค่าภาษีอากรทุกวัน หากจำเลยไม่ปล่อยปละละเลยและควบคุมการปฏิบัติหน้าที่ของผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาโดยใกล้ชิด และถ้าไม่ปลีกตัวออกจากการเป็นกรรมการถือกุญแจเก็บรักษาเงินผลประโยชน์ตามระเบียบของกรมสรรพากร จำเลยอื่นก็จะไม่มีโอกาสยักยอกเอาเงินภาษีอากรของโจทก์ไปได้ ดังนี้ จำเลยต้องร่วมรับผิดกับจำเลยอื่นชดใช้เงินให้แก่โจทก์
เมื่อปรากฏการทุจริตยักยอกเงินภาษีอากร และกรมสรรพากรได้ตั้งกรรมการขึ้นสอบสวนพฤติการณ์ ย่อมถือได้ว่าอธิบดีกรมสรรพากร ได้รู้ถึงการละเมิดแล้วต่อมาสรรพากรจังหวัดซึ่งเป็นกรรมการคนหนึ่งได้เสนอรายงานให้อธิบดีกรมสรรพากรทราบเรื่องการทุจริตและการจับกุมผู้อยู่ในข่ายสงสัยว่าจะสมคบกันทุจริต ซึ่งมีจำเลยรวมอยู่ในพวกที่ถูกจับด้วยนั้น. และต่อมาบุคคลเหล่านี้ก็ได้ถูกผู้ว่าคดีฟ้องกล่าวโทษเป็นคดีอาญาขึ้น. ต้องถือว่าอธิบดีกรมสรรพากรได้รู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนแล้วตั้งแต่วันที่ได้รับรายงานจากสรรพากรจังหวัด
คณะกรรมการซึ่งอธิบดีกรมสรรพากรตั้งขึ้นสอบสวนการทุจริตรายงานว่าตรวจพบการทุจริตเพิ่มเติมอีก แต่กรรมการเห็นไม่ลงรอยกันในตัวผู้ต้องรับผิด อธิบดีกรมสรรพากรจึงสั่งให้รองอธิบดีพิจารณา รองอธิบดีพิจารณาแล้วเสนอความเห็นว่าควรให้กองวิทยาการ กรมตำรวจ พิสูจน์ลายมือผู้ทุจริตให้แน่นอนก่อน อธิบดีกรมสรรพากรสั่งให้นำเข้าประชุมปรึกษา กรรมการในที่ประชุมก็เห็นไม่ตรงกัน อธิบดีกรมสรรพากรจึงตั้งกรรมการพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง คณะกรรมการพิจารณาแล้ว เสนอรายงานต่ออธิบดี สำหรับการทุจริตครั้งหลังนี้ถือได้ว่าอธิบดีกรมสรรพากรเพิ่งรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนตั้งแต่วันที่ได้รับรายงานของคณะกรรมการชุดหลัง
การฟ้องเรียกค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิดจากผู้ที่มิได้กระทำผิดทางอาญานั้น อยู่ในกำหนดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 448 วรรคแรก แม้จะมีการฟ้องผู้กระทำละเมิดเป็นคดีอาญาด้วย แต่ศาลพิพากษายกฟ้องคดีถึงที่สุดแล้ว ย่อมถือไม่ได้ว่าเป็นการเรียกร้องค่าเสียหายในมูลอันเป็นความผิดอาญาตามมาตรา 448 วรรคสอง ต้องใช้อายุความตามวรรคแรก เช่นเดียวกัน
จำเลยซึ่งถูกฟ้องคดีอาญาว่ายักยอกเงินของโจทก์ เมื่อศาลพิพากษายกฟ้องคดีอาญาว่า คดียังไม่พอจะให้ศาลชี้ขาดว่าจำเลยได้กระทำผิดตามฟ้อง ในการพิพากษาคดีส่วนแพ่ง ศาลต้องถือข้อเท็จจริงตาม และหากข้อเท็จจริงในคดีส่วนแพ่งฟังไม่ได้ว่าจำเลยประมาทเลินเล่อเป็นเหตุให้มีการยักยอกเงินของโจทก์ จำเลยก็ไม่ต้องรับผิดชดใช้เงินที่มีผู้ยักยอกไปให้แก่โจทก์
จำเลยเป็นหัวหน้าส่วนราชการแผนกสรรพากรประจำอำเภอมีตำแหน่งสมุหบัญชีโท มีหน้าที่รับผิดชอบในเงินภาษีอากรตลอดจนตรวจนับเงินสดและเช็คที่มีผู้นำมาชำระค่าภาษีอากรทุกวัน หากจำเลยไม่ปล่อยปละละเลยและควบคุมการปฏิบัติหน้าที่ของผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาโดยใกล้ชิด และถ้าไม่ปลีกตัวออกจากการเป็นกรรมการถือกุญแจเก็บรักษาเงินผลประโยชน์ตามระเบียบของกรมสรรพากร จำเลยอื่นก็จะไม่มีโอกาสยักยอกเอาเงินภาษีอากรของโจทก์ไปได้ ดังนี้ จำเลยต้องร่วมรับผิดกับจำเลยอื่นชดใช้เงินให้แก่โจทก์