พบผลลัพธ์ทั้งหมด 124 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 961/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองปรปักษ์ การโอนที่ดินที่เป็นทางให้เสียเปรียบ และการพิพากษาแก้โฉนดตามส่วนที่ครอบครอง
การที่ศาลเรียกบิดาโจทก์เข้ามาเป็นจำเลยร่วมกับจำเลยในคดีเนื่องจากศาลเห็นสมควรเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(3) ข. แม้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 58 จะบัญญัติว่า ผู้ที่ศาลเรียกเข้ามาเป็นคู่ความจะมีสิทธิเสมือนว่าตนได้ฟ้องหรือถูกฟ้องก็ตาม ก็เป็นบทบัญญัติให้สิทธิแก่ผู้ที่ถูกเรียกเข้ามาในคดีเท่านั้น การที่บิดาโจทก์ถูกเรียกเข้ามาในคดี ไม่ใช่เป็นการกระทำของโจทก์ เรียกไม่ได้ว่าโจทก์ฟ้องบุพการีของตน จึงไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1534
กฎหมายไม่ได้ห้ามในการนำสืบหักล้างพยานเอกสาร ห้ามแต่การนำสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไข
โจทก์ครอบครองที่พิพาทจนได้กรรมสิทธิ์แล้วผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินโฉนดพิพาทได้โอนที่พิพาทนั้นให้จำเลยด้วยความสมัครใจอันเป็นทางให้เสียเปรียบแก่โจทก์ผู้อยู่ในฐานะอันจะขอให้จดทะเบียนสิทธิของตนได้อยู่ก่อนแล้ว และการโอนให้นั้นจำเลยมิได้เสียค่าตอบแทน โจทก์จึงยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้จำเลย และขอให้เพิกถอนการโอนที่ทำให้ตนเสียเปรียบได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1300
แม้ในคำขอโจทก์จะไม่ได้ขอให้ถอนชื่อจำเลยออกจากโฉนดก็ตาม แต่ที่ขอให้เพิกถอน ทำลายนิติกรรมให้จำเลยนั้น ก็เป็นการขอให้เพิกถอนชื่อจำเลยอยู่ในตัวแล้ว การที่ศาลพิพากษาให้เพิกถอนชื่อจำเลยจึงไม่เกินคำขอ
จำเลยร่วมโอนที่พิพาทส่วนของตนและของโจทก์ไปให้จำเลยอื่น โจทก์จะขอให้เพิกถอนการโอนไปถึงส่วนของจำเลยร่วมด้วยไม่ได้ การที่ศาลพิพากษาให้เพิกถอนการโอนในส่วนของจำเลยร่วมด้วย จึงเป็นการพิพากษาที่ไม่ชอบ
แม้โจทก์จะไม่ได้อ้างโฉนดพิพาทเป็นพยานก็ตามแต่โจทก์ได้ระบุมาในฟ้องและนำสืบข้อเท็จจริงฟังได้ว่า โจทก์ได้ครอบครองเป็นเจ้าของที่ดินในโฉนดพิพาท เป็นส่วนสัดจนได้กรรมสิทธิ์แล้ว ทั้งจำเลยก็ได้อ้างโฉนดพิพาทเข้ามาในคดีด้วย ดังนี้ ศาลจึงหยิบยกขึ้นพิพากษาให้แก้โฉนดได้
โจทก์ขอให้แสดงว่าโจทก์เป็นเจ้าของและใส่ชื่อโจทก์ในโฉนดร่วมกับจำเลยรวม 4 คนนั้น มีความหมายให้แสดงว่าโจทก์มีส่วนเป็นเจ้าของคนละ 1 ใน 4 แม้จะขอมาในลักษณะเป็นเจ้าของร่วมก็ตาม เมื่อได้ความว่าต่างได้ครอบครองเป็นส่วนสัดกันแล้ว ศาลก็มีอำนาจที่จะพิพากษาให้แยกส่วนตามที่ครอบครองเป็นส่วนสัดกันนั้นได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142 (2)
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 5/2509)
กฎหมายไม่ได้ห้ามในการนำสืบหักล้างพยานเอกสาร ห้ามแต่การนำสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไข
โจทก์ครอบครองที่พิพาทจนได้กรรมสิทธิ์แล้วผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินโฉนดพิพาทได้โอนที่พิพาทนั้นให้จำเลยด้วยความสมัครใจอันเป็นทางให้เสียเปรียบแก่โจทก์ผู้อยู่ในฐานะอันจะขอให้จดทะเบียนสิทธิของตนได้อยู่ก่อนแล้ว และการโอนให้นั้นจำเลยมิได้เสียค่าตอบแทน โจทก์จึงยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้จำเลย และขอให้เพิกถอนการโอนที่ทำให้ตนเสียเปรียบได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1300
แม้ในคำขอโจทก์จะไม่ได้ขอให้ถอนชื่อจำเลยออกจากโฉนดก็ตาม แต่ที่ขอให้เพิกถอน ทำลายนิติกรรมให้จำเลยนั้น ก็เป็นการขอให้เพิกถอนชื่อจำเลยอยู่ในตัวแล้ว การที่ศาลพิพากษาให้เพิกถอนชื่อจำเลยจึงไม่เกินคำขอ
จำเลยร่วมโอนที่พิพาทส่วนของตนและของโจทก์ไปให้จำเลยอื่น โจทก์จะขอให้เพิกถอนการโอนไปถึงส่วนของจำเลยร่วมด้วยไม่ได้ การที่ศาลพิพากษาให้เพิกถอนการโอนในส่วนของจำเลยร่วมด้วย จึงเป็นการพิพากษาที่ไม่ชอบ
แม้โจทก์จะไม่ได้อ้างโฉนดพิพาทเป็นพยานก็ตามแต่โจทก์ได้ระบุมาในฟ้องและนำสืบข้อเท็จจริงฟังได้ว่า โจทก์ได้ครอบครองเป็นเจ้าของที่ดินในโฉนดพิพาท เป็นส่วนสัดจนได้กรรมสิทธิ์แล้ว ทั้งจำเลยก็ได้อ้างโฉนดพิพาทเข้ามาในคดีด้วย ดังนี้ ศาลจึงหยิบยกขึ้นพิพากษาให้แก้โฉนดได้
โจทก์ขอให้แสดงว่าโจทก์เป็นเจ้าของและใส่ชื่อโจทก์ในโฉนดร่วมกับจำเลยรวม 4 คนนั้น มีความหมายให้แสดงว่าโจทก์มีส่วนเป็นเจ้าของคนละ 1 ใน 4 แม้จะขอมาในลักษณะเป็นเจ้าของร่วมก็ตาม เมื่อได้ความว่าต่างได้ครอบครองเป็นส่วนสัดกันแล้ว ศาลก็มีอำนาจที่จะพิพากษาให้แยกส่วนตามที่ครอบครองเป็นส่วนสัดกันนั้นได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142 (2)
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 5/2509)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 961/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองปรปักษ์ การโอนที่ดินที่เป็นทางให้เสียเปรียบ และอำนาจศาลในการแก้ไขโฉนด
การที่ศาลเรียกบิดาโจทก์เข้ามาเป็นจำเลยร่วมกับจำเลยในคดีเนื่องจากศาลเห็นสมควรเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(3) ข.แม้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 58 จะบัญญัติว่า ผู้ที่ศาลเรียกเข้ามาเป็นคู่ความจะมีสิทธิเสมือนว่าตนได้ฟ้องหรือถูกฟ้องก็ตาม ก็เป็นบทบัญญัติให้สิทธิแก่ผู้ที่ถูกเรียกเข้ามาในคดีเท่านั้น การที่บิดาโจทก์ถูกเรียกเข้ามาในคดี ไม่ใช่เป็นการกระทำของโจทก์ เรียกไม่ได้ว่าโจทก์ฟ้องบุพการีของตน จึงไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1534
กฎหมายไม่ได้ห้ามในการนำสืบหักล้างพยานเอกสาร ห้ามแต่การนำสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไข
โจทก์ครอบครองที่พิพาทจนได้กรรมสิทธิ์แล้วผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินโฉนดพิพาทได้โอนที่พิพาทนั้นให้จำเลยด้วยความสมัครใจอันเป็นทางให้เสียเปรียบแก่โจทก์ผู้อยู่ในฐานะอันจะขอให้จดทะเบียนสิทธิของตนได้อยู่ก่อนแล้ว และการโอนให้นั้นจำเลยมิได้เสียค่าตอบแทนโจทก์จึงยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้จำเลย และขอให้เพิกถอนการโอนที่ทำให้ตนเสียเปรียบได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1300
แม้ในคำขอโจทก์จะไม่ได้ขอให้ถอนชื่อจำเลยออกจากโฉนดก็ตาม แต่ที่ขอให้เพิกถอน ทำลายนิติกรรมให้จำเลยนั้นก็เป็นการขอให้เพิกถอนชื่อจำเลยอยู่ในตัวแล้วการที่ศาลพิพากษาให้เพิกถอนชื่อจำเลยจึงไม่เกินคำขอ
จำเลยร่วมโอนที่พิพาทส่วนของตนและของโจทก์ไปให้จำเลยอื่นโจทก์จะขอให้เพิกถอนการโอนไปถึงส่วนของจำเลยร่วมด้วยไม่ได้ การที่ศาลพิพากษาให้เพิกถอนการโอนในส่วนของจำเลยร่วมด้วย จึงเป็นการพิพากษาที่ไม่ชอบ
แม้โจทก์จะไม่ได้อ้างโฉนดพิพาทเป็นพยานก็ตาม แต่โจทก์ได้ระบุมาในฟ้องและนำสืบข้อเท็จจริงฟังได้ว่าโจทก์ได้ครอบครองเป็นเจ้าของที่ดินในโฉนดพิพาทเป็นส่วนสัดจนได้กรรมสิทธิ์แล้ว ทั้งจำเลยก็ได้อ้างโฉนดพิพาทเข้ามาในคดีด้วย ดังนี้ ศาลจึงหยิบยกขึ้นพิพากษาให้แก้โฉนดได้
โจทก์ขอให้แสดงว่าโจทก์เป็นเจ้าของและใส่ชื่อโจทก์ในโฉนดร่วมกับจำเลยรวม 4 คนนั้น มีความหมายให้แสดงว่าโจทก์มีส่วนเป็นเจ้าของคนละ 1 ใน 4 แม้จะขอมาในลักษณะเป็นเจ้าของร่วมก็ตาม เมื่อได้ความว่าต่างได้ครอบครองเป็นส่วนสัดกันแล้ว ศาลก็มีอำนาจที่จะพิพากษาให้แยกส่วนตามที่ครอบครองเป็นส่วนสัดกันนั้นได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(2)(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 5/2509)
กฎหมายไม่ได้ห้ามในการนำสืบหักล้างพยานเอกสาร ห้ามแต่การนำสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไข
โจทก์ครอบครองที่พิพาทจนได้กรรมสิทธิ์แล้วผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินโฉนดพิพาทได้โอนที่พิพาทนั้นให้จำเลยด้วยความสมัครใจอันเป็นทางให้เสียเปรียบแก่โจทก์ผู้อยู่ในฐานะอันจะขอให้จดทะเบียนสิทธิของตนได้อยู่ก่อนแล้ว และการโอนให้นั้นจำเลยมิได้เสียค่าตอบแทนโจทก์จึงยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้จำเลย และขอให้เพิกถอนการโอนที่ทำให้ตนเสียเปรียบได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1300
แม้ในคำขอโจทก์จะไม่ได้ขอให้ถอนชื่อจำเลยออกจากโฉนดก็ตาม แต่ที่ขอให้เพิกถอน ทำลายนิติกรรมให้จำเลยนั้นก็เป็นการขอให้เพิกถอนชื่อจำเลยอยู่ในตัวแล้วการที่ศาลพิพากษาให้เพิกถอนชื่อจำเลยจึงไม่เกินคำขอ
จำเลยร่วมโอนที่พิพาทส่วนของตนและของโจทก์ไปให้จำเลยอื่นโจทก์จะขอให้เพิกถอนการโอนไปถึงส่วนของจำเลยร่วมด้วยไม่ได้ การที่ศาลพิพากษาให้เพิกถอนการโอนในส่วนของจำเลยร่วมด้วย จึงเป็นการพิพากษาที่ไม่ชอบ
แม้โจทก์จะไม่ได้อ้างโฉนดพิพาทเป็นพยานก็ตาม แต่โจทก์ได้ระบุมาในฟ้องและนำสืบข้อเท็จจริงฟังได้ว่าโจทก์ได้ครอบครองเป็นเจ้าของที่ดินในโฉนดพิพาทเป็นส่วนสัดจนได้กรรมสิทธิ์แล้ว ทั้งจำเลยก็ได้อ้างโฉนดพิพาทเข้ามาในคดีด้วย ดังนี้ ศาลจึงหยิบยกขึ้นพิพากษาให้แก้โฉนดได้
โจทก์ขอให้แสดงว่าโจทก์เป็นเจ้าของและใส่ชื่อโจทก์ในโฉนดร่วมกับจำเลยรวม 4 คนนั้น มีความหมายให้แสดงว่าโจทก์มีส่วนเป็นเจ้าของคนละ 1 ใน 4 แม้จะขอมาในลักษณะเป็นเจ้าของร่วมก็ตาม เมื่อได้ความว่าต่างได้ครอบครองเป็นส่วนสัดกันแล้ว ศาลก็มีอำนาจที่จะพิพากษาให้แยกส่วนตามที่ครอบครองเป็นส่วนสัดกันนั้นได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(2)(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 5/2509)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 226/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การร้องสอดคดีจำเลยร่วมและการจำกัดสิทธิในการยื่นคำให้การเพิ่มเติมหลังสืบพยานโจทก์
โจทก์ฟ้องขอให้ศาลพิพากษาว่าที่พิพาทเป็นของโจทก์และขับไล่จำเลยกับบริวารออกไป จำเลยให้การต่อสู้ว่าที่พิพาทเป็นของจำเลย ในระหว่างพิจารณา เมื่อสืบพยานโจทก์เสร็จ จำเลยตาย ศาลตั้งภรรยาจำเลยเป็นคู่ความแทนที่จำเลย ภรรยาจำเลยยื่นคำร้องว่าที่พิพาทเป็นของจำเลยกับของตนมีสิทธิร่วมกัน ขอเป็นจำเลยร่วม ศาลอนุญาต การที่ร้องสอดเข้ามามิได้แสดงให้เห็นว่าที่ดินส่วนของตนอยู่ตรงไหน ตอนใด และจำเลยเดิมต่อสู้คดีไว้ขัดแย้งต่อสิทธิของตนประการใด ต้องถือว่าร้องสอดเข้าเป็นจำเลยร่วมตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57 (2) หาใช่เข้าเป็นคู่ความฝ่ายที่สามไม่ เมื่อจำเลยเดิมไม่มีสิทธิจะยื่นคำให้การอีก จำเลยร่วมจึงไม่มีสิทธิเช่นกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 226/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การร้องสอดคดีของภรรยาจำเลยในฐานะจำเลยร่วม และสิทธิในการยื่นคำให้การเพิ่มเติม
โจทก์ฟ้องขอให้ศาลพิพากษาว่าที่พิพาทเป็นของโจทก์และขับไล่จำเลยกับบริวารออกไป จำเลยให้การต่อสู้ว่าที่พิพาทเป็นของจำเลย ในระหว่างพิจารณา เมื่อสืบพยานโจทก์เสร็จจำเลยตาย ศาลตั้งภรรยาจำเลยเป็นคู่ความแทนที่จำเลย ภรรยาจำเลยยื่นคำร้องว่าที่พิพาทเป็นของจำเลยกับของตนมีสิทธิร่วมกัน ขอเป็นจำเลยร่วม ศาลอนุญาต การที่ร้องสอดเข้ามามิได้แสดงให้เห็นว่าที่ดินส่วนของตนอยู่ตรงไหนตอนใด และจำเลยเดิมต่อสู้คดีไว้ขัดแย้งต่อสิทธิของตนประการใด ต้องถือว่าร้องสอดเข้าเป็นจำเลยร่วมตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(2) หาใช่เข้าเป็นคู่ความฝ่ายที่สามไม่ เมื่อจำเลยเดิมไม่มีสิทธิจะยื่นคำให้การอีก จำเลยร่วมจึงไม่มีสิทธิเช่นกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 166/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิจากการเช่าเป็นอิสระ การสอดเข้ามาในคดีต้องเกี่ยวข้องกับสัญญาพิพาทโดยตรง
โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยออกจากห้องเช่า การที่ผู้ร้องขอเข้าเป็นจำเลยร่วมอ้างว่าอยู่ในห้องพิพาทโดยอาศัยสิทธิตามสัญญาที่ผู้มีชื่อคนหนึ่งทำกับผู้แทนโจทก์ อันไม่เกี่ยวข้องกับสัญญาเช่าที่โจทก์ฟ้องจำเลยนั้น จึงเป็นการกล่าวอ้างสิทธิตามสัญญาอีกอันหนึ่ง ฉะนั้น ถึงแม้โจทก์จะบรรยายฟ้องว่าจำเลยเช่าห้องเพื่อการค้า และยกป้ายใช้ชื่อร้านค้าซึ่งเป็นชื่อของผู้ร้องก็ตาม ก็เป็นแต่บรรยายให้เห็นว่าจำเลยเช่าเพื่อการค้า จึงไม่มีเหตุที่ผู้ร้องจะสอดเข้ามาในคดีนี้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 166/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิจากการเช่าต่างสัญญา: ผู้ร้องไม่มีสิทธิร้องสอดคดีเช่าระหว่างโจทก์-จำเลย
โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยออกจากห้องเช่า. การที่ผู้ร้องขอเข้าเป็นจำเลยร่วมอ้างว่าอยู่ในห้องพิพาทโดยอาศัยสิทธิตามสัญญาที่ผู้มีชื่อคนหนึ่งทำกับผู้แทนโจทก์ อันไม่เกี่ยวข้องกับสัญญาเช่าที่โจทก์ฟ้องจำเลยนั้น จึงเป็นการกล่าวอ้างสิทธิตามสัญญาอีกอันหนึ่ง ต่างเรื่องต่างรายจากสัญญาที่จำเลยทำกับโจทก์ ฉะนั้น ถึงแม้โจทก์จะบรรยายฟ้องว่าจำเลยเช่าห้องเพื่อการค้าและยกป้ายใช้ชื่อร้านค้าซึ่งเป็นชื่อของผู้ร้องก็ตาม ก็เป็นแต่บรรยายให้เห็นว่าจำเลยเช่าเพื่อการค้า จึงไม่มีเหตุที่ผู้ร้องจะร้องสอดเข้ามาในคดีได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 989/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
จำเลยร่วมนิ่งเงียบในคดีแล้วมาอ้างสิทธิใหม่หลังบังคับคดีไม่ได้ ศาลสั่งห้ามขัดขวางการคืนสิทธิให้โจทก์
ผู้ที่ร้องสอดเข้ามาเป็นจำเลยในคดียกข้อต่อสู้พิพาทต่อโจทก์นั้นย่อมถือได้ว่าได้เข้ามามีฐานะเป็นจำเลยตามที่ตนขอ ต่อมาเมื่อคดีถึงที่สุดในชั้นบังคับคดี จะมาอ้างข้อต่อสู้ขึ้นใหม่ไม่ได้ เพราะเป็นการกล่าวอ้างข้อเท็จจริงขึ้นใหม่เพื่อลบล้างข้อเท็จจริงในคดีที่ถึงที่สุดแล้ว
ในกรณีดังกล่าวแล้ว เมื่อโจทก์ชนะคดีโจทก์ย่อมขอให้ศาลออกคำบังคับเอาแก่ผู้ร้องสอดที่เข้ามาเป็นจำเลยนั้นในประเด็นที่ได้ยกขึ้นพิพาทกับโจทก์ได้ (แม้โจทก์จะมิได้ขอเพิ่มเติมให้บังคับเอาแก่ผู้ร้องสอดหลังจากที่ได้มีการร้องสอดเข้ามาแล้วก็ตาม)
โจทก์ฟ้องเรียกที่ดินคืนจากจำเลย ผู้ร้องสอดร้องเข้ามาว่าเป็นผู้มีกรรมสิทธิ์ในที่นั้น โจทก์ไม่มีสิทธิฟ้อง คดีถึงที่สุดว่าจำเลยต้องคืนที่ให้แก่โจทก์ ศาลย่อมออกคำบังคับผู้ร้องสอดไม่ให้มาเกี่ยวข้องขัดขวางการได้คืนที่ดินของโจทก์ได้
ในกรณีดังกล่าวแล้ว เมื่อโจทก์ชนะคดีโจทก์ย่อมขอให้ศาลออกคำบังคับเอาแก่ผู้ร้องสอดที่เข้ามาเป็นจำเลยนั้นในประเด็นที่ได้ยกขึ้นพิพาทกับโจทก์ได้ (แม้โจทก์จะมิได้ขอเพิ่มเติมให้บังคับเอาแก่ผู้ร้องสอดหลังจากที่ได้มีการร้องสอดเข้ามาแล้วก็ตาม)
โจทก์ฟ้องเรียกที่ดินคืนจากจำเลย ผู้ร้องสอดร้องเข้ามาว่าเป็นผู้มีกรรมสิทธิ์ในที่นั้น โจทก์ไม่มีสิทธิฟ้อง คดีถึงที่สุดว่าจำเลยต้องคืนที่ให้แก่โจทก์ ศาลย่อมออกคำบังคับผู้ร้องสอดไม่ให้มาเกี่ยวข้องขัดขวางการได้คืนที่ดินของโจทก์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 989/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผู้ร้องสอดเป็นจำเลยย่อมผูกพันตามคำพิพากษา แม้ไม่ได้ยึดครองที่ดิน ศาลบังคับให้งดเว้นการขัดขวางการส่งมอบที่ดินคืน
ผู้ที่ร้องสอดเข้ามาเป็นจำเลยในคดียกข้อต่อสู้พิพาทต่อโจทก์นั้นย่อมถือได้ว่าได้เข้ามามีฐานะเป็นจำเลยตามที่ตนขอ ต่อมาเมื่อคดีถึงที่สุดในชั้นบังคับคดี จะมาอ้างข้อต่อสู้ขึ้นใหม่ไม่ได้ เพราะเป็นการกล่าวอ้างข้อเท็จจริงขึ้นใหม่ เพื่อลบล้างข้อเท็จจริงในคดีที่ถึงที่สุดแล้ว
ในกรณีดังกล่าวแล้ว เมื่อโจทก์ชนะคดีโจทก์ย่อมขอให้ศาลออกคำบังคับเอาแก่ผู้ร้องสอดที่เข้ามาเป็นจำเลยนั้นในประเด็นที่ได้ยกขึ้นพิพาทกับโจทก์ได้ (แม้โจทก์จะมิได้ขอเพิ่มเติมให้บังคับเอาแก่ผู้ร้องสอดหลังจากที่ได้มีการร้องสอดเข้ามาแล้วก็ตาม)
โจทก์ฟ้องเรียกที่ดินคืนจากจำเลย ผู้ร้องสอดร้องเข้ามาว่าเป็นผู้มีกรรมสิทธิ์ในที่นั้น โจทก์ไม่มีสิทธิฟ้อง คดีถึงที่สุดว่าจำเลยต้องคืนที่ให้แก่โจทก์ ศาลย่อมออกคำบังคับผู้ร้องสอดไม่ให้มาเกี่ยวข้องขัดขวางการได้คืนที่ดินของโจทก์ได้
ในกรณีดังกล่าวแล้ว เมื่อโจทก์ชนะคดีโจทก์ย่อมขอให้ศาลออกคำบังคับเอาแก่ผู้ร้องสอดที่เข้ามาเป็นจำเลยนั้นในประเด็นที่ได้ยกขึ้นพิพาทกับโจทก์ได้ (แม้โจทก์จะมิได้ขอเพิ่มเติมให้บังคับเอาแก่ผู้ร้องสอดหลังจากที่ได้มีการร้องสอดเข้ามาแล้วก็ตาม)
โจทก์ฟ้องเรียกที่ดินคืนจากจำเลย ผู้ร้องสอดร้องเข้ามาว่าเป็นผู้มีกรรมสิทธิ์ในที่นั้น โจทก์ไม่มีสิทธิฟ้อง คดีถึงที่สุดว่าจำเลยต้องคืนที่ให้แก่โจทก์ ศาลย่อมออกคำบังคับผู้ร้องสอดไม่ให้มาเกี่ยวข้องขัดขวางการได้คืนที่ดินของโจทก์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 662/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในที่ดินหลังจดทะเบียน: โอนโดยสุจริตมีผลเหนือการครอบครองเดิม แม้มีฐานะจดทะเบียนได้ก่อน
แม้จำเลยจะได้ครอบครองที่พิพาทตลอดมามีฐานะอันจะจดทะเบียนสิทธิของตนก่อนมีการออกโฉนดแล้วก็ดี เมื่อยังมิได้จดทะเบียนสิทธินั้น และโจทก์ได้รับโอนมาโดยมีค่าตอบแทนโดยสุจริตแลได้จดทะเบียนโอนโฉนดกันเรียบร้อยแล้วก็ไม่มีสิทธิที่จะโต้แย้งโจทก์ได้และไม่มีสิทธิครอบครองที่ชายเลนให้เป็นที่กีดขวางหน้าที่ดินของโจทก์ได้
ข้อเท็จจริงและข้อ ก.ม.ที่คู่ความมิได้กล่าวชัดแจ้งในฎีกาเพียงแต่ให้ทนายความแถลงคารมนั้นศาลไม่วินิจฉัยให้
เมื่อโจทก์ไม่มีพยานมาให้ศาลสิบในวันนัด (เพราะโจทก์ยื่นระบุพยานก่อนวัดนัดเพียง 1 วัน ไม่ถูกต้องตาม ป.วิ.แพ่ง ม.88 ศาลสั่งไม่อนุญาต)ก็ชอบที่จำเลยจะขอให้ตัดพยานโจทก์ในวันนั้นหรือก่อนนั้นโจทก์กลับระบุยื่นพยานใหม่ เมื่อจำเลยยอมให้เลื่อนไปและโจทก์ได้กลับยื่นระบุพยานใหม่ถูกต้องตาม ป.วิ.แพ่ง.ม.88 แล้วจำเลยจะคัดค้านให้ตัดพยานอีกไม่ได้
ข้อเท็จจริงและข้อ ก.ม.ที่คู่ความมิได้กล่าวชัดแจ้งในฎีกาเพียงแต่ให้ทนายความแถลงคารมนั้นศาลไม่วินิจฉัยให้
เมื่อโจทก์ไม่มีพยานมาให้ศาลสิบในวันนัด (เพราะโจทก์ยื่นระบุพยานก่อนวัดนัดเพียง 1 วัน ไม่ถูกต้องตาม ป.วิ.แพ่ง ม.88 ศาลสั่งไม่อนุญาต)ก็ชอบที่จำเลยจะขอให้ตัดพยานโจทก์ในวันนั้นหรือก่อนนั้นโจทก์กลับระบุยื่นพยานใหม่ เมื่อจำเลยยอมให้เลื่อนไปและโจทก์ได้กลับยื่นระบุพยานใหม่ถูกต้องตาม ป.วิ.แพ่ง.ม.88 แล้วจำเลยจะคัดค้านให้ตัดพยานอีกไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 662/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในที่ดินหลังจดทะเบียน: โจทก์ซื้อโดยสุจริตและจดทะเบียนแล้ว แม้จำเลยครอบครองก่อนก็ไม่มีสิทธิโต้แย้ง
แม้จำเลยจะได้ครอบครองที่พิพาทตลอดมามีฐานะอันจะจดทะเบียนสิทธิของตนก่อนมีการออกโฉนดแล้วก็ดี เมื่อยังมิได้จดทะเบียนสิทธินั้นและโจทก์ได้รับโอนมาโดยมีค่าตอบแทนโดยสุจริตและได้จดทะเบียนโอนโฉนดกันเรียบร้อยแล้วจำเลยก็ไม่มีสิทธิที่จะโต้แย้งโจทก์ได้และไม่มีสิทธิครอบครองที่ชายเลนให้เป็นที่กีดขวางหน้าที่ดินของโจทก์ได้
ข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายที่คู่ความมิได้กล่าวชัดแจ้งในฎีกาเพียงแต่ให้ทนายความแถลงคารมกันศาลไม่รับวินิจฉัยให้
เมื่อโจทก์ไม่มีพยานมาให้ศาลสืบในวันนัด (เพราะโจทก์ยื่นระบุพยานก่อนวันนัดเพียง 1 วัน ไม่ถูกต้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 88 ศาลสั่งไม่อนุญาต) ก็ชอบที่จำเลยจะขอให้ตัดพยานโจทก์ในวันนั้นหรือก่อนนั้น โจทก์กลับระบุยื่นพยานใหม่ เมื่อจำเลยยอมให้ เลื่อนไปและโจทก์ได้กลับยื่นระบุพยานใหม่ถูกต้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 88 แล้วจำเลยจะคัดค้านให้ตัดพยานอีกไม่ได้
ข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายที่คู่ความมิได้กล่าวชัดแจ้งในฎีกาเพียงแต่ให้ทนายความแถลงคารมกันศาลไม่รับวินิจฉัยให้
เมื่อโจทก์ไม่มีพยานมาให้ศาลสืบในวันนัด (เพราะโจทก์ยื่นระบุพยานก่อนวันนัดเพียง 1 วัน ไม่ถูกต้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 88 ศาลสั่งไม่อนุญาต) ก็ชอบที่จำเลยจะขอให้ตัดพยานโจทก์ในวันนั้นหรือก่อนนั้น โจทก์กลับระบุยื่นพยานใหม่ เมื่อจำเลยยอมให้ เลื่อนไปและโจทก์ได้กลับยื่นระบุพยานใหม่ถูกต้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 88 แล้วจำเลยจะคัดค้านให้ตัดพยานอีกไม่ได้