พบผลลัพธ์ทั้งหมด 54 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 124/2515 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มลดโทษตามมาตรา 54 และผลกระทบของพระราชบัญญัติล้างมลทินต่อการกักกัน
ศาลชั้นต้นกำหนดโทษจำคุกจำเลย และให้เพิ่มโทษตามมาตรา 93 กึ่งหนึ่งกับลดโทษตามมาตรา 78 กึ่งหนึ่ง ดังนี้ ส่วนของการเพิ่มเท่ากับส่วนของการลด ศาลมีอำนาจใช้ดุลพินิจเห็นสมควรไม่เพิ่มไม่ลดโทษที่กำหนดไว้นั้นได้ ตามมาตรา 54 ประมวลกฎหมายอาญาจำเลยไม่อาจอ้างได้ว่าส่วนของการเพิ่มน้อยกว่าส่วนของการลดถ้าหากเพิ่มโทษเสียก่อนแล้วลดในภายหลัง
จำเลยพ้นจากการกักกันภายหลังวันที่ 13 พฤษภาคม 2500 ซึ่งเป็นวันที่พระราชบัญญัติล้างมลทินฯ ใช้บังคับย่อมไม่ได้รับผลการล้างมลทินตามมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว จำเลยอาจถูกพิพากษาให้กักกันในฐานที่เป็นผู้เคยถูกศาลพิพากษาให้กักกันมาแล้วได้
จำเลยพ้นจากการกักกันภายหลังวันที่ 13 พฤษภาคม 2500 ซึ่งเป็นวันที่พระราชบัญญัติล้างมลทินฯ ใช้บังคับย่อมไม่ได้รับผลการล้างมลทินตามมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว จำเลยอาจถูกพิพากษาให้กักกันในฐานที่เป็นผู้เคยถูกศาลพิพากษาให้กักกันมาแล้วได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1698/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษอาญาตามกระทงความผิด แม้ไม่เข้าเกณฑ์มาตรา 93 ก็เพิ่มโทษตามมาตรา 92 ได้
เมื่อศาลพิพากษาเรียงกระทงลงโทษและความผิดแต่ละกระทงที่ลงโทษเข้าเกณฑ์ที่จะเพิ่มโทษได้ ย่อมเพิ่มโทษได้ทุกกระทงความผิดที่ลงโทษนั้น
โจทก์ขอให้เพิ่มโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 93เมื่อไม่เข้าเกณฑ์ที่จะเพิ่มโทษตามมาตรา 93 แต่เข้าเกณฑ์เพิ่มโทษตามมาตรา 92 ได้ ศาลย่อมเพิ่มโทษตามมาตรา 92 ซึ่งเป็นบทที่เบากว่าให้ได้
โจทก์ขอให้เพิ่มโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 93เมื่อไม่เข้าเกณฑ์ที่จะเพิ่มโทษตามมาตรา 93 แต่เข้าเกณฑ์เพิ่มโทษตามมาตรา 92 ได้ ศาลย่อมเพิ่มโทษตามมาตรา 92 ซึ่งเป็นบทที่เบากว่าให้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1698/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษอาญาตามกระทงความผิดที่เข้าเกณฑ์ แม้ขอเพิ่มโทษตามมาตราที่เบากว่าก็ทำได้
เมื่อศาลพิพากษาเรียงกระทงลงโทษและความผิดแต่ละกระทงที่ลงโทษเข้าเกณฑ์ที่จะเพิ่มโทษได้ ย่อมเพิ่มโทษได้ทุกกระทงความผิดที่ลงโทษนั้น
โจทก์ขอให้เพิ่มโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 93เมื่อไม่เข้าเกณฑ์ที่จะเพิ่มโทษตามมาตรา 93 แต่เข้าเกณฑ์เพิ่มโทษตามมาตรา 92 ได้ ศาลย่อมเพิ่มโทษตามมาตรา 92 ซึ่งเป็นบทที่เบากว่าให้ได้
โจทก์ขอให้เพิ่มโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 93เมื่อไม่เข้าเกณฑ์ที่จะเพิ่มโทษตามมาตรา 93 แต่เข้าเกณฑ์เพิ่มโทษตามมาตรา 92 ได้ ศาลย่อมเพิ่มโทษตามมาตรา 92 ซึ่งเป็นบทที่เบากว่าให้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 427/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่าจากพฤติการณ์ยิงต่อเนื่อง แม้มีเจตนาชิงทรัพย์ ศาลยืนตามบทลงโทษพยายามฆ่า เพิ่มโทษซ้ำกระทำผิด
การที่จำเลยใช้อาวุธปืนซึ่งเป็นอาวุธที่ร้ายแรงยิงผู้เสียหาย 2 นัดถูกที่ข้อมือขวา และที่ชายโครงหรือรักแร้ด้านหน้าข้างขวาถึงกระดูกซี่โครงหัก. แม้จำเลยจะมีเจตนายิงเพื่อชิงทรัพย์ก็ตาม. ก็ถือได้ว่าจำเลยมีเจตนาฆ่าผู้เสียหายด้วย. เพราะจำเลยย่อมเล็งเห็นผลของการกระทำนั้นได้ว่า. กระสุนปืนที่จำเลยยิงอาจทำให้ผู้เสียหายถึงแก่ความตาย. แต่เมื่อผู้เสียหายไม่ตาย การกระทำของจำเลยจึงต้องเป็นความผิดฐานพยายามฆ่าผู้เสียหาย. เพื่อจะเอาไว้ซึ่งผลประโยชน์อันเกิดแต่การที่จำเลยได้กระทำการชิงทรัพย์เพื่อปกปิดความผิดและเพื่อหลีกเลี่ยงให้พ้นอาญาในความผิดฐานชิงทรัพย์. ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 80 อีกบทหนึ่ง. หาใช่เป็นเพียงความผิดฐานชิงทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้ถูกกระทำร้ายรับอันตรายสาหัสตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 339 วรรคสาม. เท่านั้นไม่.
อัตราโทษสำหรับความผิดของจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา289 ที่จะพึงวางแก่จำเลยมีสถานเดียวคือ ประหารชีวิต.แต่ที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 80 และมาตรา 52(1) ให้จำคุก16 ปี. เห็นได้ว่าศาลอุทธรณ์ได้ลดมาตราส่วนโทษที่จะลงตามมาตรา 289 เสียหนึ่งในสามตามมาตรา 80 และ 52(1)ให้แล้ว.
ตามมาตรา 51 แห่งประมวลกฎหมายอาญา จะเพิ่มโทษให้จำเลยให้ต้องจำคุกเกินกว่า 20 ปีไม่ได้. แต่ถ้าศาลวางโทษจำคุก 20 ปี เพิ่มโทษขึ้นไปแล้วลดลงคงจำคุกไม่เกิน 20 ปีได้.
การที่ผู้กระทำผิดมาแล้วกลับมากระทำผิดอีกจะต้องถูกเพิ่มโทษนั้น. ย่อมต้องเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 92,93 หาใช่อยู่ในดุลพินิจของศาลที่จะเพิ่มหรือไม่เพิ่มตามที่ศาลเห็นสมควรไม่.
อัตราโทษสำหรับความผิดของจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา289 ที่จะพึงวางแก่จำเลยมีสถานเดียวคือ ประหารชีวิต.แต่ที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 80 และมาตรา 52(1) ให้จำคุก16 ปี. เห็นได้ว่าศาลอุทธรณ์ได้ลดมาตราส่วนโทษที่จะลงตามมาตรา 289 เสียหนึ่งในสามตามมาตรา 80 และ 52(1)ให้แล้ว.
ตามมาตรา 51 แห่งประมวลกฎหมายอาญา จะเพิ่มโทษให้จำเลยให้ต้องจำคุกเกินกว่า 20 ปีไม่ได้. แต่ถ้าศาลวางโทษจำคุก 20 ปี เพิ่มโทษขึ้นไปแล้วลดลงคงจำคุกไม่เกิน 20 ปีได้.
การที่ผู้กระทำผิดมาแล้วกลับมากระทำผิดอีกจะต้องถูกเพิ่มโทษนั้น. ย่อมต้องเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 92,93 หาใช่อยู่ในดุลพินิจของศาลที่จะเพิ่มหรือไม่เพิ่มตามที่ศาลเห็นสมควรไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 427/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่าจากการชิงทรัพย์และการเพิ่มโทษผู้กระทำผิดซ้ำ
การที่จำเลยใช้อาวุธปืนซึ่งเป็นอาวุธที่ร้ายแรงยิงผู้เสียหาย 2 นัดถูกที่ข้อมือขวา และที่ชายโครงหรือรักแร้ด้านหน้าข้างขวาถึงกระดูกซี่โครงหัก แม้จำเลยจะมีเจตนายิงเพื่อชิงทรัพย์ก็ตาม ก็ถือได้ว่าจำเลยมีเจตนาฆ่าผู้เสียหายด้วย เพราะจำเลยย่อมเล็งเห็นผลของการกระทำนั้นได้ว่ากระสุนปืนที่จำเลยยิงอาจทำให้ผู้เสียหายถึงแก่ความตายแต่เมื่อผู้เสียหายไม่ตาย การกระทำของจำเลยจึงต้องเป็นความผิดฐานพยายามฆ่าผู้เสียหายเพื่อจะเอาไว้ซึ่งผลประโยชน์อันเกิดแต่การที่จำเลยได้กระทำการชิงทรัพย์เพื่อปกปิดความผิดและเพื่อหลีกเลี่ยงให้พ้นอาญาในความผิดฐานชิงทรัพย์ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 80 อีกบทหนึ่งหาใช่เป็นเพียงความผิดฐานชิงทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้ถูกกระทำร้ายรับอันตรายสาหัสตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 339 วรรคสาม เท่านั้นไม่
อัตราโทษสำหรับความผิดของจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 ที่จะพึงวางแก่จำเลยมีสถานเดียวคือ ประหารชีวิตแต่ที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 80 และมาตรา 52(1) ให้จำคุก16 ปีเห็นได้ว่าศาลอุทธรณ์ได้ลดมาตราส่วนโทษที่จะลงตามมาตรา 289 เสียหนึ่งในสามตามมาตรา 80 และ 52(1)ให้แล้ว
ตามมาตรา 51 แห่งประมวลกฎหมายอาญา จะเพิ่มโทษให้จำเลยให้ต้องจำคุกเกินกว่า 20 ปีไม่ได้แต่ถ้าศาลวางโทษจำคุก 20 ปี เพิ่มโทษขึ้นไปแล้วลดลงคงจำคุกไม่เกิน 20 ปีได้
การที่ผู้กระทำผิดมาแล้วกลับมากระทำผิดอีกจะต้องถูกเพิ่มโทษนั้นย่อมต้องเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 92,93 หาใช่อยู่ในดุลพินิจของศาลที่จะเพิ่มหรือไม่เพิ่มตามที่ศาลเห็นสมควรไม่
อัตราโทษสำหรับความผิดของจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 ที่จะพึงวางแก่จำเลยมีสถานเดียวคือ ประหารชีวิตแต่ที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 80 และมาตรา 52(1) ให้จำคุก16 ปีเห็นได้ว่าศาลอุทธรณ์ได้ลดมาตราส่วนโทษที่จะลงตามมาตรา 289 เสียหนึ่งในสามตามมาตรา 80 และ 52(1)ให้แล้ว
ตามมาตรา 51 แห่งประมวลกฎหมายอาญา จะเพิ่มโทษให้จำเลยให้ต้องจำคุกเกินกว่า 20 ปีไม่ได้แต่ถ้าศาลวางโทษจำคุก 20 ปี เพิ่มโทษขึ้นไปแล้วลดลงคงจำคุกไม่เกิน 20 ปีได้
การที่ผู้กระทำผิดมาแล้วกลับมากระทำผิดอีกจะต้องถูกเพิ่มโทษนั้นย่อมต้องเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 92,93 หาใช่อยู่ในดุลพินิจของศาลที่จะเพิ่มหรือไม่เพิ่มตามที่ศาลเห็นสมควรไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 427/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่าจากการชิงทรัพย์และการเพิ่มโทษผู้กระทำผิดซ้ำ
การที่จำเลยใช้อาวุธปืนซึ่งเป็นอาวุธที่ร้ายแรงยิงผู้เสียหาย 2 นัดถูกที่ข้อมือขวา และที่ชายโครงหรือรักแร้ด้านหน้าข้างขวาถึงกระดูกซี่โครงหัก แม้จำเลยจะมีเจตนายิงเพื่อชิงทรัพย์ก็ตาม ก็ถือได้ว่าจำเลยมีเจตนาฆ่าผู้เสียหายด้วย เพราะจำเลยย่อมเล็งเห็นผลของการกระทำนั้นได้ว่า กระสุนปืนที่จำเลยยิงอาจทำให้ผู้เสียหายถึงแก่ความตาย แต่เมื่อผู้เสียหายไม่ตาย การกระทำของจำเลยจึงต้องเป็นความผิดฐานพยายามฆ่าผู้เสียหาย เพื่อจะเอาไว้ซึ่งผลประโยชน์อันเกิดแต่การที่จำเลยได้กระทำการชิงทรัพย์เพื่อปกปิดความผิดและเพื่อหลีกเลี่ยงให้พ้นอาญาในความผิดฐานชิงทรัพย์ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 80 อีกบทหนึ่ง หาใช่เป็นเพียงความผิดฐานชิงทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้ถูกกระทำร้ายรับอันตรายสาหัสตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 339 วรรคสาม เท่านั้นไม่
อัตราโทษสำหรับความผิดของจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา289 ที่จะพึงวางแก่จำเลยมีสถานเดียวคือ ประหารชีวิต แต่ที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 80 และมาตรา 52(1) ให้จำคุก16 ปี เห็นได้ว่าศาลอุทธรณ์ได้ลดมาตราส่วนโทษที่จะลงตามมาตรา 289 เสียหนึ่งในสามตามมาตรา 80 และ 52(1)ให้แล้ว
ตามมาตรา 51 แห่งประมวลกฎหมายอาญา จะเพิ่มโทษให้จำเลยให้ต้องจำคุกเกินกว่า 20 ปีไม่ได้ แต่ถ้าศาลวางโทษจำคุก 20 ปี เพิ่มโทษขึ้นไปแล้วลดลงคงจำคุกไม่เกิน 20 ปีได้
การที่ผู้กระทำผิดมาแล้วกลับมากระทำผิดอีกจะต้องถูกเพิ่มโทษนั้น ย่อมต้องเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 92, 93 หาใช่อยู่ในดุลพินิจของศาลที่จะเพิ่มหรือไม่เพิ่มตามที่ศาลเห็นสมควรไม่
อัตราโทษสำหรับความผิดของจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา289 ที่จะพึงวางแก่จำเลยมีสถานเดียวคือ ประหารชีวิต แต่ที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 80 และมาตรา 52(1) ให้จำคุก16 ปี เห็นได้ว่าศาลอุทธรณ์ได้ลดมาตราส่วนโทษที่จะลงตามมาตรา 289 เสียหนึ่งในสามตามมาตรา 80 และ 52(1)ให้แล้ว
ตามมาตรา 51 แห่งประมวลกฎหมายอาญา จะเพิ่มโทษให้จำเลยให้ต้องจำคุกเกินกว่า 20 ปีไม่ได้ แต่ถ้าศาลวางโทษจำคุก 20 ปี เพิ่มโทษขึ้นไปแล้วลดลงคงจำคุกไม่เกิน 20 ปีได้
การที่ผู้กระทำผิดมาแล้วกลับมากระทำผิดอีกจะต้องถูกเพิ่มโทษนั้น ย่อมต้องเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 92, 93 หาใช่อยู่ในดุลพินิจของศาลที่จะเพิ่มหรือไม่เพิ่มตามที่ศาลเห็นสมควรไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 204/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษทางอาญาซ้ำ: ศาลพิจารณาโทษจำคุกในความผิดเดิมก่อนเพิ่มโทษตามกฎหมาย
คดีก่อน แม้ศาลจะพิพากษาว่าจำเลยมีความผิดฐานแต่งกายโดยใช้เครื่องแต่งกายคล้ายเครื่องแบบทหารตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 146 ด้วย แต่มิได้พิพากษาลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มิได้กำหนดโทษตามมาตรา 146 ไว้หากไปลงโทษตามพระราชบัญญัติเครื่องแบบทหารซึ่งเป็นบทหนักจำคุก 1 ปี 6 เดือน ทั้งก็รู้ไม่ได้ว่าถ้าศาลจะกำหนดโทษจำคุกตามมาตรา 146 (ซึ่งมีระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี) ศาลจะกำหนดต่ำกว่า 6 เดือน หรือไม่ เหตุนี้จึงว่าจำเลยกระทำผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 146 มีโทษจำคุกกว่า 6 เดือนมาแล้วตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 93 ยังไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 204/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษจำคุกซ้ำ จำเป็นต้องพิพากษาลงโทษในความผิดเดิมเกิน 6 เดือน
คดีก่อน แม้ศาลจะพิพากษาว่าจำเลยมีความผิดฐานแต่งกายโดยใช้เครื่องแต่งกายคล้ายเครื่องแบบทหารตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 146 ด้วย แต่มิได้พิพากษาลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มิได้กำหนดโทษตามมาตรา 146 ไว้ หากไปลงโทษตามพระราชบัญญัติเครื่องแบบทหารซึ่งเป็นบทหนัก จำคุก 1 ปี 6 เดือน ทั้งก็รู้ไม่ได้ว่าถ้าศาลจะกำหนดโทษจำคุกตามมาตรา 146 (ซึ่งมีระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี) ศาลจะกำหนดต่ำกว่า 6 เดือนหรือไม่ เหตุนี้ จึงว่าจำเลยกระทำผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 146 มีโทษจำคุกกว่า 6 เดือนมาแล้ว ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 93 ยังไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษซ้ำความผิด: ต้องพิจารณาโทษจำคุกในความผิดเดิมที่ศาลพิพากษาลงโทษจริงเท่านั้น
คดีก่อน แม้ศาลจะพิพากษาว่าจำเลยมีความผิดฐานแต่งกายโดยใช้เครื่องแต่งกายคล้ายเครื่องแบบทหารตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 146 ด้วย แต่มิได้พิพากษาลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มิได้กำหนดโทษตามมาตรา 146 ไว้ หากไปลงโทษตามพระราชบัญญัติเครื่องแบบทหารซึ่งเป็นบทหนักจำคุก 1 ปี 6 เดือน ทั้งก็รู้ไม่ได้ว่าถ้าศาลจำกำหนดโทษจำคุกตามมาตรา 146 (ซึ่งมีระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี) ศาลจะกำหนดต่ำกว่า 6 เดือนหรือไม่ เหตุนี้ จึงว่าจำเลยกระทำผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 146 มีโทษจำคุกกว่า 6 เดือนมาแล้ว ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 93 ยังไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 872/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษอาญาฐานไม่เข็ดหลาบต้องกระทำหลังจำเลยมีทนาย และการรับสารภาพก่อนมีทนายยังใช้ได้
ศาลชั้นต้นพิพากษาว่าจำเลยมีความผิดฐานชิงทรัพย์ตามมาตรา 339 ให้จำคุก 5 ปี และเพิ่มโทษจำเลยตามมาตรา 93 กึ่งหนึ่ง รวมเป็นโทษจำคุก 7 ปี 6 เดือน ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นว่าไม่เพิ่มโทษตามมาตรา 93 คงจำคุกเพียง 5 ปี เช่นนี้ ถือได้ว่าศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ทั้งบทและโทษ เป็นการแก้ไขมาก จึงฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงได้.
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 173 บัญญัติขึ้นเพื่อให้จำเลยมีทนายต่อสู้ในคดีอุกฉกรรจ์ที่มีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป ไม่ได้หมายความรวมถึงโทษที่จำเลยจะพึงได้รับจากการเพิ่มโทษฐานไม่เข็ดหลาบด้วย ฉะนั้น แม้จำเลยจะให้การรับในข้อเคยต้องโทษก่อนตั้งทนาย คำรับก็ไม่เสียไป.
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 173 บัญญัติขึ้นเพื่อให้จำเลยมีทนายต่อสู้ในคดีอุกฉกรรจ์ที่มีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป ไม่ได้หมายความรวมถึงโทษที่จำเลยจะพึงได้รับจากการเพิ่มโทษฐานไม่เข็ดหลาบด้วย ฉะนั้น แม้จำเลยจะให้การรับในข้อเคยต้องโทษก่อนตั้งทนาย คำรับก็ไม่เสียไป.