พบผลลัพธ์ทั้งหมด 174 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1658/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าซื้อที่ไม่สมบูรณ์: การลงลายมือชื่อกรรมการคนเดียวไม่ผูกพันบริษัท
จำเลยต่อสู้ว่าสัญญาเช่าซื้อที่โจทก์ฟ้องเป็นเอกสารที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายเพราะกรรมการผู้มีอำนาจลงชื่อแทนบริษัทโจทก์ ลงลายมือชื่อแต่ผู้เดียวเป็นการไม่ถูกต้องตามหนังสือรับรองของหอทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทกลางถือได้ว่าจำเลยตั้งประเด็นต่อสู้เรื่องอำนาจฟ้องของโจทก์แล้ว
กรรมการผู้มีอำนาจลงลายมือชื่อกระทำแทนบริษัทโจทก์ได้มี 3 คนสองในสามคนมีอำนาจลงลายมือชื่อกระทำแทนบริษัทได้แต่ต้องประทับตราสำคัญของบริษัทด้วย ดังนี้ การลงลายมือชื่อในเอกสารที่ทำขึ้นในนามของโจทก์ซึ่งเป็นบริษัทจำกัด จะมีผลเป็นการลงลายมือชื่อของโจทก์โดยสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อกรรมการที่ระบุชื่อไว้ลงลายมือชื่อแทนโจทก์ไม่น้อยกว่าสองคนและประทับตราด้วยแต่ตามสัญญาเช่าซื้อที่โจทก์ทำไว้กับจำเลย ปรากฏว่ากรรมการผู้เดียวลงลายมือชื่อเป็นคู่สัญญาในฐานะผู้ให้เช่าซื้อ จึงไม่มีผลสมบูรณ์เป็นการลงลายมือชื่อของโจทก์ ถือไม่ได้ว่าโจทก์เป็นคู่สัญญาเช่าซื้อกับจำเลย โจทก์ไม่มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยรับผิดตามสัญญาเช่าซื้อฟ้องโจทก์ต้องยกเสีย โดยไม่จำต้องวินิจฉัยปัญหาว่า เป็นการกระทำของตัวแทนซึ่งกระทำไปโดยปราศจากอำนาจ หรือทำนอกทำเหนือขอบอำนาจ และโจทก์ซึ่งเป็นตัวการได้ให้สัตยาบันแล้วหรือไม่เพราะเป็นการนอกประเด็นจากคำฟ้องและคำให้การ
(วรรคสองวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 24/2513)
กรรมการผู้มีอำนาจลงลายมือชื่อกระทำแทนบริษัทโจทก์ได้มี 3 คนสองในสามคนมีอำนาจลงลายมือชื่อกระทำแทนบริษัทได้แต่ต้องประทับตราสำคัญของบริษัทด้วย ดังนี้ การลงลายมือชื่อในเอกสารที่ทำขึ้นในนามของโจทก์ซึ่งเป็นบริษัทจำกัด จะมีผลเป็นการลงลายมือชื่อของโจทก์โดยสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อกรรมการที่ระบุชื่อไว้ลงลายมือชื่อแทนโจทก์ไม่น้อยกว่าสองคนและประทับตราด้วยแต่ตามสัญญาเช่าซื้อที่โจทก์ทำไว้กับจำเลย ปรากฏว่ากรรมการผู้เดียวลงลายมือชื่อเป็นคู่สัญญาในฐานะผู้ให้เช่าซื้อ จึงไม่มีผลสมบูรณ์เป็นการลงลายมือชื่อของโจทก์ ถือไม่ได้ว่าโจทก์เป็นคู่สัญญาเช่าซื้อกับจำเลย โจทก์ไม่มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยรับผิดตามสัญญาเช่าซื้อฟ้องโจทก์ต้องยกเสีย โดยไม่จำต้องวินิจฉัยปัญหาว่า เป็นการกระทำของตัวแทนซึ่งกระทำไปโดยปราศจากอำนาจ หรือทำนอกทำเหนือขอบอำนาจ และโจทก์ซึ่งเป็นตัวการได้ให้สัตยาบันแล้วหรือไม่เพราะเป็นการนอกประเด็นจากคำฟ้องและคำให้การ
(วรรคสองวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 24/2513)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1121/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนมติที่ประชุมใหญ่แต่งตั้งกรรมการใหม่ ทำให้กรรมการชุดเดิมยังมีอำนาจบริหารกิจการต่อไป
บริษัท ส. ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัดไว้โดยชอบด้วยกฎหมาย ในการนี้ได้จดทะเบียนรายชื่อกรรมการของบริษัทครั้งหลังที่สุด คือเมื่อวันที่ 6 เมษายน 2509 ไว้ว่ามีกรรมการ 7 คน คือจำเลยทั้งเจ็ดคนนี้ซึ่งเป็นกรรมการชุดที่ได้รับเลือกจากมติที่ประชุมใหญ่ของบริษัทเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2508 จึงถือได้ว่ากรรมการชุดจำเลยนี้เป็นกรรมการของบริษัทที่ถูกต้องชอบด้วยกฎหมาย ต่อมาเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2509 ได้มีการประชุมใหญ่ตั้งกรรมการชุดใหม่ขึ้นอีก 7 คน คือกรรมการชุดโจทก์ แต่ได้มีการคัดค้าน และ ท. กับพวก ได้ยื่นคำร้องต่อศาลจังหวัดขอให้เพิกถอนมติที่ประชุมใหญ่เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2509 อ้างว่าเป็นการประชุมใหญ่ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายและข้อบังคับของบริษัท ปรากฏตามคดีแพ่งดำที่ 132/2509 ซึ่งคดีดังกล่าวได้เด็ดขาดถึงที่สุดแล้ว โดยศาลฎีกาพิพากษาให้เพิกถอนมติที่ประชุมใหญ่หรือที่ประชุมวิสามัญเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2509 ที่ตั้งกรรมการใหม่คือกรรมการชุดโจทก์เป็นกรรมการของบริษัทเสีย ฉะนั้น เมื่อมติที่ประชุมใหญ่เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2509 ซึ่งตั้งกรรมการชุดโจทก์เป็นกรรมการของบริษัทในภายหลังการแต่งตั้งกรรมการชุดจำเลยเพื่อบริหารกิจการของบริษัทแทนกรรมการชุดจำเลยได้ถูกศาลพิพากษาเพิกถอนเสียเช่นนี้แล้ว ก็เท่ากับไม่มีการแต่งตั้งกรรมการชุดใหม่ขึ้นแทนกรรมการชุดจำเลย กรรมการชุดจำเลยซึ่งได้รับแต่งตั้งโดยมติที่ประชุมใหญ่และนายทะเบียนได้จดทะเบียนเป็นกรรมการของบริษัทโดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว ก็มีสิทธิและอำนาจที่จะบริหารกิจการของบริษัทได้โดยชอบต่อไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1121/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนมติที่ประชุมใหญ่แต่งตั้งกรรมการใหม่ ทำให้กรรมการชุดเดิมยังมีอำนาจบริหารบริษัทต่อไป
บริษัท ส. ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัดไว้โดยชอบด้วยกฎหมายในการนี้ได้จดทะเบียนรายชื่อกรรมการของบริษัทครั้งหลังที่สุด คือเมื่อวันที่ 6 เมษายน 2509 ไว้ว่ามีกรรมการ 7 คน คือจำเลยทั้งเจ็ดคนนี้ซึ่งเป็นกรรมการชุดที่ได้รับเลือกจากมติที่ประชุมใหญ่ของบริษัทเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2508 จึงถือได้ว่ากรรมการชุดจำเลยนี้เป็นกรรมการของบริษัทที่ถูกต้องชอบด้วยกฎหมาย ต่อมาเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2509 ได้มีการประชุมใหญ่ตั้งกรรมการชุดใหม่ขึ้นอีก 7 คนคือกรรมการชุดโจทก์ แต่ได้มีการคัดค้านและ ท. กับพวก ได้ยื่นคำร้องต่อศาลจังหวัดขอให้เพิกถอนมติที่ประชุมใหญ่เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2509อ้างว่าเป็นการประชุมใหญ่ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายและข้อบังคับของบริษัทปรากฏตามคดีแพ่งดำที่ 132/2509 ซึ่งคดีดังกล่าวได้เด็ดขาดถึงที่สุดแล้วโดยศาลฎีกาพิพากษาให้เพิกถอนมติที่ประชุมใหญ่หรือที่ประชุมวิสามัญเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2509 ที่ตั้งกรรมการใหม่คือกรรมการชุดโจทก์เป็นกรรมการของบริษัทเสีย ฉะนั้น เมื่อมติที่ประชุมใหญ่เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2509 ซึ่งตั้งกรรมการชุดโจทก์เป็นกรรมการของบริษัทในภายหลังการแต่งตั้งกรรมการชุดจำเลยเพื่อบริหารกิจการของบริษัทแทนกรรมการชุดจำเลยได้ถูกศาลพิพากษาเพิกถอนเสียเช่นนี้แล้วก็เท่ากับไม่มีการแต่งตั้งกรรมการชุดใหม่ขึ้นแทนกรรมการชุดจำเลย กรรมการชุดจำเลยซึ่งได้รับแต่งตั้งโดยมติที่ประชุมใหญ่และนายทะเบียนได้จดทะเบียนเป็นกรรมการของบริษัทโดยชอบด้วยกฎหมายแล้วก็มีสิทธิและอำนาจที่จะบริหารกิจการของบริษัทได้โดยชอบต่อไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 473/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจกรรมการ, การเชิดตัวแทน, และอัตราดอกเบี้ยตามสัญญา แม้ไม่มีการประชุมสามัญประจำปี กรรมการชุดเดิมยังมีอำนาจ
ข้อบังคับของบริษัทโจทก์ ข้อ 4 มีความว่า "เมื่อมีการประชุมสามัญประจำปีภายหลังแต่การจดทะเบียนบริษัท ในทุก ๆ ปีต่อไปของบริษัทก็ดี ผู้ที่เป็นกรรมการต้องออกจากตำแหน่งทั้งสิ้น ..." ดังนี้ กรรมการชุดเดิมต้องออกจากตำแหน่งต่อเมื่อมีการประชุมสามัญประจำปีในทุก ๆ ปี ถ้าไม่มีการประชุมสามัญประจำปี กรรมการก็ยังคงเป็นกรรมการของบริษัทอยู่ต่อไปหลังจากตั้งกรรมการชุดเดิมแล้ว บริษัทโจทก์ไม่มีการประชุมสามัญประจำปีกรรมการบริษัทโจทก์ชุดเดิมจึงมีอำนาจลงลายมือชื่อในใบแต่งทนายฟ้องจำเลยได้
ข้อที่ว่า บริษัทจำเลยเชิด ช. และ ส. ออกแสดงเป็นตัวแทนของบริษัทจำเลย ทำการกู้เงินจากบริษัทโจทก์ และบริษัทจำเลยได้รับและถือเอาประโยชน์จากการกู้ยืมรายนี้ ย่อมอยู่ในประเด็นว่าบริษัทจำเลยได้กู้เงินโจทก์โดย ช. และส. เป็นผู้มีอำนาจลงชื่อแทนบริษัทจำเลยในสัญญากู้ยืมหรือไม่
การตั้งตัวแทนที่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือหรือต้องทำเป็นหนังสือนั้นใช้แก่กรณีที่มีสัญญาตั้งตัวแทน ไม่ใช้แก่กรณีเชิดบุคคลเป็นตัวแทน
พยานโจทก์เบิกความว่า การกู้ยืมเงินรายนี้จำเลยให้ดอกเบี้ยร้อยละ2 บาทต่อเดือน ดังนี้ เป็นเพียงเสนอด้วยวาจาเบื้องต้นเท่านั้น แต่เมื่อโจทก์จำเลยตกลงทำสัญญากันแน่นอน ก็คิดดอกเบี้ยเพียงร้อยละ 1.25 บาทต่อเดือน จึงไม่ฝ่าฝืนอัตราดอกเบี้ยตามกฎหมาย
ข้อที่ว่า บริษัทจำเลยเชิด ช. และ ส. ออกแสดงเป็นตัวแทนของบริษัทจำเลย ทำการกู้เงินจากบริษัทโจทก์ และบริษัทจำเลยได้รับและถือเอาประโยชน์จากการกู้ยืมรายนี้ ย่อมอยู่ในประเด็นว่าบริษัทจำเลยได้กู้เงินโจทก์โดย ช. และส. เป็นผู้มีอำนาจลงชื่อแทนบริษัทจำเลยในสัญญากู้ยืมหรือไม่
การตั้งตัวแทนที่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือหรือต้องทำเป็นหนังสือนั้นใช้แก่กรณีที่มีสัญญาตั้งตัวแทน ไม่ใช้แก่กรณีเชิดบุคคลเป็นตัวแทน
พยานโจทก์เบิกความว่า การกู้ยืมเงินรายนี้จำเลยให้ดอกเบี้ยร้อยละ2 บาทต่อเดือน ดังนี้ เป็นเพียงเสนอด้วยวาจาเบื้องต้นเท่านั้น แต่เมื่อโจทก์จำเลยตกลงทำสัญญากันแน่นอน ก็คิดดอกเบี้ยเพียงร้อยละ 1.25 บาทต่อเดือน จึงไม่ฝ่าฝืนอัตราดอกเบี้ยตามกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 473/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจกรรมการ, การเชิดตัวแทน, และอัตราดอกเบี้ยตามสัญญา แม้ไม่มีการประชุมสามัญประจำปี กรรมการชุดเดิมยังคงมีอำนาจ
ข้อบังคับของบริษัทโจทก์ ข้อ 4 มีความว่า 'เมื่อมีการประชุมสามัญประจำปี'ภายหลังแต่การจดทะเบียนบริษัท ในทุก ๆ ปีต่อไปของบริษัทก็ดี ผู้ที่เป็นกรรมการต้องออกจากตำแหน่งทั้งสิ้น ...' ดังนี้ กรรมการชุดเดิมต้องออกจากตำแหน่งต่อเมื่อมีการประชุมสามัญประจำปีในทุก ๆ ปี ถ้าไม่มีการประชุมสามัญประจำปี กรรมการก็ยังคงเป็นกรรมการของบริษัทอยู่ต่อไป หลังจากตั้งกรรมการชุดเดิมแล้ว บริษัทโจทก์ไม่มีการประชุมสามัญประจำปีกรรมการบริษัทโจทก์ชุดเดิมจึงมีอำนาจลงลายมือชื่อในใบแต่งทนายฟ้องจำเลยได้
ข้อที่ว่า บริษัทจำเลยเชิด ช. และ ส. ออกแสดงเป็นตัวแทนของบริษัทจำเลย ทำการกู้เงินจากบริษัทโจทก์และบริษัทจำเลยได้รับและถือเอาประโยชน์จากการกู้ยืมรายนี้ย่อมอยู่ในประเด็นว่าบริษัทจำเลยได้กู้เงินโจทก์โดย ช. และส. เป็นผู้มีอำนาจลงชื่อแทนบริษัทจำเลยในสัญญากู้ยืมหรือไม่
การตั้งตัวแทนที่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือหรือต้องทำเป็นหนังสือนั้นใช้แก่กรณีที่มีสัญญาตั้งตัวแทนไม่ใช้แก่กรณีเชิดบุคคลเป็นตัวแทน
พยานโจทก์เบิกความว่า การกู้ยืมเงินรายนี้จำเลยให้ดอกเบี้ยร้อยละ2 บาทต่อเดือน ดังนี้ เป็นเพียงเสนอด้วยวาจาเบื้องต้นเท่านั้น แต่เมื่อโจทก์จำเลยตกลงทำสัญญากันแน่นอน ก็คิดดอกเบี้ยเพียงร้อยละ 1.25 บาทต่อเดือน จึงไม่ฝ่าฝืนอัตราดอกเบี้ยตามกฎหมาย
ข้อที่ว่า บริษัทจำเลยเชิด ช. และ ส. ออกแสดงเป็นตัวแทนของบริษัทจำเลย ทำการกู้เงินจากบริษัทโจทก์และบริษัทจำเลยได้รับและถือเอาประโยชน์จากการกู้ยืมรายนี้ย่อมอยู่ในประเด็นว่าบริษัทจำเลยได้กู้เงินโจทก์โดย ช. และส. เป็นผู้มีอำนาจลงชื่อแทนบริษัทจำเลยในสัญญากู้ยืมหรือไม่
การตั้งตัวแทนที่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือหรือต้องทำเป็นหนังสือนั้นใช้แก่กรณีที่มีสัญญาตั้งตัวแทนไม่ใช้แก่กรณีเชิดบุคคลเป็นตัวแทน
พยานโจทก์เบิกความว่า การกู้ยืมเงินรายนี้จำเลยให้ดอกเบี้ยร้อยละ2 บาทต่อเดือน ดังนี้ เป็นเพียงเสนอด้วยวาจาเบื้องต้นเท่านั้น แต่เมื่อโจทก์จำเลยตกลงทำสัญญากันแน่นอน ก็คิดดอกเบี้ยเพียงร้อยละ 1.25 บาทต่อเดือน จึงไม่ฝ่าฝืนอัตราดอกเบี้ยตามกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 853/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาตกลงชำระหนี้เป็นหลักฐานรับสภาพหนี้ ทำให้อายุความสะดุดหยุดลง แม้มีข้อพิพาทเรื่องคุณภาพงาน
จำเลยทำสัญญาจ้างโจทก์แก้ไขปรับปรุงเครื่องปรับอากาศของจำเลยด้วยสัมภาระของโจทก์ โดยชำระสินจ้างให้โจทก์แล้วบางส่วน นอกนั้นจะชำระเมื่องานเสร็จ โจทก์ลงมือแก้ไขปรับปรุงเครื่องปรับอากาศนั้นแล้ว แต่ทำความเย็นไม่ได้ตามที่กำหนดในสัญญาจ้าง จำเลยแจ้งให้โจทก์แก้ไข ก็แก้ไขไม่สำเร็จ จนจำเลยต้องจ้างผู้อื่นแก้ไข ต่อมาจำเลยได้ทำสัญญากับโจทก์ขอผ่อนชำระสินจ้างที่ค้างชำระเป็นสี่งวดหากผิดนัดยอมเสียดอกเบี้ยให้ด้วยจำเลยชำระงวดแรกแล้ว อีกสามงวดไม่ยอมชำระ โดยอ้างว่าโจทก์ไม่แก้ไขเครื่องปรับอากาศให้ทำความเย็นได้ตามสัญญาจ้าง สัญญาที่จำเลยทำกับโจทก์ครั้งหลังนี้ ไม่ใช่สัญญาประนีประนอมยอมความ เพราะมิได้กล่าวถึงเรื่องค่าเสียหายในการผิดสัญญาจ้าง เป็นแต่เพียงความตกลงในการชำระหนี้เท่านั้น สิทธิและความรับผิดของโจทก์จำเลยซึ่งมีอยู่ต่อกันตามสัญญาจ้างยังไม่ระงับสิ้นไป สัญญาตกลงชำระหนี้ไม่ปิดปากจำเลยมิให้โต้เถียงว่าเครื่องปรับอากาศซึ่งโจทก์รับจ้างติดตั้งชำรุดบกพร่องทำความเย็นไม่ได้ตามที่กำหนด ซึ่งโจทก์จะต้องรับผิดชอบ
แม้โจทก์แก้ไขปรับปรุงเครื่องปรับอากาศทำความเย็นไม่ได้ตามที่กำหนดในสัญญาจ้าง โจทก์พยายามแก้ไข แต่แก้ไขไม่สำเร็จ จนจำเลยต้องจ้างผู้อื่นแก้ไขซึ่งโจทก์จะต้องรับผิดชอบ แต่เมื่อโจทก์ทวงถามให้จำเลยชำระสินจ้างที่ค้างชำระแทนที่จำเลยจะใช้สิทธิยึดหน่วงสินจ้างไว้ก่อนจนกว่าโจทก์จะแก้ไขความชำรุดบกพร่องสำเร็จ จำเลยกลับยอมทำสัญญาตกลงจะผ่อนชำระหนี้ให้โจทก์ ถือได้ว่าจำเลยสละสิทธิยึดหน่วงที่จำเลยมีอยู่เสียแล้ว จำเลยมีหน้าที่ต้องชำระสินจ้างตามสัญญาตกลงชำระหนี้นั้น
จำเลยเชิดบุคคลหนึ่งให้มีอำนาจทำการแทนบริษัทจำเลยได้ เมื่อบุคคลนั้นทำสัญญาในนามจำเลยตกลงจะผ่อนชำระหนี้ให้โจทก์ สัญญานั้นย่อมสมบูรณ์ผูกพันจำเลย จำเลยจะยกเอาข้อบังคับของบริษัทมายันโจทก์หรือบุคคลภายนอกไม่ได้
การที่จำเลยทำสัญญากับโจทก์ยอมตกลงจะผ่อนชำระหนี้สินจ้างที่ค้างชำระให้แก่โจทก์เป็นงวด ๆ นั้น ย่อมเป็นการรับสภาพหนี้ อันมีผลทำให้อายุความสะดุดหยุดลง.
(ข้อกฎหมายตามวรรคแรก วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 9/2512)
แม้โจทก์แก้ไขปรับปรุงเครื่องปรับอากาศทำความเย็นไม่ได้ตามที่กำหนดในสัญญาจ้าง โจทก์พยายามแก้ไข แต่แก้ไขไม่สำเร็จ จนจำเลยต้องจ้างผู้อื่นแก้ไขซึ่งโจทก์จะต้องรับผิดชอบ แต่เมื่อโจทก์ทวงถามให้จำเลยชำระสินจ้างที่ค้างชำระแทนที่จำเลยจะใช้สิทธิยึดหน่วงสินจ้างไว้ก่อนจนกว่าโจทก์จะแก้ไขความชำรุดบกพร่องสำเร็จ จำเลยกลับยอมทำสัญญาตกลงจะผ่อนชำระหนี้ให้โจทก์ ถือได้ว่าจำเลยสละสิทธิยึดหน่วงที่จำเลยมีอยู่เสียแล้ว จำเลยมีหน้าที่ต้องชำระสินจ้างตามสัญญาตกลงชำระหนี้นั้น
จำเลยเชิดบุคคลหนึ่งให้มีอำนาจทำการแทนบริษัทจำเลยได้ เมื่อบุคคลนั้นทำสัญญาในนามจำเลยตกลงจะผ่อนชำระหนี้ให้โจทก์ สัญญานั้นย่อมสมบูรณ์ผูกพันจำเลย จำเลยจะยกเอาข้อบังคับของบริษัทมายันโจทก์หรือบุคคลภายนอกไม่ได้
การที่จำเลยทำสัญญากับโจทก์ยอมตกลงจะผ่อนชำระหนี้สินจ้างที่ค้างชำระให้แก่โจทก์เป็นงวด ๆ นั้น ย่อมเป็นการรับสภาพหนี้ อันมีผลทำให้อายุความสะดุดหยุดลง.
(ข้อกฎหมายตามวรรคแรก วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 9/2512)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 853/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาชำระหนี้และการสละสิทธิยึดหน่วง การรับสภาพหนี้ทำให้ อายุความสะดุดหยุดลง
จำเลยทำสัญญาจ้างโจทก์แก้ไขปรับปรุงเครื่องปรับอากาศของจำเลยด้วยสัมภาระของโจทก์ โดยชำระสินจ้างให้โจทก์แล้วบางส่วน นอกนั้นจะชำระเมื่องานเสร็จ โจทก์ลงมือแก้ไขปรับปรุงเครื่องปรับอากาศนั้นแล้ว แต่ทำความเย็นไม่ได้ตามที่กำหนดในสัญญาจ้างจำเลยแจ้งให้โจทก์แก้ไข ก็แก้ไขไม่สำเร็จ จนจำเลยต้องจ้างผู้อื่นแก้ไขต่อมาจำเลยได้ทำสัญญากับโจทก์ขอผ่อนชำระสินจ้างที่ค้างชำระเป็นสี่งวดหากผิดนัดยอมเสียดอกเบี้ยให้ด้วยจำเลยชำระงวดแรกแล้วอีกสามงวดไม่ยอมชำระโดยอ้างว่าโจทก์ไม่แก้ไขเครื่องปรับอากาศให้ทำความเย็นได้ตามสัญญาจ้างสัญญาที่จำเลยทำกับโจทก์ครั้งหลังนี้ ไม่ใช่สัญญาประนีประนอมยอมความเพราะมิได้กล่าวถึงเรื่องค่าเสียหายในการผิดสัญญาจ้างเป็นแต่เพียงความตกลงในการชำระหนี้เท่านั้นสิทธิและความรับผิดของโจทก์จำเลยซึ่งมีอยู่ต่อกันตามสัญญาจ้างยังไม่ระงับสิ้นไปสัญญาตกลงชำระหนี้ไม่ปิดปากจำเลยมิให้โต้เถียงว่าเครื่องปรับอากาศซึ่งโจทก์รับจ้างติดตั้งชำรุดบกพร่องทำความเย็นไม่ได้ตามที่กำหนด ซึ่งโจทก์จะต้องรับผิดชอบ
แม้โจทก์แก้ไขปรับปรุงเครื่องปรับอากาศทำความเย็นไม่ได้ตามที่กำหนดในสัญญาจ้างโจทก์พยายามแก้ไข แต่แก้ไขไม่สำเร็จจนจำเลยต้องจ้างผู้อื่นแก้ไขซึ่งโจทก์จะต้องรับผิดชอบแต่เมื่อโจทก์ทวงถามให้จำเลยชำระสินจ้างที่ค้างชำระแทนที่จำเลยจะใช้สิทธิยึดหน่วงสินจ้างไว้ก่อนจนกว่าโจทก์จะแก้ไขความชำรุดบกพร่องสำเร็จจำเลยกลับยอมทำสัญญาตกลงจะผ่อนชำระหนี้ให้โจทก์ถือได้ว่าจำเลยสละสิทธิยึดหน่วงที่จำเลยมีอยู่เสียแล้วจำเลยมีหน้าที่ต้องชำระสินจ้างตามสัญญาตกลงชำระหนี้นั้น
จำเลยเชิดบุคคลหนึ่งให้มีอำนาจทำการแทนบริษัทจำเลยได้ เมื่อบุคคลนั้นทำสัญญาในนามจำเลยตกลงจะผ่อนชำระหนี้ให้โจทก์สัญญานั้นย่อมสมบูรณ์ผูกพันจำเลยจำเลยจะยกเอาข้อบังคับของบริษัทมายันโจทก์หรือบุคคลภายนอกไม่ได้
การที่จำเลยทำสัญญากับโจทก์ยอมตกลงจะผ่อนชำระหนี้สินจ้างที่ค้างชำระให้แก่โจทก์เป็นงวดๆ นั้นย่อมเป็นการรับสภาพหนี้ อันมีผลทำให้อายุความสะดุดหยุดลง
(ข้อกฎหมายตามวรรคแรก วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่9/2512)
แม้โจทก์แก้ไขปรับปรุงเครื่องปรับอากาศทำความเย็นไม่ได้ตามที่กำหนดในสัญญาจ้างโจทก์พยายามแก้ไข แต่แก้ไขไม่สำเร็จจนจำเลยต้องจ้างผู้อื่นแก้ไขซึ่งโจทก์จะต้องรับผิดชอบแต่เมื่อโจทก์ทวงถามให้จำเลยชำระสินจ้างที่ค้างชำระแทนที่จำเลยจะใช้สิทธิยึดหน่วงสินจ้างไว้ก่อนจนกว่าโจทก์จะแก้ไขความชำรุดบกพร่องสำเร็จจำเลยกลับยอมทำสัญญาตกลงจะผ่อนชำระหนี้ให้โจทก์ถือได้ว่าจำเลยสละสิทธิยึดหน่วงที่จำเลยมีอยู่เสียแล้วจำเลยมีหน้าที่ต้องชำระสินจ้างตามสัญญาตกลงชำระหนี้นั้น
จำเลยเชิดบุคคลหนึ่งให้มีอำนาจทำการแทนบริษัทจำเลยได้ เมื่อบุคคลนั้นทำสัญญาในนามจำเลยตกลงจะผ่อนชำระหนี้ให้โจทก์สัญญานั้นย่อมสมบูรณ์ผูกพันจำเลยจำเลยจะยกเอาข้อบังคับของบริษัทมายันโจทก์หรือบุคคลภายนอกไม่ได้
การที่จำเลยทำสัญญากับโจทก์ยอมตกลงจะผ่อนชำระหนี้สินจ้างที่ค้างชำระให้แก่โจทก์เป็นงวดๆ นั้นย่อมเป็นการรับสภาพหนี้ อันมีผลทำให้อายุความสะดุดหยุดลง
(ข้อกฎหมายตามวรรคแรก วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่9/2512)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 853/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาผ่อนชำระหนี้สละสิทธิยึดหน่วง & อายุความสะดุดหยุดเมื่อรับสภาพหนี้
จำเลยทำสัญญาจ้างโจทก์แก้ไขปรับปรุงเครื่องปรับอากาศของจำเลยด้วยสัมภาระของโจทก์. โดยชำระสินจ้างให้โจทก์แล้วบางส่วน นอกนั้นจะชำระเมื่องานเสร็จ. โจทก์ลงมือแก้ไขปรับปรุงเครื่องปรับอากาศนั้นแล้ว แต่ทำความเย็นไม่ได้.ตามที่กำหนดในสัญญาจ้าง. จำเลยแจ้งให้โจทก์แก้ไข ก็แก้ไขไม่สำเร็จ. จนจำเลยต้องจ้างผู้อื่นแก้ไข. ต่อมาจำเลยได้ทำสัญญากับโจทก์ขอผ่อนชำระสินจ้างที่ค้างชำระเป็นสี่งวดหากผิดนัดยอมเสียดอกเบี้ยให้ด้วยจำเลยชำระงวดแรกแล้ว.อีกสามงวดไม่ยอมชำระโดยอ้างว่าโจทก์ไม่แก้ไขเครื่องปรับอากาศ.ให้ทำความเย็นได้ตามสัญญาจ้าง. สัญญาที่จำเลยทำกับโจทก์ครั้งหลังนี้ ไม่ใช่สัญญาประนีประนอมยอมความ. เพราะมิได้กล่าวถึงเรื่องค่าเสียหายในการผิดสัญญาจ้าง.เป็นแต่เพียงความตกลงในการชำระหนี้เท่านั้นสิทธิและความรับผิดของโจทก์จำเลยซึ่งมีอยู่ต่อกันตามสัญญาจ้างยังไม่ระงับสิ้นไป. สัญญาตกลงชำระหนี้ไม่ปิดปากจำเลยมิให้โต้เถียง.ว่าเครื่องปรับอากาศซึ่งโจทก์รับจ้างติดตั้งชำรุดบกพร่องทำความเย็นไม่ได้ตามที่กำหนด. ซึ่งโจทก์จะต้องรับผิดชอบ.
แม้โจทก์แก้ไขปรับปรุงเครื่องปรับอากาศทำความเย็นไม่ได้.ตามที่กำหนดในสัญญาจ้าง. โจทก์พยายามแก้ไข แต่แก้ไขไม่สำเร็จ. จนจำเลยต้องจ้างผู้อื่นแก้ไขซึ่งโจทก์จะต้องรับผิดชอบ. แต่เมื่อโจทก์ทวงถามให้จำเลยชำระสินจ้างที่ค้างชำระแทนที่จำเลยจะใช้สิทธิยึดหน่วงสินจ้างไว้ก่อนจนกว่าโจทก์จะแก้ไขความชำรุดบกพร่องสำเร็จ. จำเลยกลับยอมทำสัญญาตกลงจะผ่อนชำระหนี้ให้โจทก์. ถือได้ว่าจำเลยสละสิทธิยึดหน่วงที่จำเลยมีอยู่เสียแล้ว. จำเลยมีหน้าที่ต้องชำระสินจ้างตามสัญญาตกลงชำระหนี้นั้น.
จำเลยเชิดบุคคลหนึ่งให้มีอำนาจทำการแทนบริษัทจำเลยได้. เมื่อบุคคลนั้นทำสัญญาในนามจำเลยตกลงจะผ่อนชำระหนี้ให้โจทก์. สัญญานั้นย่อมสมบูรณ์ผูกพันจำเลย. จำเลยจะยกเอาข้อบังคับของบริษัทมายันโจทก์หรือบุคคลภายนอกไม่ได้.
การที่จำเลยทำสัญญากับโจทก์ยอมตกลงจะผ่อนชำระหนี้สินจ้างที่ค้างชำระให้แก่โจทก์เป็นงวดๆ นั้น. ย่อมเป็นการรับสภาพหนี้ อันมีผลทำให้อายุความสะดุดหยุดลง. (ข้อกฎหมายตามวรรคแรก วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่9/2512).
แม้โจทก์แก้ไขปรับปรุงเครื่องปรับอากาศทำความเย็นไม่ได้.ตามที่กำหนดในสัญญาจ้าง. โจทก์พยายามแก้ไข แต่แก้ไขไม่สำเร็จ. จนจำเลยต้องจ้างผู้อื่นแก้ไขซึ่งโจทก์จะต้องรับผิดชอบ. แต่เมื่อโจทก์ทวงถามให้จำเลยชำระสินจ้างที่ค้างชำระแทนที่จำเลยจะใช้สิทธิยึดหน่วงสินจ้างไว้ก่อนจนกว่าโจทก์จะแก้ไขความชำรุดบกพร่องสำเร็จ. จำเลยกลับยอมทำสัญญาตกลงจะผ่อนชำระหนี้ให้โจทก์. ถือได้ว่าจำเลยสละสิทธิยึดหน่วงที่จำเลยมีอยู่เสียแล้ว. จำเลยมีหน้าที่ต้องชำระสินจ้างตามสัญญาตกลงชำระหนี้นั้น.
จำเลยเชิดบุคคลหนึ่งให้มีอำนาจทำการแทนบริษัทจำเลยได้. เมื่อบุคคลนั้นทำสัญญาในนามจำเลยตกลงจะผ่อนชำระหนี้ให้โจทก์. สัญญานั้นย่อมสมบูรณ์ผูกพันจำเลย. จำเลยจะยกเอาข้อบังคับของบริษัทมายันโจทก์หรือบุคคลภายนอกไม่ได้.
การที่จำเลยทำสัญญากับโจทก์ยอมตกลงจะผ่อนชำระหนี้สินจ้างที่ค้างชำระให้แก่โจทก์เป็นงวดๆ นั้น. ย่อมเป็นการรับสภาพหนี้ อันมีผลทำให้อายุความสะดุดหยุดลง. (ข้อกฎหมายตามวรรคแรก วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่9/2512).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 366/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าซื้อโดยกรรมการผู้จัดการ แม้ไม่มีตราบริษัท ก็มีผลผูกพันหากทำในนามบริษัท และจำเลยไม่โต้แย้งอำนาจกรรมการ
กรรมการผู้จัดการของบริษัทโจทก์ทำสัญญาเช่าซื้อในนามบริษัทโจทก์เป็นคู่สัญญาให้จำเลยเช่าซื้อรถยนต์ โดยกรรมการผู้จัดการนั้นลงชื่อแทน แม้มิได้ประทับตราบริษัท ซึ่งตามข้อบังคับที่จดทะเบียนไว้จะต้องประทับตราด้วย ก็ถือได้ว่าบริษัทโจทก์เป็นคู่สัญญากับจำเลย บริษัทโจทก์ย่อมเอาสัญญาเช่าซื้อที่กรรมการผู้จัดการทำกับจำเลยฟ้องจำเลยได้
(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 992/2497)
บริษัทโจทก์ฟ้องเรียกค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระจากจำเลยตามสัญญาเช่าซื้อที่จำเลยทำกับกรรมการผู้จัดการของบริษัทโจทก์ จำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่า กรรมการผู้จัดการไม่มีอำนาจทำสัญญาเช่าซื้อแทนบริษัทโจทก์ ศาลจะยกปัญหาข้อนี้ขึ้นชี้ขาดยกฟ้องมิได้ เพราะเป็นเรื่องนอกประเด็น
(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 992/2497)
บริษัทโจทก์ฟ้องเรียกค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระจากจำเลยตามสัญญาเช่าซื้อที่จำเลยทำกับกรรมการผู้จัดการของบริษัทโจทก์ จำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่า กรรมการผู้จัดการไม่มีอำนาจทำสัญญาเช่าซื้อแทนบริษัทโจทก์ ศาลจะยกปัญหาข้อนี้ขึ้นชี้ขาดยกฟ้องมิได้ เพราะเป็นเรื่องนอกประเด็น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 366/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจกรรมการผู้จัดการทำสัญญา แม้ไม่มีตราบริษัท ก็ผูกพันบริษัทได้ หากทำในนามบริษัท และจำเลยไม่โต้แย้งอำนาจ
กรรมการผู้จัดการของบริษัทโจทก์ทำสัญญาเช่าซื้อในนามบริษัทโจทก์เป็นคู่สัญญาให้จำเลยเช่าซื้อรถยนต์โดยกรรมการผู้จัดการนั้นลงชื่อแทน แม้มิได้ประทับตราบริษัทซึ่งตามข้อบังคับที่จดทะเบียนไว้จะต้องประทับตราด้วยก็ถือได้ว่าบริษัทโจทก์เป็นคู่สัญญากับจำเลย บริษัทโจทก์ย่อมเอาสัญญาเช่าซื้อที่กรรมการผู้จัดการทำกับจำเลยฟ้องจำเลยได้(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 992/2497)
บริษัทโจทก์ฟ้องเรียกค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระจากจำเลยตามสัญญาเช่าซื้อที่จำเลยทำกับกรรมการผู้จัดการของบริษัทโจทก์ จำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่า กรรมการผู้จัดการไม่มีอำนาจทำสัญญาเช่าซื้อแทนบริษัทโจทก์ศาลจะยกปัญหาข้อนี้ขึ้นชี้ขาดยกฟ้องมิได้เพราะเป็นเรื่องนอกประเด็น
บริษัทโจทก์ฟ้องเรียกค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระจากจำเลยตามสัญญาเช่าซื้อที่จำเลยทำกับกรรมการผู้จัดการของบริษัทโจทก์ จำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่า กรรมการผู้จัดการไม่มีอำนาจทำสัญญาเช่าซื้อแทนบริษัทโจทก์ศาลจะยกปัญหาข้อนี้ขึ้นชี้ขาดยกฟ้องมิได้เพราะเป็นเรื่องนอกประเด็น