พบผลลัพธ์ทั้งหมด 194 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1146/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายจากอุบัติเหตุทางรถยนต์: สถานะทางกฎหมายของโจทก์ (ภริยาและบุตร) และอายุความฎีกา
ศาลอ่านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์วันที่ 20 พฤษภาคม 2511 การนับอายุความฎีกาจึงต้องเริ่มนับแต่วันที่ 21 พฤษภาคม 2511 กำหนดหนึ่งเดือนจึงสิ้นสุดในวันที่ 20 มิถุนายน 2511 ซึ่งเป็นวันก่อนหน้าจะถึงวัดแห่งเดือนสุดท้ายอันเป็นวันตรงกับวันเริ่มระยะเวลานั้น แต่ในวันดังกล่าวนี้เป็นวันหยุดราชการ จึงต้องนับถึงวันที่ 21 มิถุนายน 2511 ซึงเป็นวันที่เริ่มทำงานใหม่เข้าในอายุความฎีกาด้วย
ปัญหาที่ว่า โจทก์ที่ 1 มิใช่ภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายของผู้ตาย และโจทก์ที่ 2 มิใช่บุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของผู้ตาย เป็นปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
โจทก์ที่ 2 มิใช่บุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของผู้ตาย โจทก์เป็นเพียงบุตรนอกสมรสของผู้ตายกับโจทก์ที่ 1 ซึ่งผู้ตายได้แจ้งทะเบียนคนเกิดว่าเป็นบุตรของตน และอุปการะเลี้ยงดูโดยเปิดเผยตลอดมาเท่านั้น การที่ผู้ตายแจ้งทะเบียนคนเกิดว่าโจทก์ที่ 2 เป็นบุตรของตนก็ดี หรือได้ทำการอุปการะเลี้ยงดูโจทก์ที่ 2 ฉันบุตรตลอดมาก็ดี ก็หาทำให้โจทก์ที่ 2 เป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของผู้ตายขึ้นมาไม่ เพราะบุตรนอกสมรสจะกลายเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายได้ ก็ต้องเป็นไปตามวิธีการที่บัญญัติไว้ในมาตรา 1526 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โจทก์ที่ 2 คงมีฐานะเป็นเพียงบุตรที่ผู้ตายรับรองแล้วตามมาตรา 1627 และมีเพียงสิทธิที่จะได้รับมรดกในฐานะเป็นผู้สืบสันดานของผู้ตายตามมาตรา 1629 (1) จึงไม่มีสิทธิได้ค่าอุปการะเลี้ยงดูหรือฟ้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูจากผู้ที่ทำให้บิดาตนถึงแก่ความตายได้ (อ้างฎีกาที่ 1259/2506)
เมื่อโจทก์ที่ 1 มิใช่ภริยาโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ตาย ก็มิใช่ผู้เสียหายที่มีสิทธิฟ้องเรียกค่าทำศพผู้ตายจากจำเลยได้
ปัญหาที่ว่า โจทก์ที่ 1 มิใช่ภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายของผู้ตาย และโจทก์ที่ 2 มิใช่บุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของผู้ตาย เป็นปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
โจทก์ที่ 2 มิใช่บุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของผู้ตาย โจทก์เป็นเพียงบุตรนอกสมรสของผู้ตายกับโจทก์ที่ 1 ซึ่งผู้ตายได้แจ้งทะเบียนคนเกิดว่าเป็นบุตรของตน และอุปการะเลี้ยงดูโดยเปิดเผยตลอดมาเท่านั้น การที่ผู้ตายแจ้งทะเบียนคนเกิดว่าโจทก์ที่ 2 เป็นบุตรของตนก็ดี หรือได้ทำการอุปการะเลี้ยงดูโจทก์ที่ 2 ฉันบุตรตลอดมาก็ดี ก็หาทำให้โจทก์ที่ 2 เป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของผู้ตายขึ้นมาไม่ เพราะบุตรนอกสมรสจะกลายเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายได้ ก็ต้องเป็นไปตามวิธีการที่บัญญัติไว้ในมาตรา 1526 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โจทก์ที่ 2 คงมีฐานะเป็นเพียงบุตรที่ผู้ตายรับรองแล้วตามมาตรา 1627 และมีเพียงสิทธิที่จะได้รับมรดกในฐานะเป็นผู้สืบสันดานของผู้ตายตามมาตรา 1629 (1) จึงไม่มีสิทธิได้ค่าอุปการะเลี้ยงดูหรือฟ้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูจากผู้ที่ทำให้บิดาตนถึงแก่ความตายได้ (อ้างฎีกาที่ 1259/2506)
เมื่อโจทก์ที่ 1 มิใช่ภริยาโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ตาย ก็มิใช่ผู้เสียหายที่มีสิทธิฟ้องเรียกค่าทำศพผู้ตายจากจำเลยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1742/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การใช้สิทธิทางศาลต้องมีกฎหมายรองรับ สิทธิรับมรดกบุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรอง
การใช้สิทธิทางศาลโดยยื่นคำร้องฝ่ายเดียว เพื่อขอให้ศาลมีคำสั่งอย่างใดอย่างหนึ่งนั้น ต้องเป็นกรณีที่มีกฎหมายบัญญัติไว้ให้ทำเช่นนั้นได้ มิใช่ว่าจะยื่นคำร้องฝ่ายเดียวได้ทุกกรณีไป
บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว ย่อมมีสิทธิได้รับมรดกของบิดาผู้วายชนม์ตามกฎหมายโดยชอบแล้ว จึงไม่มีบทกฎหมายบัญญัติให้ต้องมายื่นคำร้องเพื่อให้ศาลมีคำสั่งว่าเป็นผู้มีสิทธิรับมรดกของบิดาผู้วายชนม์อีก
กฎกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ 7 พ.ศ.2497 ข้อ 8(1) เป็นเรื่องการได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ที่ดินที่มีโฉนดแล้วโดยการครอบครองด้วยอำนาจปรปักษ์ หาได้บัญญัติถึงสิทธิครอบครองในที่ดินมือเปล่าไม่
บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว ย่อมมีสิทธิได้รับมรดกของบิดาผู้วายชนม์ตามกฎหมายโดยชอบแล้ว จึงไม่มีบทกฎหมายบัญญัติให้ต้องมายื่นคำร้องเพื่อให้ศาลมีคำสั่งว่าเป็นผู้มีสิทธิรับมรดกของบิดาผู้วายชนม์อีก
กฎกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ 7 พ.ศ.2497 ข้อ 8(1) เป็นเรื่องการได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ที่ดินที่มีโฉนดแล้วโดยการครอบครองด้วยอำนาจปรปักษ์ หาได้บัญญัติถึงสิทธิครอบครองในที่ดินมือเปล่าไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1742/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิรับมรดกของบุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรอง และการใช้สิทธิทางศาลโดยคำร้องฝ่ายเดียว
การใช้สิทธิทางศาลโดยยื่นคำร้องฝ่ายเดียว เพื่อขอให้ศาลมีคำสั่งอย่างใดอย่างหนึ่งนั้น ต้องเป็นกรณีที่มีกฎหมายบัญญัติไว้ให้ทำเช่นนั้นได้ มิใช่ว่าจะยื่นคำร้องฝ่ายเดียวได้ทุกกรณีไป
บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว ย่อมมีสิทธิได้รับมรดกของบิดาผู้วายชนม์ตามกฎหมายโดยชอบแล้ว จึงไม่มีบทกฎหมายบัญญัติให้ต้องมายื่นคำร้องเพื่อให้ศาลมีคำสั่งว่าเป็นผู้มีสิทธิรับมรดกของบิดาผู้วายชนม์อีก
กฎกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ 7 พ.ศ.2497 ข้อ 8(1) เป็นเรื่องการได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ที่ดินที่มีโฉนดแล้วโดยการครอบครองด้วยอำนาจปรปักษ์ หาได้บัญญัติถึงสิทธิครอบครองในที่ดินมือเปล่าไม่
บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว ย่อมมีสิทธิได้รับมรดกของบิดาผู้วายชนม์ตามกฎหมายโดยชอบแล้ว จึงไม่มีบทกฎหมายบัญญัติให้ต้องมายื่นคำร้องเพื่อให้ศาลมีคำสั่งว่าเป็นผู้มีสิทธิรับมรดกของบิดาผู้วายชนม์อีก
กฎกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ 7 พ.ศ.2497 ข้อ 8(1) เป็นเรื่องการได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ที่ดินที่มีโฉนดแล้วโดยการครอบครองด้วยอำนาจปรปักษ์ หาได้บัญญัติถึงสิทธิครอบครองในที่ดินมือเปล่าไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1742/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การใช้สิทธิทางศาลต้องมีกฎหมายรองรับ และสิทธิรับมรดกของบุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรอง
การใช้สิทธิทางศาลโดยยื่นคำร้องฝ่ายเดียว เพื่อขอให้ศาลมีคำสั่งอย่างใดอย่างหนึ่งนั้น ต้องเป็นกรณีที่มีกฎหมายบัญญัติไว้ให้ทำเช่นนั้นได้. มิใช่ว่าจะยื่นคำร้องฝ่ายเดียวได้ทุกกรณีไป.
บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว ย่อมมีสิทธิได้รับมรดกของบิดาผู้วายชนม์ตามกฎหมายโดยชอบแล้ว. จึงไม่มีบทกฎหมายบัญญัติให้ต้องมายื่นคำร้องเพื่อให้ศาลมีคำสั่งว่าเป็นผู้มีสิทธิรับมรดกของบิดาผู้วายชนม์อีก.
กฎกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ 7 พ.ศ.2497 ข้อ 8(1) เป็นเรื่องการได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ที่ดินที่มีโฉนดแล้วโดยการครอบครองด้วยอำนาจปรปักษ์. หาได้บัญญัติถึงสิทธิครอบครองในที่ดินมือเปล่าไม่.
บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว ย่อมมีสิทธิได้รับมรดกของบิดาผู้วายชนม์ตามกฎหมายโดยชอบแล้ว. จึงไม่มีบทกฎหมายบัญญัติให้ต้องมายื่นคำร้องเพื่อให้ศาลมีคำสั่งว่าเป็นผู้มีสิทธิรับมรดกของบิดาผู้วายชนม์อีก.
กฎกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ 7 พ.ศ.2497 ข้อ 8(1) เป็นเรื่องการได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ที่ดินที่มีโฉนดแล้วโดยการครอบครองด้วยอำนาจปรปักษ์. หาได้บัญญัติถึงสิทธิครอบครองในที่ดินมือเปล่าไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 345/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิของบุตรนอกกฎหมาย: การเรียกร้องค่าอุปการะเลี้ยงดูต้องเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายหรือเข้าเงื่อนไขตามกฎหมาย
บุตรไม่ชอบด้วยกฎหมายไม่มีสิทธิฟ้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูจากผู้ฆ่าบิดา (อ้างฎีกา 1601/2492, 1259/2506)
พฤติการณ์ที่รู้กันอยู่ทั่วไปว่าเป็นบุตร (ชอบด้วยกฎหมาย) ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1524 เป็นเพียงมูลกรณีให้ฟ้องเพื่อให้ศาลพิพากษาว่าเป็นเด็กเป็นบุตรเท่านั้น ไม่ทำให้เด็กที่เกิดมาเป็นบุตรของชายที่เกี่ยวข้องกับมารดาเด็ก
บุตรนอกกฎหมายที่บิดาได้รับรองแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1627 มีสิทธิเพียงจะได้รับมรดกในฐานะผู้สืบสันดานตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1627 (1) เท่านั้น ส่วนสิทธิอย่างอื่นที่บุตรจะพึงได้รับจากบิดา เช่นสิทธิที่จะได้รับความอุปการะเลี้ยงดูจะต้องเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายมาแต่แรกหรือต้องเป็นกรณีที่เข้าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1526
พฤติการณ์ที่รู้กันอยู่ทั่วไปว่าเป็นบุตร (ชอบด้วยกฎหมาย) ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1524 เป็นเพียงมูลกรณีให้ฟ้องเพื่อให้ศาลพิพากษาว่าเป็นเด็กเป็นบุตรเท่านั้น ไม่ทำให้เด็กที่เกิดมาเป็นบุตรของชายที่เกี่ยวข้องกับมารดาเด็ก
บุตรนอกกฎหมายที่บิดาได้รับรองแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1627 มีสิทธิเพียงจะได้รับมรดกในฐานะผู้สืบสันดานตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1627 (1) เท่านั้น ส่วนสิทธิอย่างอื่นที่บุตรจะพึงได้รับจากบิดา เช่นสิทธิที่จะได้รับความอุปการะเลี้ยงดูจะต้องเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายมาแต่แรกหรือต้องเป็นกรณีที่เข้าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1526
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 345/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิค่าอุปการะเลี้ยงดู: บุตรนอกกฎหมายต้องได้รับการรับรองหรือพิพากษาเป็นบุตรจึงมีสิทธิ
บุตรไม่ชอบด้วยกฎหมาย.ไม่มีสิทธิฟ้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูจากผู้ฆ่าบิดา.(อ้างฎีกา 1601/2492,1259/2506).
พฤติการณ์ที่รู้กันอยู่ทั่วไปว่าเป็นบุตร(ชอบด้วยกฎหมาย) ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1524. เป็นเพียงมูลกรณีให้ฟ้องเพื่อให้ศาลพิพากษาว่าเด็กเป็นบุตรเท่านั้น. ไม่ทำให้เด็กที่เกิดมาเป็นบุตรของชายที่เกี่ยวข้องกับมารดาเด็ก.
บุตรนอกกฎหมายที่บิดาได้รับรองแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1627. มีสิทธิเพียงจะได้รับมรดกในฐานะผู้สืบสันดานตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1629(1) เท่านั้น. ส่วนสิทธิอย่างอื่นที่บุตรจะพึงได้รับจากบิดา เช่นสิทธิที่จะได้รับความอุปการะเลี้ยงดูจะต้องเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายมาแต่แรกหรือต้องเป็นกรณีที่เข้าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1526.
พฤติการณ์ที่รู้กันอยู่ทั่วไปว่าเป็นบุตร(ชอบด้วยกฎหมาย) ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1524. เป็นเพียงมูลกรณีให้ฟ้องเพื่อให้ศาลพิพากษาว่าเด็กเป็นบุตรเท่านั้น. ไม่ทำให้เด็กที่เกิดมาเป็นบุตรของชายที่เกี่ยวข้องกับมารดาเด็ก.
บุตรนอกกฎหมายที่บิดาได้รับรองแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1627. มีสิทธิเพียงจะได้รับมรดกในฐานะผู้สืบสันดานตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1629(1) เท่านั้น. ส่วนสิทธิอย่างอื่นที่บุตรจะพึงได้รับจากบิดา เช่นสิทธิที่จะได้รับความอุปการะเลี้ยงดูจะต้องเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายมาแต่แรกหรือต้องเป็นกรณีที่เข้าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1526.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 345/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตรนอกกฎหมาย: ต้องเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย หรือมีเหตุตามกฎหมาย
บุตรไม่ชอบด้วยกฎหมายไม่มีสิทธิฟ้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูจากผู้ฆ่าบิดา(อ้างฎีกา 1601/2492,1259/2506)
พฤติการณ์ที่รู้กันอยู่ทั่วไปว่าเป็นบุตร(ชอบด้วยกฎหมาย) ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1524 เป็นเพียงมูลกรณีให้ฟ้องเพื่อให้ศาลพิพากษาว่าเด็กเป็นบุตรเท่านั้นไม่ทำให้เด็กที่เกิดมาเป็นบุตรของชายที่เกี่ยวข้องกับมารดาเด็ก
บุตรนอกกฎหมายที่บิดาได้รับรองแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1627 มีสิทธิเพียงจะได้รับมรดกในฐานะผู้สืบสันดานตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1629(1) เท่านั้น ส่วนสิทธิอย่างอื่นที่บุตรจะพึงได้รับจากบิดา เช่นสิทธิที่จะได้รับความอุปการะเลี้ยงดูจะต้องเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายมาแต่แรกหรือต้องเป็นกรณีที่เข้าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1526
พฤติการณ์ที่รู้กันอยู่ทั่วไปว่าเป็นบุตร(ชอบด้วยกฎหมาย) ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1524 เป็นเพียงมูลกรณีให้ฟ้องเพื่อให้ศาลพิพากษาว่าเด็กเป็นบุตรเท่านั้นไม่ทำให้เด็กที่เกิดมาเป็นบุตรของชายที่เกี่ยวข้องกับมารดาเด็ก
บุตรนอกกฎหมายที่บิดาได้รับรองแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1627 มีสิทธิเพียงจะได้รับมรดกในฐานะผู้สืบสันดานตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1629(1) เท่านั้น ส่วนสิทธิอย่างอื่นที่บุตรจะพึงได้รับจากบิดา เช่นสิทธิที่จะได้รับความอุปการะเลี้ยงดูจะต้องเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายมาแต่แรกหรือต้องเป็นกรณีที่เข้าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1526
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1231-1232/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
บุตรบุญธรรมที่ไม่ได้จดทะเบียน ไม่มีสิทธิรับมรดก การตกลงแบ่งมรดกต้องทำเป็นหนังสือจึงมีผล
บุตรบุญธรรมที่มิได้มีการจดทะเบียนตามกฎหมาย ไม่มีสิทธิรับมรดกของผู้รับบุตรบุญธรรม
พูดยกที่พิพาทให้ โดยเป็นเรื่องที่สั่งเผื่อไว้เมื่อผู้พูดถึงแก่กรรมแล้ว มิได้ยกให้ในขณะนั้น ถือว่าเป็นพินัยกรรม ถ้าไม่ได้ทำเป็นพินัยกรรมให้ถูกต้องตามกฎหมายก็ไม่มีผลแต่อย่างใด
ตกลงยอมแบ่งที่พิพาทกัน แต่ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อคู่สัญญา ย่อมไม่มีผลที่บังคับกันได้ตามกฎหมาย
พูดยกที่พิพาทให้ โดยเป็นเรื่องที่สั่งเผื่อไว้เมื่อผู้พูดถึงแก่กรรมแล้ว มิได้ยกให้ในขณะนั้น ถือว่าเป็นพินัยกรรม ถ้าไม่ได้ทำเป็นพินัยกรรมให้ถูกต้องตามกฎหมายก็ไม่มีผลแต่อย่างใด
ตกลงยอมแบ่งที่พิพาทกัน แต่ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อคู่สัญญา ย่อมไม่มีผลที่บังคับกันได้ตามกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1231-1232/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
บุตรบุญธรรมที่ไม่ได้จดทะเบียนตามกฎหมาย ไม่มีสิทธิรับมรดก และสัญญาประนีประนอมต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ
บุตรบุญธรรมที่มิได้มีการจดทะเบียนตามกฎหมาย ไม่มีสิทธิรับมรดกของผู้รับบุตรบุญธรรม
พูดยกที่พิพาทให้ โดยเป็นเรื่องที่สั่งเผื่อไว้เมื่อผู้พูดถึงแก่กรรมแล้ว มิได้ยกให้ในขณะนั้น ถือว่าเป็นพินัยกรรม ถ้าไม่ได้ทำเป็นพินัยกรรมให้ถูกต้องตามกฎหมาย ก็ไม่มีผลแต่อย่างใด
ตกลงยอมแบ่งที่พิพาทกัน แต่ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อคู่สัญญา ย่อมไม่มีผลที่บังคับกันได้ตามกฎหมาย
พูดยกที่พิพาทให้ โดยเป็นเรื่องที่สั่งเผื่อไว้เมื่อผู้พูดถึงแก่กรรมแล้ว มิได้ยกให้ในขณะนั้น ถือว่าเป็นพินัยกรรม ถ้าไม่ได้ทำเป็นพินัยกรรมให้ถูกต้องตามกฎหมาย ก็ไม่มีผลแต่อย่างใด
ตกลงยอมแบ่งที่พิพาทกัน แต่ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อคู่สัญญา ย่อมไม่มีผลที่บังคับกันได้ตามกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1024/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความการเรียกร้องมรดก: การครอบครองทรัพย์สินโดยบิดาหลังบุตรบรรลุนิติภาวะและการขาดอายุความ
มารดาถึงแก่กรรม บรรดาบุตรรวมทั้งโจทก์และโจทก์ร่วมอยู่ในปกครองของบิดา บิดาได้ครอบครองทรัพย์ทั้งหมดแต่ผู้เดียวตลอดมา โดยบุตรทุกคนไม่ได้เกี่ยวข้องทรัพย์ทั้งหมดอยู่ในอำนาจจัดการของบิดาแต่ผู้เดียว แสดงว่าบิดาถือตนเป็นเจ้าของแต่ผู้เดียวตลอดมา บิดาได้แบ่งสินเดิมของมารดาให้ แก่บุตรทุกคนเท่า ๆ กัน แต่สินสมรสไม่แบ่ง บิดาได้ยุบร้านค้าเดิมมาเปิดร้านค้าใหม่กู้เงินบุคคลภายนอกมาลงทุนโดยไม่มีบุตรคนใดเกี่ยวข้องพฤติการณ์เช่นนี้แสดงว่าบิดามิได้ครอบครองทรัพย์สินแทนบุตรแต่ประการใดกลับมีพฤติการณ์แสดงว่าบุตรปล่อยให้บิดาครอบครองอย่างเจ้าของและเมื่อโจทก์และโจทก์ร่วมบรรลุนิติภาวะแล้ว อำนาจการปกครองโจทก์และโจทก์ร่วมของบิดาก็สิ้นสุดลงอำนาจการครอบครองทรัพย์ของโจทก์และโจทก์ร่วมก็สิ้นไปด้วย โจทก์กับโจทก์ร่วมมีสิทธิเรียกร้องขอแบ่งทรัพย์มรดกของมารดาอันเป็นส่วนแบ่งของตนจากบิดาได้ แต่โจทก์และโจทก์ร่วมก็มิได้ใช้สิทธิเรียกร้องขอให้บังคับ จนล่วงเลยมาเป็นเวลาเกินกว่า10 ปีแล้ว คดีของโจทก์และโจทก์ร่วมจึงขาดอายุความ (อ้างฎีกาที่ 114/2482)