คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย
ป.วิ.อ. ม. 43

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 329 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7317/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ จำเลยต้องคืนทรัพย์ที่ยักยอกให้กองมรดก หรือชดใช้ราคา หากโอนไม่ได้ แม้เจ้าของมรดกเสียชีวิตแล้ว
ศาลฎีกาพิพากษาว่า ให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์เป็นเงิน 4,974,987.50 บาท แก่เจ้าของ หมายความว่า จำเลยจะต้องโอนที่ดินของเจ้ามรดกที่ได้ยักยอกไปคืนแก่กองมรดกหากการโอนที่ดินไม่อาจกระทำได้ จำเลยจึงต้องใช้ราคาจำนวน4,974,987.50 บาท แก่กองมรดก ไม่ใช่จำเลยมีสิทธิที่จะเลือกปฏิบัติอย่างหนึ่งอย่างใดได้ และแม้เจ้าของที่ดินจะตายไปแล้ว จำเลยก็จะอ้างมาเป็นเหตุให้ปฏิเสธการโอนที่ดินมรดกคืนแก่กองมรดกไม่ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6700/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ละเว้นหน้าที่เบียดบังทรัพย์สินของรัฐ พนักงานขับรถมอบใบเบิกน้ำมันให้บุคคลอื่นใช้เข้าข่ายผิด พ.ร.บ.พนักงานรัฐ
การที่จำเลยซึ่งเป็นพนักงานขับรถขององค์การสวนยางซึ่งเป็นหน่วยงานที่สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้รับใบรับ-จ่ายน้ำมันมาแล้วมอบให้ว.ไปเบิกน้ำมันใส่รถยนต์ส่วนตัวของว. ทั้งๆที่จำเลยได้รับคำสั่งจากผู้บังคับบัญชาให้นำใบรับ-จ่ายน้ำมันไปเบิกน้ำมันใส่รถของผู้เสียหายเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานในกิจการของผู้เสียหายย่อมเป็นการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยสุจริตจึงมีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐพ.ศ.2502มาตรา11แต่หามีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา147และพระราชบัญญัติดังกล่าวมาตรา4ไม่เพราะจำเลยไม่ได้เป็นเจ้าพนักงานตามความหมายในมาตรา147และจำเลยเป็นพนักงานขับรถเพียงแต่มอบใบรับ-จ่ายน้ำมันที่จำเลยได้รับมามอบให้ว.ไปเบิกน้ำมันใช้เป็นส่วนตัวยังถือไม่ได้ว่าจำเลยเป็นพนักงานที่มีหน้าที่ซื้อทำจัดการหรือรักษาทรัพย์ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา4แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐพ.ศ.2502 เมื่อจำเลยมีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐพ.ศ.2502มาตรา11เท่านั้นพนักงานอัยการโจทก์ก็ไม่มีอำนาจขอให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์แก่ผู้เสียหายเพราะไม่ใช่เป็นความผิดตามที่ระบุไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา43

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6700/2538 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต พนักงานขับรถเบิกน้ำมันผิดวัตถุประสงค์ ความผิดตาม พ.ร.บ.พนักงานในหน่วยงานของรัฐ
การที่จำเลยซึ่งเป็นพนักงานขับรถขององค์การสวนยาง ซึ่งเป็นหน่วยงานที่สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้รับใบรับ-จ่ายน้ำมันมาแล้วมอบให้ ว.ไปเบิกน้ำมันใส่รถยนต์ส่วนตัวของว.ทั้ง ๆ ที่จำเลยได้รับคำสั่งจากผู้บังคับบัญชาให้นำใบรับ-จ่ายน้ำมันไปเบิกน้ำมันใส่รถของผู้เสียหายเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานในกิจการของผู้เสียหาย ย่อมเป็นการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริตจึงมีความผิดตาม พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2502 มาตรา 11 แต่หามีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147 และพระราชบัญญัติดังกล่าวมาตรา 4 ไม่ เพราะจำเลยไม่ได้เป็นเจ้าพนักงานตามความหมายในมาตรา 147 และจำเลยเป็นพนักงานขับรถเพียงแต่มอบใบรับ-จ่ายน้ำมันที่จำเลยได้รับมามอบให้ ว. ไปเบิกน้ำมันใช้เป็นส่วนตัวยังถือไม่ได้ว่าจำเลยเป็นพนักงานที่มีหน้าที่ซื้อ ทำ จัดการหรือรักษาทรัพย์ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 4 แห่ง พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2502 เมื่อจำเลยมีความผิดตาม พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2502 มาตรา 11เท่านั้น พนักงานอัยการโจทก์ก็ไม่มีอำนาจขอให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์แก่ผู้เสียหาย เพราะไม่ใช่เป็นความผิดตามที่ระบุไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 43

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6700/2538 เวอร์ชัน 5 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ขอบเขตความผิดพนักงานรัฐ: ละเว้นหน้าที่โดยทุจริต vs. ความรับผิดทางอาญาและแพ่ง
การที่จำเลยซึ่งเป็นพนักงานขับรถขององค์การสวนยาง ซึ่งเป็นหน่วยงานที่สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้รับใบรับ-จ่ายน้ำมันมาแล้วมอบให้ว. ไปเบิกน้ำมันใส่รถยนต์ส่วนตัวของ ว. ทั้ง ๆ ที่จำเลยได้รับคำสั่งจากผู้บังคับบัญชาให้นำใบรับ-จ่ายน้ำมันไปเบิกน้ำมันใส่รถของผู้เสียหายเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานในกิจการของผู้เสียหาย ย่อมเป็นการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต จึงมีความผิดตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐพ.ศ.2502 มาตรา 11 แต่หามีความผิดตาม ป.อ. มาตรา 147 และ พ.ร.บ.ดังกล่าว มาตรา 4 ไม่ เพราะจำเลยไม่ได้เป็นเจ้าพนักงานตามความหมายในมาตรา 147 และจำเลยเป็นพนักงานขับรถเพียงแต่มอบใบรับ-จ่ายน้ำมันที่จำเลยได้รับมามอบให้ ว. ไปเบิกน้ำมันใช้เป็นส่วนตัว ยังถือไม่ได้ว่าจำเลยเป็นพนักงานที่มีหน้าที่ซื้อ ทำ จัดการหรือรักษาทรัพย์ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 4 แห่ง พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2502
เมื่อจำเลยมีความผิดตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2502 มาตรา 11 เท่านั้น พนักงานอัยการโจทก์ก็ไม่มีอำนาจขอให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์แก่ผู้เสียหาย เพราะไม่ใช่เป็นความผิดตามที่ระบุไว้ใน ป.วิ.อ. มาตรา 43

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6700/2538

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การละเว้นหน้าที่โดยทุจริตของพนักงานรัฐวิสาหกิจ และขอบเขตอำนาจการเรียกคืนทรัพย์สิน
การที่จำเลยซึ่งเป็นพนักงานขับรถขององค์การสวนยางซึ่งเป็นหน่วยงานที่สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้รับใบรับ-จ่ายน้ำมันมาแล้วมอบให้ว.ไปเบิกน้ำมันใส่รถยนต์ส่วนตัวของว.ทั้งๆที่จำเลยได้รับคำสั่งจากผู้บังคับบัญชาให้นำใบรับ-จ่ายน้ำมันไปเบิกน้ำมันใส่รถของผู้เสียหายเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานในกิจการของผู้เสียหายย่อมเป็นการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริตจึงมีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐพ.ศ.2502มาตรา11แต่หามีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา147และพระราชบัญญัติดังกล่าวมาตรา4ไม่เพราะจำเลยไม่ได้เป็นเจ้าพนักงานตามความหมายในมาตรา147และจำเลยเป็นพนักงานขับรถเพียงแต่มอบใบรับ-จ่ายน้ำมันที่จำเลยได้รับมามอบให้ว. ไปเบิกน้ำมันใช้เป็นส่วนตัวยังถือไม่ได้ว่าจำเลยเป็นพนักงานที่มีหน้าที่ซื้อทำจัดการหรือรักษาทรัพย์ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา4แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐพ.ศ.2502 เมื่อจำเลยมีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐพ.ศ.2502มาตรา11เท่านั้นพนักงานอัยการโจทก์ก็ไม่มีอำนาจขอให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์แก่ผู้เสียหายเพราะไม่ใช่เป็นความผิดตามที่ระบุไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา43

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6700/2538 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ละเว้นหน้าที่โดยทุจริต พนักงานขับรถเบิกน้ำมันผิดวิธี ความผิดตาม พ.ร.บ.พนักงานรัฐ
จำเลยเป็นพนักงานขับรถขององค์การผู้เสียหาย จำเลยได้รับใบรับ-จ่ายน้ำมันมาแล้วได้มอบให้ ว. ไปเบิกน้ำมันจากสหกรณ์ของผู้เสียหายเติมใส่รถยนต์ส่วนตัวของ ว.ทั้ง ๆ ที่จำเลยได้รับคำสั่งจากผู้บังคับบัญชาให้นำใบรับ-จ่ายน้ำมันไปเบิกน้ำมันใส่รถของผู้เสียหาย ย่อมเป็นการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต จึงมีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2502 มาตรา 11 แต่ไม่มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147 และพระราชบัญญัติดังกล่าวมาตรา 4 เพราะจำเลยไม่ได้เป็นเจ้าพนักงานตามความหมายในมาตรา 147 และยังถือไม่ได้ว่าจำเลยเป็นพนักงานที่มีหน้าที่ซื้อ ทำ จัดการหรือรักษาทรัพย์ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 4 ความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2502 มาตรา 11ที่จำเลยกระทำไม่ใช่ความผิดตามที่ระบุไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 43 พนักงานอัยการจึงไม่มีอำนาจขอให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์แก่ผู้เสียหาย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3774/2538

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การแสดงเจตนาซื้อขายทรัพย์สินที่มีภาระผูกพัน และการผิดสัญญาโอนกรรมสิทธิ์
ตามสัญญาประกอบด้วยคำแปลคำรับรองที่จำเลยให้ไว้เพียงเป็นผู้รับประโยชน์และเป็นเจ้าของอย่างถูกต้องตามกฎหมายแห่งประเทศที่ทรัพย์สินนั้นตั้งอยู่จึงถือว่าจำเลยเป็นผู้มีสิทธิในทรัพย์สินดังกล่าวโดยมีภาระหนี้สินจะต้องไถ่ถอนหรือปฏิบัติบางประเภทเท่านั้นคำรับรองของจำเลยที่ปรากฏจึงมิอาจถือเป็นความเท็จได้ส่วนสัญญาข้อ2ซึ่งเป็นข้อความที่จำเลยให้การรับรองว่าทรัพย์สินที่ซื้อขายจะปลอดจากข้อผูกพันและพันธกรณีต่างๆโดยสิ้นเชิงณวันครบกำหนดนั้นแสดงได้ว่าในขณะทำสัญญาทรัพย์สินยังมีข้อผูกพันหรือพันธกรณีอยู่แต่จำเลยมีหน้าที่จะต้องจัดการให้ปลอดจากข้อผูกพันหรือพันธกรณีหลังจากวันทำสัญญาชี้ชัดได้ว่าจำเลยมิได้ปิดบังความจริงแต่ประการใดที่ผู้เสียหายเข้าทำสัญญาจึงมิได้มีความหลงเชื่อแต่ประการใด สำหรับในส่วนแพ่งสัญญาในข้อ2กำหนดหน้าที่ของจำเลยจะต้องจัดการให้ทรัพย์สินปลอดจากข้อผูกพันหรือพันธกรณีพร้อมที่จะโอนให้แก่ผู้เสียหายในวันครบกำหนดซึ่งเป็นวันเดียวกับที่จะรับเงินจากผู้เสียหายแต่จำเลยรับว่าจำเลยรับเงินจากผู้เสียหายไปแล้วประมาณ10วันจึงได้จัดการนำเงินไปชำระตามข้อผูกพันจึงถือว่าจำเลยผิดสัญญาจำเลยจึงไม่มีมูลที่จะอาศัยอ้างเพื่อยึดถือเงินที่ได้จากผู้เสียหายตามสัญญาไว้ต่อไปต้องคืนให้แก่ผู้เสียหายตามที่โจทก์ขอ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3774/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาซื้อขายทรัพย์สิน: หน้าที่ไถ่ถอนภาระหนี้สิน & การผิดสัญญา
ตามสัญญาประกอบด้วยคำแปล คำรับรองที่จำเลยให้ไว้เพียงเป็นผู้รับประโยชน์และเป็นเจ้าของอย่างถูกต้องตามกฎหมายแห่งประเทศที่ทรัพย์สินนั้นตั้งอยู่ จึงถือว่าจำเลยเป็นผู้มีสิทธิในทรัพย์สินดังกล่าวโดยมีภาระหนี้สินจะต้องไถ่ถอนหรือปฏิบัติบางประเภทเท่านั้น คำรับรองของจำเลยที่ปรากฏจึงมิอาจถือเป็นความเท็จได้ ส่วนสัญญาข้อ 2 ซึ่งเป็นข้อความที่จำเลยให้การรับรองว่า ทรัพย์สินที่ซื้อขายจะปลอดจากข้อผูกพันและพันธกรณีต่าง ๆ โดยสิ้นเชิง ณ วันครบกำหนดนั้นแสดงได้ว่าในขณะทำสัญญาทรัพย์สินยังมีข้อผูกพันหรือพันธกรณีอยู่ แต่จำเลยมีหน้าที่จะต้องจัดการให้ปลอดจากข้อผูกพันหรือพันธกรณีหลังจากวันทำสัญญา ชี้ชัดได้ว่าจำเลยมิได้ปิดบังความจริงแต่ประการใด ที่ผู้เสียหายเข้าทำสัญญาจึงมิได้มีความหลงเชื่อแต่ประการใด
สำหรับในส่วนแพ่ง สัญญาในข้อ 2 กำหนดหน้าที่ของจำเลยจะต้องจัดการให้ทรัพย์สินปลอดจากข้อผูกพันหรือพันธกรณีพร้อมที่จะโอนให้แก่ผู้เสียหายในวันครบกำหนดซึ่งเป็นวันเดียวกับที่จะรับเงินจากผู้เสียหาย แต่จำเลยรับว่าจำเลยรับเงินจากผู้เสียหายไปแล้วประมาณ 10 วัน จึงได้จัดการนำเงินไปชำระตามข้อผูกพัน จึงถือว่าจำเลยผิดสัญญา จำเลยจึงไม่มีมูลที่จะอาศัยอ้างเพื่อยึดถือเงินที่ได้จากผู้เสียหายตามสัญญาไว้ต่อไป ต้องคืนให้แก่ผู้เสียหายตามที่โจทก์ขอ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2354/2538

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยักยอกทรัพย์สินของนิติบุคคลที่ก่อตั้งจากพินัยกรรม การพิพากษาลงโทษและการคืนราคาที่ดิน
คดีนี้เดิมศาลชั้นต้นพิจารณาพิพากษารวมกันมากับคดีอาญาซึ่งพนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องหาว่าจำเลยยักยอกเงินที่ได้จากการขายที่ดินและมีคำขอให้คืนหรือใช้ราคาที่ดินแต่คดีดังกล่าวถึงที่สุดตามคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ให้ลงโทษจำเลยกับให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาแม้คดีนี้จะมีมูลกรณีเดียวกันแต่เมื่อศาลฎีกาฟังว่าจำเลยยักยอกที่ดินไม่ได้ยักยอกเงินที่ได้จากการขายที่ดินและโจทก์คดีนี้ก็ไม่ได้มีคำขอให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาที่ดินดังนั้นศาลฎีกาจึงไม่อาจสั่งให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาที่ดินแก่โจทก์ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2354/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การคืนราคาที่ดิน: ข้อจำกัดเมื่อคดีอาญาพิพากษาถึงที่สุดแล้ว
คดีนี้เดิมศาลชั้นต้นพิจารณาพิพากษารวมกันมากับคดีอาญาซึ่งพนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องหาว่าจำเลยยักยอกเงินที่ได้จากการขายที่ดิน และมีคำขอมให้คืนหรือใช้ราคาที่ดิน แต่คดีดังกล่าวถึงที่สุดตามคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ให้ลงโทษจำเลยกับให้จำเลยคืนหรือใช้ราคา แม้คดีนี้จะมีมูลกรณีเดียวกัน แต่เมื่อศาลฎีกาฟังว่า จำเลยยักยอกที่ดินไม่ได้ยักยอกเงินที่ได้จากการขายที่ดิน และโจทก์คดีนี้ก็ไม่ได้มีคำขอให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาที่ดิน ดังนั้น ศาลฎีกาจึงไม่อาจสั่งให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาที่ดินแก่โจทก์ได้
of 33