พบผลลัพธ์ทั้งหมด 229 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5478/2543
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หน้าที่เจ้าพนักงานบังคับคดีในการจ่ายเงินจากการขายทอดตลาด และสิทธิของลูกหนี้ในการรับเงินคืน
เมื่อจำหน่ายทรัพย์ของลูกหนี้ตามคำพิพากษาแล้ว เจ้าพนักงานบังคับคดีมีหน้าที่ต้องปฏิบัติสองขั้นตอน คือ การจัดทำบัญชีแสดงรายการรับ-จ่าย และการจ่ายเงินตามบัญชีแสดงรายการรับ-จ่าย โดยเมื่อจัดทำบัญชีแสดงรายการรับ-จ่ายเสร็จแล้ว ก็ต้องดำเนินการให้มีการจ่ายเงินตามบัญชีนั้นต่อไป ดังนี้การที่เจ้าพนักงานบังคับคดีทำบัญชีแสดงรายการรับ-จ่ายแล้วยังมิได้มีคำสั่งหรือการดำเนินการใดเพื่อให้มีการจ่ายเงินส่วนที่เหลือให้แก่จำเลย เงินส่วนที่เหลือจึงไม่เป็นเงินค้างจ่ายอยู่ที่เจ้าพนักงานบังคับคดีที่ผู้มีสิทธิต้องเรียกเอาภายในห้าปีและไม่ตกเป็นของแผ่นดิน เมื่อจำเลยเรียกเอาเจ้าพนักงานบังคับคดีมีหน้าที่จ่ายเงินจำนวนนี้ให้แก่จำเลย ปัญหาดังกล่าวเป็นข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้ไม่มีคู่ความฝ่ายใดอุทธรณ์ขึ้นมา ศาลฎีกาเห็นสมควรย่อมหยิบยกขึ้นวินิจฉัยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5478/2543 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจ่ายเงินบังคับคดีที่เหลือให้ลูกหนี้ เจ้าพนักงานบังคับคดีต้องดำเนินการจ่ายเมื่อทวงถาม มิเช่นนั้นยังไม่ถือเป็นเงินค้างจ่าย
เมื่อมีการจำหน่ายทรัพย์ของลูกหนี้ตามคำพิพากษาแล้ว มีขั้นตอนที่เจ้าพนักงานบังคับคดีมีหน้าที่ต้องปฏิบัติสองขั้นตอน คือ การจัดทำบัญชีแสดงรายการรับ - จ่าย ขั้นตอนหนึ่ง และการจ่ายเงินตามบัญชีแสดงรายการรับ - จ่ายอีกขั้นตอนหนึ่ง ดังนั้น เมื่อเจ้าพนักงานบังคับคดีจัดทำบัญชีแสดงรายการรับ - จ่าย เสร็จแล้ว ก็ต้องดำเนินการให้มีการจ่ายเงินตามบัญชีนั้นต่อไป ทั้งนี้ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 316, 318 และ มาตรา 322 วรรคสอง
หลังจากเจ้าพนักงานบังคับคดีจัดทำบัญชีแสดงรายการรับ - จ่ายแล้ว ปรากฏว่ายังมิได้มีคำสั่งหรือการ ดำเนินการใดเพื่อให้มีการจ่ายเงินส่วนที่เหลือให้แก่จำเลย เมื่อยังมีขั้นตอนที่เจ้าพนักงานบังคับคดีต้องปฏิบัติอีก เงินส่วนที่เหลือนี้จึงยังไม่เป็นเงินที่ค้างจ่ายอยู่ที่เจ้าพนักงานบังคับคดีที่ผู้มีสิทธิต้องเรียกเอาเสียภายในห้าปีตาม ป.วิ.พ. มาตรา 323 เงินดังกล่าวจึงยังไม่ตกเป็นของแผ่นดิน ดังนี้ เมื่อจำเลยได้เรียกเอาแล้ว เจ้าพนักงานบังคับคดีจึงมีหน้าที่จ่ายเงินจำนวนนี้ให้แก่จำเลย ปัญหาดังกล่าวนี้เป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลฎีกาก็เห็น สมควรหยิบยกขึ้นวินิจฉัย
หลังจากเจ้าพนักงานบังคับคดีจัดทำบัญชีแสดงรายการรับ - จ่ายแล้ว ปรากฏว่ายังมิได้มีคำสั่งหรือการ ดำเนินการใดเพื่อให้มีการจ่ายเงินส่วนที่เหลือให้แก่จำเลย เมื่อยังมีขั้นตอนที่เจ้าพนักงานบังคับคดีต้องปฏิบัติอีก เงินส่วนที่เหลือนี้จึงยังไม่เป็นเงินที่ค้างจ่ายอยู่ที่เจ้าพนักงานบังคับคดีที่ผู้มีสิทธิต้องเรียกเอาเสียภายในห้าปีตาม ป.วิ.พ. มาตรา 323 เงินดังกล่าวจึงยังไม่ตกเป็นของแผ่นดิน ดังนี้ เมื่อจำเลยได้เรียกเอาแล้ว เจ้าพนักงานบังคับคดีจึงมีหน้าที่จ่ายเงินจำนวนนี้ให้แก่จำเลย ปัญหาดังกล่าวนี้เป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลฎีกาก็เห็น สมควรหยิบยกขึ้นวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4755/2543
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องตามสัญญาค้ำประกัน, อายุความ, และฐานะทายาท - ศาลอุทธรณ์มีอำนาจวินิจฉัยประเด็นทายาทได้
++ เรื่อง ค้ำประกัน ++
++ ทดสอบทำงานในระบบ CW เพื่อค้นหาข้อมูลทาง online ++
++
++
++
++ ศาลอุทธรณ์ภาค 2 พิพากษากลับให้จำเลยทั้งสามร่วมกันใช้เงิน 32,500 บาท พร้อมด้วยดอกเบี้ยในอัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปีนับแต่วันที่ 21 สิงหาคม 2538 เป็นต้นไปจนกว่าจะชำระเงินเสร็จแก่โจทก์ ค่าฤชาธรรมเนียมทั้งสองศาลให้เป็นพับ
++ จำเลยทั้งสามฎีกา ++
++ ศาลฎีกาตรวจสำนวนประชุมปรึกษาแล้ว คดีนี้ทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นฎีกาไม่เกินสองแสนบาท ต้องห้ามมิให้ฎีกาในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 248 วรรคหนึ่ง ในการวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมาย ศาลฎีกาจึงต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ศาลอุทธรณ์ภาค 2 ได้วินิจฉัยมาแล้วจากพยานหลักฐานในสำนวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 238 ประกอบมาตรา 247
++ ซึ่งศาลอุทธรณ์ภาค 2 ฟังข้อเท็จจริงมาว่า โจทก์เป็นกรมสังกัดกระทรวงมหาดไทยโรงเรียนนายร้อยตำรวจเป็นหน่วยราชการในสังกัดของโจทก์ นายอนุสรณ์หรือณัฐวัฒน์ โกมลรัตน์ ได้รับการบรรจุเป็นนักเรียนนายร้อยตำรวจและได้ทำสัญญาไว้กับโรงเรียนนายร้อยตำรวจตามเอกสารหมาย จ.3 ความว่าหากนายอนุสรณ์ถูกถอนทะเบียนออกจากการเป็นนักเรียนนายร้อยตำรวจนายอนุสรณ์จะชดใช้เงินแก่กรมตำรวจปีการศึกษาละ 7,500 บาทจำเลยที่ 1 ทำสัญญากับโรงเรียนนายร้อยตำรวจยอมชดใช้เงินแก่โจทก์หากนายอนุสรณ์ไม่ชำระเงินตามสัญญา ตามเอกสารหมาย จ.6 จำเลยที่ 2 ทำสัญญาค้ำประกันกับโรงเรียนนายร้อยตำรวจตามเอกสารหมายจ.5 ว่า หากนายอนุสรณ์ไม่ชำระหนี้ตามสัญญา จำเลยที่ 2 ยอมชดใช้ให้ต่อมาโจทก์มีคำสั่งให้ถอนทะเบียนนายอนุสรณ์ออกจากการเป็นนักเรียนนายร้อยตำรวจตามคำสั่งกรมตำรวจ เอกสารหมาย จ.8 ต่อมานายอนุสรณ์ถึงแก่ความตายตามเอกสารหมาย จ.2 และนายอนุสรณ์ไม่ได้ชดใช้เงินตามสัญญาที่ทำไว้กับโรงเรียนนายร้อยตำรวจ ++
++
++ มีปัญหาข้อกฎหมายวินิจฉัยตามฎีกาของจำเลยทั้งสามว่า ฟ้องโจทก์ขาดอายุความหรือไม่
++ในปัญหาดังกล่าวนี้ สำหรับกรณีของจำเลยที่ 2 เห็นว่า เป็นฎีกาที่จำเลยที่ 3ยกข้อเท็จจริงขึ้นใหม่ ซึ่งมิได้กล่าวไว้ในคำให้การ จึงเป็นฎีกาที่นอกเหนือไปจากคำให้การ ถือว่าเป็นฎีกาที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ภาค 2 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
++ คงมีปัญหาเฉพาะตามฎีกาของจำเลยที่ 1 และที่ 2 เท่านั้น
++ เห็นว่า สัญญาเอกสารหมาย จ.6ที่จำเลยที่ 1 ทำกับโรงเรียนนายร้อยตำรวจและสัญญาเอกสารหมาย จ.5ที่จำเลยที่ 2 ทำกับโรงเรียนนายร้อยตำรวจเป็นสัญญาที่มีข้อความระบุถึงการที่จำเลยที่ 1 และที่ 2 ยอมผูกพันตนต่อกรมตำรวจเพื่อชำระหนี้ในเมื่อนายอนุสรณ์ไม่ชำระหนี้ตามสัญญาต่อโจทก์ กรณีจึงเป็นสัญญาค้ำประกันหากนายอนุสรณ์ผิดสัญญาที่ทำไว้กับโรงเรียนนายร้อยตำรวจตามเอกสารหมาย จ.3 ถือว่าสัญญาเอกสารหมาย จ.3 เป็นสัญญาประธาน ส่วนสัญญาเอกสารหมาย จ.6 และ จ.5 เป็นสัญญาอุปกรณ์ โจทก์ฟ้องให้จำเลยที่ 1 และที่ 2 รับผิดตามสัญญาอุปกรณ์และฟ้องให้จำเลยที่ 1 และที่ 3รับผิดฐานะเป็นทายาทโดยธรรมของนายอนุสรณ์ด้วย ฉะนั้น คดีโจทก์จะขาดอายุความหรือไม่ จึงขึ้นอยู่กับสิทธิเรียกร้องของโจทก์ที่มีอยู่กับนายอนุสรณ์ตามสัญญาเอกสารหมาย จ.3 ขาดอายุความหรือไม่
++ เห็นว่าสัญญาเอกสารหมาย จ.3 กำหนดให้นายอนุสรณ์ชดใช้เงินแก่โจทก์กรณีถูกถอนทะเบียนออกจากการเป็นนักเรียนนายร้อยตำรวจ และเมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วไม่ยอมรับราชการในกรมตำรวจอย่างน้อย 4 ปี เท่านั้นสัญญาเอกสารหมาย จ.3 จึงเป็นสัญญาที่ทำขึ้นเพื่อประกันความเสียหายที่นายอนุสรณ์จะต้องรับผิดตามสัญญาที่นายอนุสรณ์ทำไว้ต่อโรงเรียนนายร้อยตำรวจอันเป็นสัญญาอย่างหนึ่ง และสัญญาตามเอกสารหมาย จ.3 ไม่ใช่สัญญารับคนไว้เพื่อการบำรุงเลี้ยงดูหรือฝึกสอน และโจทก์ไม่ใช่ผู้รับเลี้ยงหรือฝึกสอนฟ้องเรียกเอาค่าการงานที่ทำตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 193/34 (12) สิทธิเรียกร้องของโจทก์ที่จะได้รับชดใช้จากนายอนุสรณ์ตามสัญญาดังกล่าวกรณีเช่นนี้ไม่มีกฎหมายกำหนดเรื่องอายุความไว้โดยเฉพาะ จึงต้องใช้อายุความทั่วไปคือ 10 ปี นายอนุสรณ์ทราบคำสั่งถูกถอดถอนเมื่อวันที่ 7สิงหาคม 2529 ตามบันทึกด้านหลังเอกสารหมาย จ.9 โจทก์ฟ้องคดีเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2539 ไม่เกิน 10 ปี คดีโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ ++
++ มีปัญหาข้อกฎหมายวินิจฉัยตามฎีกาของจำเลยที่ 1 และที่ 3ต่อไปว่า โจทก์ซึ่งมีภาระการพิสูจน์ต้องนำสืบหรือไม่ว่านายอนุสรณ์มีทรัพย์มรดกและจำเลยที่ 1 และที่ 3 ต้องรับผิดในฐานะทายาทโดยธรรม และการที่ศาลอุทธรณ์ภาค 2 รับฟังข้อเท็จจริงยุติว่า จำเลยที่ 1 และที่ 3เป็นผู้รับมรดกนายอนุสรณ์เป็นการไม่ชอบเพราะโจทก์มิได้นำสืบ และโจทก์มิได้ยกขึ้นอุทธรณ์ ซึ่งเท่ากับเป็นการฎีกาโต้แย้งคัดค้านว่า ศาลอุทธรณ์ภาค 2 วินิจฉัยข้อเท็จจริงนั้นผิดต่อกฎหมายนั้น
++ เห็นว่า โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1ให้รับผิดในฐานะผู้ค้ำประกันและจำเลยที่ 1 และที่ 3 ให้รับผิดในฐานะเป็นทายาทโดยธรรมของนายอนุสรณ์ จำเลยที่ 1 และที่ 3 มิได้ให้การปฏิเสธว่าจำเลยที่ 1 และที่ 3 ไม่ใช่ทายาทโดยธรรมของนายอนุสรณ์ปัญหาดังกล่าวจึงไม่เป็นประเด็นพิพาท โจทก์ไม่จำต้องนำสืบ
++ ส่วนที่ว่าโจทก์มิได้อุทธรณ์เรื่องว่าจำเลยที่ 1 และที่ 3 เป็นผู้รับมรดก แต่ศาลอุทธรณ์ภาค 2 ยกขึ้นวินิจฉัยนั้น เห็นว่า ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่า คดีโจทก์ขาดอายุความ พิพากษายกฟ้อง ปัญหาว่าจำเลยที่ 1 และที่ 3 ต้องรับผิดต่อโจทก์หรือไม่ ศาลชั้นต้นยังไม่ได้วินิจฉัย จึงไม่มีประเด็นที่โจทก์จะอุทธรณ์โต้แย้งในปัญหาดังกล่าว เมื่อศาลอุทธรณ์ภาค 2 เห็นว่าคดีโจทก์ไม่ขาดอายุความ คดีจึงมีประเด็นที่ต้องวินิจฉัยต่อไปว่า จำเลยที่ 1 และที่ 3ต้องรับผิดหรือไม่ เมื่อศาลอุทธรณ์ภาค 2 เห็นว่าข้อเท็จจริงที่ศาลชั้นต้นฟังมาพอแก่การวินิจฉัยและเห็นสมควรวินิจฉัยไปเสียเอง ศาลอุทธรณ์ภาค 2 มีอำนาจที่จะหยิบยกข้อเท็จจริงดังกล่าวขึ้นวินิจฉัยได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 243 (3)
++ แต่ที่ศาลอุทธรณ์ภาค 2 พิพากษาให้จำเลยที่ 3 ร่วมรับผิดเป็นการส่วนตัวนั้น ศาลฎีกาไม่เห็นพ้องด้วย ++
++ พิพากษาแก้เป็นว่า ให้จำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 2 ร่วมกันชดใช้เงินต้นและดอกเบี้ยแก่โจทก์ โดยให้จำเลยที่ 3 ในฐานะทายาทโดยธรรมของนายอนุสรณ์ โกมลรัตน์ รับผิดร่วมด้วย ค่าฤชาธรรมเนียมในชั้นฎีกาให้เป็นพับ นอกจากที่แก้ให้เป็นไปตามคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 2.++
++ ทดสอบทำงานในระบบ CW เพื่อค้นหาข้อมูลทาง online ++
++
++
++
++ ศาลอุทธรณ์ภาค 2 พิพากษากลับให้จำเลยทั้งสามร่วมกันใช้เงิน 32,500 บาท พร้อมด้วยดอกเบี้ยในอัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปีนับแต่วันที่ 21 สิงหาคม 2538 เป็นต้นไปจนกว่าจะชำระเงินเสร็จแก่โจทก์ ค่าฤชาธรรมเนียมทั้งสองศาลให้เป็นพับ
++ จำเลยทั้งสามฎีกา ++
++ ศาลฎีกาตรวจสำนวนประชุมปรึกษาแล้ว คดีนี้ทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นฎีกาไม่เกินสองแสนบาท ต้องห้ามมิให้ฎีกาในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 248 วรรคหนึ่ง ในการวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมาย ศาลฎีกาจึงต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ศาลอุทธรณ์ภาค 2 ได้วินิจฉัยมาแล้วจากพยานหลักฐานในสำนวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 238 ประกอบมาตรา 247
++ ซึ่งศาลอุทธรณ์ภาค 2 ฟังข้อเท็จจริงมาว่า โจทก์เป็นกรมสังกัดกระทรวงมหาดไทยโรงเรียนนายร้อยตำรวจเป็นหน่วยราชการในสังกัดของโจทก์ นายอนุสรณ์หรือณัฐวัฒน์ โกมลรัตน์ ได้รับการบรรจุเป็นนักเรียนนายร้อยตำรวจและได้ทำสัญญาไว้กับโรงเรียนนายร้อยตำรวจตามเอกสารหมาย จ.3 ความว่าหากนายอนุสรณ์ถูกถอนทะเบียนออกจากการเป็นนักเรียนนายร้อยตำรวจนายอนุสรณ์จะชดใช้เงินแก่กรมตำรวจปีการศึกษาละ 7,500 บาทจำเลยที่ 1 ทำสัญญากับโรงเรียนนายร้อยตำรวจยอมชดใช้เงินแก่โจทก์หากนายอนุสรณ์ไม่ชำระเงินตามสัญญา ตามเอกสารหมาย จ.6 จำเลยที่ 2 ทำสัญญาค้ำประกันกับโรงเรียนนายร้อยตำรวจตามเอกสารหมายจ.5 ว่า หากนายอนุสรณ์ไม่ชำระหนี้ตามสัญญา จำเลยที่ 2 ยอมชดใช้ให้ต่อมาโจทก์มีคำสั่งให้ถอนทะเบียนนายอนุสรณ์ออกจากการเป็นนักเรียนนายร้อยตำรวจตามคำสั่งกรมตำรวจ เอกสารหมาย จ.8 ต่อมานายอนุสรณ์ถึงแก่ความตายตามเอกสารหมาย จ.2 และนายอนุสรณ์ไม่ได้ชดใช้เงินตามสัญญาที่ทำไว้กับโรงเรียนนายร้อยตำรวจ ++
++
++ มีปัญหาข้อกฎหมายวินิจฉัยตามฎีกาของจำเลยทั้งสามว่า ฟ้องโจทก์ขาดอายุความหรือไม่
++ในปัญหาดังกล่าวนี้ สำหรับกรณีของจำเลยที่ 2 เห็นว่า เป็นฎีกาที่จำเลยที่ 3ยกข้อเท็จจริงขึ้นใหม่ ซึ่งมิได้กล่าวไว้ในคำให้การ จึงเป็นฎีกาที่นอกเหนือไปจากคำให้การ ถือว่าเป็นฎีกาที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ภาค 2 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
++ คงมีปัญหาเฉพาะตามฎีกาของจำเลยที่ 1 และที่ 2 เท่านั้น
++ เห็นว่า สัญญาเอกสารหมาย จ.6ที่จำเลยที่ 1 ทำกับโรงเรียนนายร้อยตำรวจและสัญญาเอกสารหมาย จ.5ที่จำเลยที่ 2 ทำกับโรงเรียนนายร้อยตำรวจเป็นสัญญาที่มีข้อความระบุถึงการที่จำเลยที่ 1 และที่ 2 ยอมผูกพันตนต่อกรมตำรวจเพื่อชำระหนี้ในเมื่อนายอนุสรณ์ไม่ชำระหนี้ตามสัญญาต่อโจทก์ กรณีจึงเป็นสัญญาค้ำประกันหากนายอนุสรณ์ผิดสัญญาที่ทำไว้กับโรงเรียนนายร้อยตำรวจตามเอกสารหมาย จ.3 ถือว่าสัญญาเอกสารหมาย จ.3 เป็นสัญญาประธาน ส่วนสัญญาเอกสารหมาย จ.6 และ จ.5 เป็นสัญญาอุปกรณ์ โจทก์ฟ้องให้จำเลยที่ 1 และที่ 2 รับผิดตามสัญญาอุปกรณ์และฟ้องให้จำเลยที่ 1 และที่ 3รับผิดฐานะเป็นทายาทโดยธรรมของนายอนุสรณ์ด้วย ฉะนั้น คดีโจทก์จะขาดอายุความหรือไม่ จึงขึ้นอยู่กับสิทธิเรียกร้องของโจทก์ที่มีอยู่กับนายอนุสรณ์ตามสัญญาเอกสารหมาย จ.3 ขาดอายุความหรือไม่
++ เห็นว่าสัญญาเอกสารหมาย จ.3 กำหนดให้นายอนุสรณ์ชดใช้เงินแก่โจทก์กรณีถูกถอนทะเบียนออกจากการเป็นนักเรียนนายร้อยตำรวจ และเมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วไม่ยอมรับราชการในกรมตำรวจอย่างน้อย 4 ปี เท่านั้นสัญญาเอกสารหมาย จ.3 จึงเป็นสัญญาที่ทำขึ้นเพื่อประกันความเสียหายที่นายอนุสรณ์จะต้องรับผิดตามสัญญาที่นายอนุสรณ์ทำไว้ต่อโรงเรียนนายร้อยตำรวจอันเป็นสัญญาอย่างหนึ่ง และสัญญาตามเอกสารหมาย จ.3 ไม่ใช่สัญญารับคนไว้เพื่อการบำรุงเลี้ยงดูหรือฝึกสอน และโจทก์ไม่ใช่ผู้รับเลี้ยงหรือฝึกสอนฟ้องเรียกเอาค่าการงานที่ทำตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 193/34 (12) สิทธิเรียกร้องของโจทก์ที่จะได้รับชดใช้จากนายอนุสรณ์ตามสัญญาดังกล่าวกรณีเช่นนี้ไม่มีกฎหมายกำหนดเรื่องอายุความไว้โดยเฉพาะ จึงต้องใช้อายุความทั่วไปคือ 10 ปี นายอนุสรณ์ทราบคำสั่งถูกถอดถอนเมื่อวันที่ 7สิงหาคม 2529 ตามบันทึกด้านหลังเอกสารหมาย จ.9 โจทก์ฟ้องคดีเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2539 ไม่เกิน 10 ปี คดีโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ ++
++ มีปัญหาข้อกฎหมายวินิจฉัยตามฎีกาของจำเลยที่ 1 และที่ 3ต่อไปว่า โจทก์ซึ่งมีภาระการพิสูจน์ต้องนำสืบหรือไม่ว่านายอนุสรณ์มีทรัพย์มรดกและจำเลยที่ 1 และที่ 3 ต้องรับผิดในฐานะทายาทโดยธรรม และการที่ศาลอุทธรณ์ภาค 2 รับฟังข้อเท็จจริงยุติว่า จำเลยที่ 1 และที่ 3เป็นผู้รับมรดกนายอนุสรณ์เป็นการไม่ชอบเพราะโจทก์มิได้นำสืบ และโจทก์มิได้ยกขึ้นอุทธรณ์ ซึ่งเท่ากับเป็นการฎีกาโต้แย้งคัดค้านว่า ศาลอุทธรณ์ภาค 2 วินิจฉัยข้อเท็จจริงนั้นผิดต่อกฎหมายนั้น
++ เห็นว่า โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1ให้รับผิดในฐานะผู้ค้ำประกันและจำเลยที่ 1 และที่ 3 ให้รับผิดในฐานะเป็นทายาทโดยธรรมของนายอนุสรณ์ จำเลยที่ 1 และที่ 3 มิได้ให้การปฏิเสธว่าจำเลยที่ 1 และที่ 3 ไม่ใช่ทายาทโดยธรรมของนายอนุสรณ์ปัญหาดังกล่าวจึงไม่เป็นประเด็นพิพาท โจทก์ไม่จำต้องนำสืบ
++ ส่วนที่ว่าโจทก์มิได้อุทธรณ์เรื่องว่าจำเลยที่ 1 และที่ 3 เป็นผู้รับมรดก แต่ศาลอุทธรณ์ภาค 2 ยกขึ้นวินิจฉัยนั้น เห็นว่า ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่า คดีโจทก์ขาดอายุความ พิพากษายกฟ้อง ปัญหาว่าจำเลยที่ 1 และที่ 3 ต้องรับผิดต่อโจทก์หรือไม่ ศาลชั้นต้นยังไม่ได้วินิจฉัย จึงไม่มีประเด็นที่โจทก์จะอุทธรณ์โต้แย้งในปัญหาดังกล่าว เมื่อศาลอุทธรณ์ภาค 2 เห็นว่าคดีโจทก์ไม่ขาดอายุความ คดีจึงมีประเด็นที่ต้องวินิจฉัยต่อไปว่า จำเลยที่ 1 และที่ 3ต้องรับผิดหรือไม่ เมื่อศาลอุทธรณ์ภาค 2 เห็นว่าข้อเท็จจริงที่ศาลชั้นต้นฟังมาพอแก่การวินิจฉัยและเห็นสมควรวินิจฉัยไปเสียเอง ศาลอุทธรณ์ภาค 2 มีอำนาจที่จะหยิบยกข้อเท็จจริงดังกล่าวขึ้นวินิจฉัยได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 243 (3)
++ แต่ที่ศาลอุทธรณ์ภาค 2 พิพากษาให้จำเลยที่ 3 ร่วมรับผิดเป็นการส่วนตัวนั้น ศาลฎีกาไม่เห็นพ้องด้วย ++
++ พิพากษาแก้เป็นว่า ให้จำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 2 ร่วมกันชดใช้เงินต้นและดอกเบี้ยแก่โจทก์ โดยให้จำเลยที่ 3 ในฐานะทายาทโดยธรรมของนายอนุสรณ์ โกมลรัตน์ รับผิดร่วมด้วย ค่าฤชาธรรมเนียมในชั้นฎีกาให้เป็นพับ นอกจากที่แก้ให้เป็นไปตามคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 2.++
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4581/2543 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาในการทำร้ายร่างกายบุพการี: ศาลพิจารณาจากพฤติการณ์และบาดแผลเพื่อวินิจฉัยความผิดฐานพยายามฆ่าหรือทำร้ายร่างกาย
จำเลยใช้มีดดาบฟันผู้เสียหาย 2 ครั้ง ขณะผู้เสียหายอยู่ในมุ้งแล้วไม่ได้ฟันซ้ำอีกทั้งที่มีโอกาสกระทำได้ ผู้เสียหายได้รับบาดเจ็บที่แขนและใบหูไม่ถึงสาหัส การที่มีบาดแผลเพียงใบหูเกือบขาด แสดงว่าคมมีดถูกศีรษะผู้เสียหายไม่แรงส่วนที่มีมุ้งกีดขวาง ก็เป็นสภาพที่มีอยู่ก่อนจำเลยลงมือกระทำหาใช่เหตุขัดขวางที่เกิดขึ้นภายหลังลงมือกระทำ พฤติการณ์แห่งคดียังฟังไม่ได้ว่าจำเลยมีเจตนาฆ่าผู้เสียหาย
ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่า จำเลยไม่มีเจตนาฆ่าผู้เสียหายการกระทำของจำเลยเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 296 โจทก์ฎีกาขอให้ลงโทษจำเลยฐานพยายามฆ่าบุพการีแม้ไม่ได้ฎีกาโต้แย้งว่า หากรับฟังว่าเป็นเพียงกรณีทำร้ายร่างกายก็จะต้องลงโทษฐานทำร้ายร่างกายบุพการี ก็ย่อมแปลได้ว่า โจทก์ฎีกาขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 296ด้วยแล้ว ศาลฎีกามีอำนาจลงโทษจำเลยตามบทมาตราดังกล่าวตามข้อเท็จจริงที่พิจารณาได้ความ
ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่า จำเลยไม่มีเจตนาฆ่าผู้เสียหายการกระทำของจำเลยเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 296 โจทก์ฎีกาขอให้ลงโทษจำเลยฐานพยายามฆ่าบุพการีแม้ไม่ได้ฎีกาโต้แย้งว่า หากรับฟังว่าเป็นเพียงกรณีทำร้ายร่างกายก็จะต้องลงโทษฐานทำร้ายร่างกายบุพการี ก็ย่อมแปลได้ว่า โจทก์ฎีกาขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 296ด้วยแล้ว ศาลฎีกามีอำนาจลงโทษจำเลยตามบทมาตราดังกล่าวตามข้อเท็จจริงที่พิจารณาได้ความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4581/2543
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่า vs. ทำร้ายร่างกายบุพการี: ศาลฎีกาพิจารณาจากพฤติการณ์และบาดแผลเพื่อวินิจฉัยความผิด
จำเลยใช้มีดดาบฟันผู้เสียหาย 2 ครั้ง ขณะผู้เสียหายอยู่ในมุ้งแล้วจำเลยไม่ได้ฟันซ้ำอีกทั้งที่มีโอกาสกระทำได้ ผู้เสียหายได้รับบาดเจ็บที่แขนและใบหูไม่ถึงสาหัส บาดแผลที่ใบหูผู้เสียหายเป็นบาดแผลในแนวราบ ซึ่งหากคมมีดถูกศีรษะผู้เสียหายโดยแรง ใบหูผู้เสียหายย่อมขาด และคมมีดย่อมบาดเข้าในขมับผู้เสียหายเป็นแผลลึกการที่มีบาดแผลเพียงใบหูเกือบขาด แสดงว่าคมมีดถูกศีรษะผู้เสียหายไม่แรง ส่วนที่มีมุ้งกีดขวาง เป็นสภาพที่มีอยู่ก่อนจำเลยลงมือกระทำหากจำเลยมีเจตนาให้เกิดบาดแผลร้ายแรงแก่ผู้เสียหาย จำเลยย่อมกระทำให้สัมฤทธิ์ผลได้ เช่น ฟันให้แรงขึ้น หรือฟันสายมุ้งให้ขาดและผ้ามุ้งคลุมแนบตัวผู้เสียหายแล้วจึงฟันผู้เสียหาย หรือตลบมุ้งขึ้นก่อนแล้วจึงฟันผู้เสียหาย พฤติการณ์แห่งคดียังฟังไม่ได้ว่าจำเลยมีเจตนาฆ่าผู้เสียหาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4581/2543 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่า vs. ทำร้ายร่างกาย: การพิจารณาจากพฤติการณ์และบาดแผล
จำเลยใช้มีดดาบฟันผู้เสียหาย 2 ครั้ง ขณะผู้เสียหายอยู่ในมุ้งแล้วไม่ได้ฟันซ้ำอีกทั้งที่มีโอกาสกระทำได้ ผู้เสียหายได้รับบาดเจ็บที่แขนและใบหูไม่ถึงสาหัส การที่มีบาดแผลเพียงใบหูเกือบขาด แสดงว่าคมมีดถูกศีรษะผู้เสียหายไม่แรงส่วนที่มีมุ้งกีดขวาง ก็เป็นสภาพที่มีอยู่ก่อนจำเลยลงมือกระทำ หาใช่เหตุขัดขวางที่เกิดขึ้นภายหลังลงมือกระทำ พฤติการณ์แห่งคดียังฟังไม่ได้ว่าจำเลยมีเจตนาฆ่าผู้เสียหาย
ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่า จำเลยไม่มีเจตนาฆ่าผู้เสียหาย การกระทำของจำเลยเป็นความผิดตาม ป.อ.มาตรา 296 โจทก์ฎีกาขอให้ลงโทษจำเลยฐานพยายามฆ่าบุพการี แม้ไม่ได้ฎีกาโต้แย้งว่า หากรับฟังว่าเป็นเพียงกรณีทำร้ายร่างกายก็จะต้องลงโทษฐานทำร้ายร่างกายบุพการี ก็ย่อมแปลได้ว่า โจทก์ฎีกาขอให้ลงโทษจำเลยตาม ป.อ.มาตรา 296 ด้วยแล้ว ศาลฎีกามีอำนาจลงโทษจำเลยตามบทมาตราดังกล่าวตามข้อเท็จจริงที่พิจารณาได้ความ
ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่า จำเลยไม่มีเจตนาฆ่าผู้เสียหาย การกระทำของจำเลยเป็นความผิดตาม ป.อ.มาตรา 296 โจทก์ฎีกาขอให้ลงโทษจำเลยฐานพยายามฆ่าบุพการี แม้ไม่ได้ฎีกาโต้แย้งว่า หากรับฟังว่าเป็นเพียงกรณีทำร้ายร่างกายก็จะต้องลงโทษฐานทำร้ายร่างกายบุพการี ก็ย่อมแปลได้ว่า โจทก์ฎีกาขอให้ลงโทษจำเลยตาม ป.อ.มาตรา 296 ด้วยแล้ว ศาลฎีกามีอำนาจลงโทษจำเลยตามบทมาตราดังกล่าวตามข้อเท็จจริงที่พิจารณาได้ความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4469/2543
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายสิทธิการเช่า: การไม่ปฏิบัติตามหน้าที่ในการจดทะเบียนและชำระเงิน ทำให้คู่สัญญาบอกเลิกได้และต้องคืนเงิน
การจะจดทะเบียนโอนสิทธิการเช่าตามสัญญาได้ จำเลยมีหน้าที่ต้องยื่นคำขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมประเภทโอนสิทธิการเช่าต่อเจ้าพนักงานเสียก่อนวันนัดจดทะเบียน ซึ่งเจ้าพนักงานต้องออกประกาศเป็นเวลา ไม่น้อยกว่า 30 วันก่อนวันจดทะเบียน หากไม่มีผู้ใดคัดค้านเจ้าพนักงานจึงจะจดทะเบียนให้ และต้องมีหนังสือยินยอมให้โอนสิทธิการเช่าจากผู้ให้เช่าไปแสดงต่อเจ้าพนักงานด้วย ในขณะเดียวกันโจทก์ก็มีหน้าที่ต้องชำระเงินส่วนที่เหลือในวันจดทะเบียนโอน ปรากฏว่าในวันจดทะเบียนโอน จำเลยไม่ได้ยื่นเรื่องราวขอจดทะเบียนดังกล่าวและไม่มีหนังสือยินยอมของผู้ให้เช่าไปแสดง โจทก์ก็ไม่ได้เตรียมเงินที่จะต้องชำระให้แก่จำเลย กรณีของโจทก์และจำเลยปรับ ได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา 210, 211 ถือว่าทั้งสองฝ่ายไม่มีฝ่ายใดผิดสัญญา และต่างบอกเลิกสัญญาแก่กันและกันแล้ว โดยไม่ประสงค์ที่จะปฏิบัติตามสัญญาต่อไป จึงต้องให้คู่สัญญากลับคืนสู่ฐานะเดิมตาม ป.พ.พ. มาตรา 391 จำเลยต้องคืนเงินที่ได้รับไว้แก่โจทก์พร้อมดอกเบี้ยตั้งแต่เวลาที่ได้รับไว้ และเมื่อจำเลยไม่ได้ผิดสัญญาโจทก์จึงไม่มีสิทธิเรียก เอาเบี้ยปรับตามฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3735/2543
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาต้องห้ามเนื่องจากยกข้อเท็จจริงใหม่ไม่ตรงตามฟ้อง และการลดโทษจากความร่วมมือชดใช้ค่าเสียหาย
ตามฟ้องระบุไว้อย่างแน่ชัดว่า ขณะเกิดเหตุผู้ตายมีส่วนประมาทร่วมกับจำเลย โดยผู้ตายขับรถจักรยานยนต์สวนทางมาด้วยความประมาทล้ำเส้นแบ่งช่องเดินรถเข้าไปในช่องเดินรถของจำเลยและเฉี่ยวชนกับรถยนต์ของจำเลยในช่องเดินรถของจำเลยเป็นเหตุให้ผู้ตายซึ่งเป็นผู้ขับ และ ณ. ซึ่งนั่งซ้อนท้ายรถจักรยานยนต์ถึงแก่ความตาย ฎีกาของโจทก์ร่วมซึ่งอ้างข้อเท็จจริงขึ้นมาใหม่ว่าเหตุเฉี่ยวชนกันเกิดจากความประมาท ของจำเลยเพียงผู้เดียวแตกต่างจากข้อเท็จจริงที่ระบุในฟ้อง จึงเป็น ข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลชั้นต้น ต้องห้ามฎีกาตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 วรรคหนึ่ง ประกอบด้วย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3735/2543 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาต้องห้าม: การยกข้อเท็จจริงใหม่ในฎีกาที่ไม่เคยกล่าวอ้างในศาลชั้นต้น
ตามฟ้องระบุไว้อย่างแน่ชัดว่า ขณะเกิดเหตุผู้ตายมีส่วนประมาทร่วมกับจำเลย โดยผู้ตายขับรถจักรยานยนต์สวนทางมาด้วยความประมาทล้ำเส้นแบ่งช่องเดินรถเข้าไปในช่องเดินรถของจำเลยและเฉี่ยวชนกับรถยนต์ของจำเลยในช่องเดินรถของจำเลยเป็นเหตุให้ผู้ตายซึ่งเป็นผู้ขับและ ณ.ซึ่งนั่งซ้อนท้ายรถจักรยานยนต์ถึงแก่ความตาย ฎีกาของโจทก์ร่วมซึ่งอ้างข้อเท็จจริงขึ้นมาใหม่ว่าเหตุเฉี่ยวชนกันเกิดจากความประมาทของจำเลยเพียงผู้เดียวแตกต่างจากข้อเท็จจริงที่ระบุในฟ้อง จึงเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลชั้นต้น ต้องห้ามฎีกาตาม ป.วิ.พ.มาตรา 249 วรรคหนึ่ง ประกอบด้วย ป.วิ.อ.มาตรา 15 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3530/2543 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจัดหางานผิดกฎหมายและการเรียกทรัพย์สินชดใช้ – ขอบเขตอำนาจอัยการ
จำเลยมีความผิดฐานจัดหางานให้คนหางานเพื่อไปทำงานในต่างประเทศโดยไม่ได้รับใบอนุญาตตาม พ.ร.บ.จัดหางานและคุ้มครองคนหางานพ.ศ.2528 มาตรา 30 วรรคหนึ่ง 82 เท่านั้น แต่จำเลยมิได้มีความผิดฐานฉ้อโกงตามฟ้องด้วย พนักงานอัยการโจทก์จึงไม่มีอำนาจเรียกทรัพย์สินหรือราคาแทนผู้เสียหายเพราะไม่ใช่เป็นความผิดตามที่ระบุไว้ใน ป.วิ.อ.มาตรา 43 ทั้งตาม พ.ร.บ.จัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ.2528 ก็มิได้ให้อำนาจพนักงานอัยการโจทก์ที่จะเรียกทรัพย์สินหรือราคาแทนผู้เสียหายได้