พบผลลัพธ์ทั้งหมด 292 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3307/2543 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายที่ดินช่วงมีข้อห้ามโอนเป็นโมฆะ การครอบครองเปลี่ยนมือ และอายุความฟ้องแย่งการครอบครอง
โจทก์และจำเลยที่ 1 ทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาทกันเมื่อปี 2530 ซึ่งขณะนั้นที่ดินพิพาทอยู่ในกำหนดระยะเวลาห้ามโอนตามกฎหมายภายในกำหนด 10 ปี การซื้อขายที่ดินพิพาทจึงเป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายตกเป็นโมฆะตาม ป.พ.พ. มาตรา 113 (เดิม) เมื่อที่ดินพิพาทเป็นที่ดินที่ทางราชการจัดให้ราษฎรทำกินจึงปกป้องราษฎรให้มีที่ทำกินเป็นเวลาอย่างน้อย 10 ปี ภายในกำหนดระยะเวลาดังกล่าวซึ่งทางราชการได้ควบคุมที่ดินนั้นอยู่ ยังไม่ปล่อยเป็นสิทธิเด็ดขาดแก่ผู้ครอบครองจนกว่าจะพ้นกำหนดระยะเวลาที่มีข้อกำหนดห้ามโอน ดังนั้น โจทก์จะสละหรือโอนการครอบครองที่ดินพิพาทเพื่อชำระหนี้ให้แก่จำเลยที่ 1 ไม่ได้ ศาลจึงยกบทบัญญัติมาตรา 411 แห่ง ป.พ.พ. ขึ้นปรับแก่คดีนี้ไม่ได้
นับแต่โจทก์และจำเลยที่ 1 ซื้อขายที่ดินพิพาทกันตั้งแต่ปี 2530 จำเลยที่ 1 ได้ครอบครองที่ดินพิพาทตลอดมาจนปัจจุบัน แม้จะถือว่าในระหว่างระยะเวลาที่มีข้อกำหนดห้ามโอน จำเลยที่ 1 ครอบครองที่ดินพิพาทแทนโจทก์ก็ตามแต่ในปี 2533 ซึ่งเป็นระยะเวลาพ้นกำหนดห้ามโอนตามกฎหมายแล้ว จำเลยที่ 1 ได้ฟ้องต่อศาลขอให้บังคับโจทก์โอนที่ดินพิพาทให้จำเลยที่ 1 ดังนี้ ถือได้ว่าจำเลยที่ 1 ได้เปลี่ยนลักษณะแห่งการยึดถือที่ดินพิพาทโดยบอกกล่าวแสดงเจตนาไปยังโจทก์ว่าจะไม่ยึดถือที่ดินพิพาทแทนโจทก์อีกต่อไป อันเป็นการแย่งการครอบครองที่ดินพิพาทจากโจทก์นับตั้งแต่วันที่จำเลยที่ 1 ยื่นฟ้องดังกล่าว โจทก์ฟ้องคดีนี้เมื่อปี 2539 จึงเป็นการฟ้องคดีเพื่อเอาคืนซึ่งการครอบครองเมื่อพ้นกำหนด 1 ปีนับแต่เวลาถูกแย่งการครอบครองตาม ป.พ.พ. มาตรา 1375 วรรคสอง โจทก์จึงไม่มีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 1 เอาคืนซึ่งการครอบครอง ส่วนจำเลยที่ 2 และที่ 3 แม้จะมิได้อุทธรณ์ด้วยแต่เนื่องจากกรณีนี้เกี่ยวด้วยการชำระหนี้อันไม่อาจแบ่งแยกได้ ที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยชี้ขาดให้มีผลไปถึงจำเลยที่ 2 และที่ 3 ด้วย จึงชอบแล้ว
นับแต่โจทก์และจำเลยที่ 1 ซื้อขายที่ดินพิพาทกันตั้งแต่ปี 2530 จำเลยที่ 1 ได้ครอบครองที่ดินพิพาทตลอดมาจนปัจจุบัน แม้จะถือว่าในระหว่างระยะเวลาที่มีข้อกำหนดห้ามโอน จำเลยที่ 1 ครอบครองที่ดินพิพาทแทนโจทก์ก็ตามแต่ในปี 2533 ซึ่งเป็นระยะเวลาพ้นกำหนดห้ามโอนตามกฎหมายแล้ว จำเลยที่ 1 ได้ฟ้องต่อศาลขอให้บังคับโจทก์โอนที่ดินพิพาทให้จำเลยที่ 1 ดังนี้ ถือได้ว่าจำเลยที่ 1 ได้เปลี่ยนลักษณะแห่งการยึดถือที่ดินพิพาทโดยบอกกล่าวแสดงเจตนาไปยังโจทก์ว่าจะไม่ยึดถือที่ดินพิพาทแทนโจทก์อีกต่อไป อันเป็นการแย่งการครอบครองที่ดินพิพาทจากโจทก์นับตั้งแต่วันที่จำเลยที่ 1 ยื่นฟ้องดังกล่าว โจทก์ฟ้องคดีนี้เมื่อปี 2539 จึงเป็นการฟ้องคดีเพื่อเอาคืนซึ่งการครอบครองเมื่อพ้นกำหนด 1 ปีนับแต่เวลาถูกแย่งการครอบครองตาม ป.พ.พ. มาตรา 1375 วรรคสอง โจทก์จึงไม่มีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 1 เอาคืนซึ่งการครอบครอง ส่วนจำเลยที่ 2 และที่ 3 แม้จะมิได้อุทธรณ์ด้วยแต่เนื่องจากกรณีนี้เกี่ยวด้วยการชำระหนี้อันไม่อาจแบ่งแยกได้ ที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยชี้ขาดให้มีผลไปถึงจำเลยที่ 2 และที่ 3 ด้วย จึงชอบแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3307/2543
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายที่ดินช่วงมีข้อจำกัดตามกฎหมาย: ผลกระทบต่อการครอบครองและสิทธิเรียกร้อง
โจทก์และจำเลยที่ 1 ทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาทกันในกำหนดระยะเวลาห้ามโอนตามประมวลกฎหมายที่ดิน การซื้อขายที่ดินพิพาทจึงเป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย ตกเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 113(เดิม)
ที่ดินพิพาทเป็นที่ดินที่ทางราชการจัดให้ราษฎรทำกินจึงปกป้อง ราษฎรให้มีที่ทำกินเป็นเวลาอย่างน้อย 10 ปี ภายในกำหนดระยะเวลา ดังกล่าวซึ่งทางราชการได้ควบคุมที่ดินนั้นอยู่ยังไม่ปล่อยเป็นสิทธิเด็ดขาดแก่ผู้ครอบครองจนกว่าจะพ้นกำหนดระยะเวลาที่มีข้อกำหนดห้ามโอน ดังนั้น โจทก์จะสละหรือโอนการครอบครองที่ดินพิพาทเพื่อชำระหนี้ ให้แก่ จำเลยที่ 1 ไม่ได้ ศาลจึงยกบทบัญญัติมาตรา 411 แห่ง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ขึ้นปรับแก่คดีนี้ไม่ได้
นับแต่โจทก์และจำเลยที่ 1 ซื้อขายที่ดินพิพาทกันตั้งแต่ปี 2530จำเลยที่ 1 ได้ครอบครองที่ดินพิพาทตลอดมาจนปัจจุบัน แม้จะถือว่าในระหว่างระยะเวลาที่มีข้อกำหนดห้ามโอน จำเลยที่ 1 ครอบครองที่ดินพิพาทแทนโจทก์ก็ตาม แต่ในปี 2533 ซึ่งเป็นระยะเวลาพ้นกำหนดห้ามโอนตามกฎหมายแล้ว จำเลยที่ 1 ได้ฟ้องต่อศาลขอให้บังคับโจทก์โอนที่ดินพิพาทให้จำเลย ดังนี้ ถือได้ว่าจำเลยที่ 1 ได้เปลี่ยนลักษณะแห่งการยึดถือที่ดินพิพาทโดยบอกกล่าวแสดงเจตนาไปยังโจทก์ว่า จะไม่ยึดถือที่ดินพิพาทแทน โจทก์อีกต่อไปอันเป็นการแย่งการครอบครองที่ดินพิพาทจากโจทก์นับตั้งแต่วันที่จำเลยที่ 1 ยื่นฟ้องดังกล่าว โจทก์ฟ้องคดีนี้เมื่อปี 2539 จึงเป็นการฟ้องคดีเพื่อเอาคืนซึ่งการครอบครองเมื่อพ้นกำหนด 1 ปี นับแต่เวลาถูกแย่งการครอบครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1375 วรรคสอง โจทก์จึงไม่มีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 1 เอาคืนซึ่งการครอบครอง ส่วนจำเลยที่ 2และที่ 3 แม้จะมิได้อุทธรณ์ด้วยแต่เนื่องจากกรณีนี้เกี่ยวด้วยการชำระหนี้อันไม่อาจแบ่งแยกได้ที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยชี้ขาดให้มีผลไปถึงจำเลยที่ 2และที่ 3 ด้วย จึงชอบแล้ว
ที่ดินพิพาทเป็นที่ดินที่ทางราชการจัดให้ราษฎรทำกินจึงปกป้อง ราษฎรให้มีที่ทำกินเป็นเวลาอย่างน้อย 10 ปี ภายในกำหนดระยะเวลา ดังกล่าวซึ่งทางราชการได้ควบคุมที่ดินนั้นอยู่ยังไม่ปล่อยเป็นสิทธิเด็ดขาดแก่ผู้ครอบครองจนกว่าจะพ้นกำหนดระยะเวลาที่มีข้อกำหนดห้ามโอน ดังนั้น โจทก์จะสละหรือโอนการครอบครองที่ดินพิพาทเพื่อชำระหนี้ ให้แก่ จำเลยที่ 1 ไม่ได้ ศาลจึงยกบทบัญญัติมาตรา 411 แห่ง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ขึ้นปรับแก่คดีนี้ไม่ได้
นับแต่โจทก์และจำเลยที่ 1 ซื้อขายที่ดินพิพาทกันตั้งแต่ปี 2530จำเลยที่ 1 ได้ครอบครองที่ดินพิพาทตลอดมาจนปัจจุบัน แม้จะถือว่าในระหว่างระยะเวลาที่มีข้อกำหนดห้ามโอน จำเลยที่ 1 ครอบครองที่ดินพิพาทแทนโจทก์ก็ตาม แต่ในปี 2533 ซึ่งเป็นระยะเวลาพ้นกำหนดห้ามโอนตามกฎหมายแล้ว จำเลยที่ 1 ได้ฟ้องต่อศาลขอให้บังคับโจทก์โอนที่ดินพิพาทให้จำเลย ดังนี้ ถือได้ว่าจำเลยที่ 1 ได้เปลี่ยนลักษณะแห่งการยึดถือที่ดินพิพาทโดยบอกกล่าวแสดงเจตนาไปยังโจทก์ว่า จะไม่ยึดถือที่ดินพิพาทแทน โจทก์อีกต่อไปอันเป็นการแย่งการครอบครองที่ดินพิพาทจากโจทก์นับตั้งแต่วันที่จำเลยที่ 1 ยื่นฟ้องดังกล่าว โจทก์ฟ้องคดีนี้เมื่อปี 2539 จึงเป็นการฟ้องคดีเพื่อเอาคืนซึ่งการครอบครองเมื่อพ้นกำหนด 1 ปี นับแต่เวลาถูกแย่งการครอบครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1375 วรรคสอง โจทก์จึงไม่มีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 1 เอาคืนซึ่งการครอบครอง ส่วนจำเลยที่ 2และที่ 3 แม้จะมิได้อุทธรณ์ด้วยแต่เนื่องจากกรณีนี้เกี่ยวด้วยการชำระหนี้อันไม่อาจแบ่งแยกได้ที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยชี้ขาดให้มีผลไปถึงจำเลยที่ 2และที่ 3 ด้วย จึงชอบแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3280/2543
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อตกลงเลิกสัญญาเช่าและการริบเงินประกัน: การยินยอมให้ริบเงินประกันเป็นผลให้จำเลยมีสิทธิริบได้
โจทก์ทำสัญญาเช่าตึกแถวตามฟ้องจากจำเลยมีกำหนดเวลาการเช่า1 ปี 6 เดือน โจทก์ได้วางเงินประกันไว้แก่จำเลย โจทก์ขอบอกเลิกสัญญาเช่าก่อนครบกำหนดเวลาเช่าตามสัญญาและจำเลยยินยอมให้โจทก์เลิกสัญญาได้จึงเป็นการที่ต่างฝ่ายต่างสมัครใจตกลงเลิกสัญญาต่อกัน แต่โจทก์จำเลยมีการตกลงในการเลิกสัญญาเช่าว่าเงินประกันต้องริบและโจทก์ยินยอมให้ริบได้ จำเลยจึงมีสิทธิริบเอาเงินประกันดังกล่าวได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3280/2543 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกสัญญาเช่าโดยความยินยอม และการริบเงินประกัน
โจทก์ทำสัญญาเช่าตึกแถวตามฟ้องจากจำเลยมีกำหนดเวลาการเช่า1 ปี 6 เดือน โจทก์ได้วางเงินประกันไว้แก่จำเลย ต่อมาโจทก์ได้ส่งมอบตึกแถวคืนจำเลยในสภาพเรียบร้อย โจทก์ขอบอกเลิกสัญญาเช่าก่อนครบกำหนดเวลาเช่าและจำเลยยินยอมให้โจทก์เลิกสัญญาได้ จึงเป็นการที่ต่างฝ่ายต่างสมัครใจตกลงเลิกสัญญาต่อกันแต่โจทก์จำเลยมีข้อตกลงในการเลิกสัญญาเช่าว่าโจทก์ยอมให้จำเลยริบเงินประกันได้จำเลยจึงมีสิทธิริบเอาเงินประกันดังกล่าว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3280/2543 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อตกลงเลิกสัญญาเช่าและการริบเงินประกัน หากมีข้อตกลงยินยอมให้ริบได้
โจทก์ทำสัญญาเช่าตึกแถวตามฟ้องจากจำเลยมีกำหนดเวลาการเช่า 1 ปี 6 เดือน โจทก์ได้วางเงินประกันไว้แก่จำเลย ต่อมาโจทก์ได้ส่งมอบตึกแถวคืนจำเลยในสภาพเรียบร้อย โจทก์ขอบอกเลิกสัญญาเช่าก่อนครบกำหนดเวลาเช่าและจำเลยยินยอมให้โจทก์เลิกสัญญาได้ จึงเป็นการที่ต่างฝ่ายต่างสมัครใจตกลงเลิกสัญญาต่อกัน แต่โจทก์จำเลยมีข้อตกลงในการเลิกสัญญาเช่าว่าโจทก์ยอมให้จำเลยริบเงินประกันได้ จำเลยจึงมีสิทธิริบเอาเงินประกันดังกล่าว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3228/2543 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนับอายุความละเมิด: วันหยุดราชการและวันเริ่มทำการของศาล
เหตุละเมิดเกิดวันที่ 24 พฤศจิกายน 2538 วันครบกำหนด1 ปี นับแต่วันละเมิดคือวันที่ 24 พฤศจิกายน 2539 ซึ่งตรงกับวันอาทิตย์เป็นวันหยุดราชการ โจทก์ฟ้องคดีวันที่ 25 พฤศจิกายน 2539 ซึ่งเป็นวันที่ศาลเริ่มทำการใหม่ต่อจากวันที่หยุดทำการ จึงเป็นการฟ้องภายในระยะเวลา 1 ปี นับแต่วันทำละเมิดฟ้องโจทก์ไม่ขาดอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3228/2543 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดีละเมิด: การนับอายุความเมื่อวันครบกำหนดตรงกับวันหยุดราชการ
เหตุละเมิดเกิดวันที่ 24 พฤศจิกายน 2538 วันครบกำหนด1 ปี นับแต่วันละเมิดคือวันที่ 24 พฤศจิกายน 2539 ซึ่งตรงกับวันอาทิตย์เป็นวันหยุดราชการ โจทก์ฟ้องคดีวันที่ 25 พฤศจิกายน2539 ซึ่งเป็นวันที่ศาลเริ่มทำการใหม่ ต่อจากวันที่หยุดทำการจึงเป็นการฟ้องภายในระยะเวลา 1 ปี นับแต่วันทำละเมิดฟ้องโจทก์ไม่ขาดอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3228/2543
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนับอายุความในคดีละเมิดเมื่อวันครบกำหนดตรงกับวันหยุดราชการ ศาลพิจารณาว่าวันเริ่มต้นทำการใหม่เป็นวันสุดท้ายของอายุความ
เหตุละเมิดเกิดเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2538 เมื่อนับเวลาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 193/3 วรรคสอง ประกอบมาตรา 193/5 วันครบกำหนด 1 ปี นับแต่วันละเมิดคือวันที่ 24 พฤศจิกายน2539 ซึ่งตรงกับวันอาทิตย์เป็นวันหยุดราชการ ศาลหยุดทำการ ซึ่งตามมาตรา 193/8 ให้นับวันที่เริ่มทำการใหม่ต่อจากวันที่หยุดทำการนั้นเป็นวันสุดท้ายของระยะเวลา โจทก์ฟ้องคดีวันที่ 25 พฤศจิกายน 2539 ซึ่งเป็นวันที่ศาลเริ่มทำการใหม่ต่อจากวันที่หยุดทำการจึงเป็นการฟ้องภายในระยะเวลา 1 ปี นับแต่วันทำละเมิด ฟ้องโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3097/2543
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนการโอนมรดกที่ผิดหน้าที่ผู้จัดการมรดก และอำนาจฟ้องของกองมรดก
++ เรื่อง มรดก เพิกถอนนิติกรรม
++
++ ทดสอบการทำงานในระบบ CW เพื่อค้นหาข้อมูลทาง online ++
++ ย่อข้อกฎหมายอย่างไม่เป็นทางการ
++ ขอชุดตรวจได้ที่งานย่อข้อกฎหมายระบบ CW โถงกลางชั้น 3 ++
++
++
++ คดีมีปัญหาวินิจฉัยตามฎีกาจำเลยทั้งสองประการแรกว่าศาลชั้นต้นมีคำสั่งไม่อนุญาตให้โจทก์ระบุพยานเพิ่มเติมครั้งที่ 2 เนื่องจากโจทก์มิได้ทำเป็นคำร้องแสดงเหตุที่ไม่อาจระบุพยานได้ แล้วในเวลาต่อมาศาลชั้นต้นได้มีคำสั่งให้รับบัญชีพยานโจทก์เพิ่มเติมฉบับดังกล่าวนั้นชอบหรือไม่
++
++ ศาลฎีกาเห็นว่า การระบุบัญชีพยานโจทก์เพิ่มเติมดังกล่าว โจทก์ได้ทำเป็นคำแถลงฉบับลงวันที่ 17 มิถุนายน 2539 ทั้งบัญชีพยานโจทก์เพิ่มเติมครั้งที่ 2 ได้ระบุสำนวนคดีอาญาหมายเลขแดงที่ 662/2535 ของศาลชั้นต้น แต่ไม่ได้ลงลายมือชื่อผู้ระบุ เมื่อศาลชั้นต้นสั่งไม่อนุญาตแล้วในเวลาต่อมาเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2539 ศาลชั้นต้นได้มีคำสั่งว่าสำนวนคดีอาญาดังกล่าวเป็นพยานหลักฐานซึ่งเกี่ยวกับประเด็นข้อสำคัญในคดี เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ให้รับบัญชีพยานเพิ่มเติมฉบับดังกล่าวของโจทก์และให้นำสำนวนคดีอาญาดังกล่าวมาผูกพ่วงกับคดีนี้เป็นพยานโจทก์และพยานศาล ให้ทนายความทั้งสองฝ่ายลงชื่อรับทราบคำสั่งศาลนี้ไว้ในคำแถลงฉบับนี้ ปรากฏตามท้ายคำแถลงฉบับลงวันที่ 17มิถุนายน 2539 แต่ไม่ปรากฏว่าเจ้าพนักงานศาลได้ให้ฝ่ายจำเลยลงชื่อรับทราบคำสั่งศาลดังกล่าวไว้ ดังนั้น จึงถือไม่ได้ว่าจำเลยทั้งสองทราบคำสั่งศาลชั้นต้นแล้ว แม้คำสั่งของศาลชั้นต้นดังกล่าวเป็นคำสั่งระหว่างพิจารณา แต่เมื่อจำเลยทั้งสองยังไม่ทราบคำสั่งศาลชั้นต้นดังกล่าวจึงไม่มีโอกาสที่จะโต้แย้งคำสั่งศาลชั้นต้นได้ จำเลยทั้งสองชอบที่จะอุทธรณ์โต้แย้งคำสั่งศาลชั้นต้นดังกล่าวได้ ที่ศาลอุทธรณ์ภาค 3 ไม่รับวินิจฉัยในปัญหานี้จึงไม่ชอบ
++ การที่โจทก์ยื่นบัญชีพยานโจทก์เพิ่มเติมดังกล่าว แม้จะเป็นการยื่นที่ฝ่าฝืนต่อประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 88 วรรคสาม ดังจำเลยทั้งสองฎีกา แต่การที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งรับบัญชีพยานโจทก์เพิ่มเติมด้วยเหตุผลที่ศาลชั้นต้นได้สั่งไว้นั้น ถือได้ว่าศาลชั้นต้นอาศัยอำนาจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 87(2) ให้รับฟังเป็นพยานหลักฐานได้ ซึ่งเมื่อได้พิจารณาแล้ว สำนวนคดีอาญาหมายเลขแดงที่ 662/2535 ของศาลชั้นต้น เป็นสำนวนเดียวกับคดีอาญาหมายเลขดำที่ 106/2533 ของศาลชั้นต้นที่จำเลยทั้งสองได้ระบุอ้างไว้ตามบัญชีพยานจำเลยฉบับลงวันที่ 21 กรกฎาคม 2536 อันดับที่ 19การยื่นบัญชีพยานโจทก์เพิ่มเติมนั้นจึงมิได้ทำให้จำเลยทั้งสองเสียเปรียบทั้งสำนวนคดีอาญาที่โจทก์อ้างเป็นพยานหลักฐานซึ่งเกี่ยวกับประเด็นข้อสำคัญในคดีจำเป็นจะต้องสืบด้วย เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมแล้วศาลชั้นต้นย่อมมีอำนาจที่จะสั่งเช่นนั้นได้ คำสั่งศาลชั้นต้นชอบแล้ว และสำนวนคดีอาญาหมายเลขแดงที่ 662/2535 ของศาลชั้นต้น ทั้งสำนวนย่อมรับฟังเป็นพยานหลักฐานได้โดยไม่จำเป็นต้องมีพยานบุคคลมาสืบประกอบอีก
++
++ ปัญหาต่อไป ศาลมีอำนาจรับฟังข้อเท็จจริงในสำนวนคดีอาญาดังกล่าวในการพิพากษาคดีส่วนแพ่งนี้หรือไม่
++ เห็นว่า คดีอาญาหมายเลขดำที่ 106/2533 เป็นคดีที่นายคลายฟ้องจำเลยทั้งสองในข้อหาร่วมกันยักยอกทรัพย์มีประเด็นโดยตรงว่า จำเลยที่ 1 ในฐานะผู้จัดการมรดกของนายคล้อยได้โอนที่ดินพิพาทมาเป็นของตนเอง แล้วโอนต่อให้จำเลยที่ 2หรือไม่ ซึ่งเป็นประเด็นโดยตรงอย่างเดียวกับข้อพิพาทในคดีแพ่งนี้แม้ในคดีแพ่งนี้โจทก์จะฟ้องคดีในฐานะผู้จัดการมรดกของนายจำรัสฟ้องจำเลยทั้งสองซึ่งถือว่าเป็นการกระทำแทนทายาทเมื่อได้ความว่าโจทก์เป็นทายาทผู้มีสิทธิรับมรดกของนายจำรัสด้วย ทั้งทรัพย์มรดกของนายคล้อยและนายจำรัสคือที่ดินพิพาทรายเดียวกับที่โจทก์ได้ฟ้องจำเลยทั้งสองในฐานะส่วนตัว ดังนั้น จึงถือได้ว่าโจทก์และจำเลยทั้งสองในคดีอาญากับโจทก์ในฐานะผู้จัดการมรดกของนายจำรัสกับจำเลยทั้งสองในคดีแพ่งเป็นคู่ความรายเดียวกัน และคดีอาญาดังกล่าวนั้นได้วินิจฉัยข้อเท็จจริงถึงที่สุดแล้ว โดยศาลฎีกาได้มีคำพิพากษาแล้วตามคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1768/2539 ดังนั้น ศาลจึงต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคำพิพากษาคดีส่วนอาญาดังกล่าวในการพิพากษาคดีส่วนแพ่งนี้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 46 ++
++ ปัญหาต่อไปจำเลยทั้งสองได้โอนที่ดินพิพาทของนายจำรัสเป็นการร่วมกันฉ้อฉลกองมรดกของนายจำรัสหรือไม่ ในปัญหานี้คดีอาญาที่จำเลยทั้งสองถูกฟ้องนั้น ได้มีคำพิพากษาถึงที่สุดว่าที่ดินพิพาทเป็นทรัพย์มรดกส่วนของนายจำรัสและนายละมัย จำเลยที่ 1 ได้จดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทมาเป็นของตนเองแต่เพียงผู้เดียว แล้วจดทะเบียนโอนให้จำเลยที่ 2นำไปจำนองต่อธนาคารกสิกรไทย สาขาสุราษฎร์ธานี เป็นการกระทำโดยทุจริตมีความผิดฐานผู้จัดการมรดกยักยอกทรัพย์ ส่วนจำเลยที่ 2ให้ยกฟ้องโจทก์ ดังนั้น ในการพิจารณาคดีแพ่งนี้ ศาลจำต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคำพิพากษาคดีส่วนอาญาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 46
++ ที่ดินพิพาทเป็นทรัพย์มรดกของนายจำรัสและนายละมัย จำเลยที่ 1 ได้จดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทมาเป็นของตนเองแต่เพียงผู้เดียวแล้วจดทะเบียนโอนให้แก่จำเลยที่ 2นำไปจำนองโดยทุจริต การกระทำของจำเลยที่ 1 จึงเป็นการยักยอกทรัพย์มรดกของนายจำรัส แม้การกระทำของจำเลยที่ 1 จะมิใช่เรื่องการฉ้อฉลตามฟ้องก็ตาม แต่ก็ไม่มีสิทธิที่จะกระทำได้ การกระทำของจำเลยที่ 1 จึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย ส่วนจำเลยที่ 2 นั้น แม้จะมีคำพิพากษาถึงที่สุดให้ยกฟ้อง และจำเลยที่ 2 รับโอนที่ดินพิพาทจากจำเลยที่ 1หลังจากจำเลยที่ 1 กระทำผิดฐานยักยอกสำเร็จแล้ว และไม่ปรากฏว่าจำเลยที่ 2 รับโอนโดยรู้ว่าจำเลยที่ 1 เบียดบังทรัพย์มรดกของนายจำรัสจึงฟังไม่ได้ว่า จำเลยที่ 2 กระทำผิดฐานรับของโจรนั้น ข้อเท็จจริงในคดีอาญาดังกล่าวย่อมผูกพันคดีแพ่งที่โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 2
++ จำเลยที่ 1 โดยทุจริตได้โอนที่ดินพิพาททรัพย์มรดกของนายจำรัสให้แก่จำเลยที่ 2ดังนั้น การรับโอนที่ดินพิพาทของจำเลยที่ 2 แม้จะมิได้รู้เห็นในการกระทำผิดของจำเลยที่ 1 ซึ่งจะถือว่าเป็นการร่วมกระทำผิดกับจำเลยที่ 1 ก็ตามแต่จำเลยที่ 1 ได้โอนที่ดินพิพาทมาเป็นของตนโดยกระทำผิดฐานยักยอกแล้วจึงโอนที่ดินพิพาทให้แก่จำเลยที่ 2 จำเลยที่ 2 รับโอนที่ดินพิพาทมาจากจำเลยที่ 1 ซึ่งไม่มีอำนาจโอนให้แก่จำเลยที่ 2 จำเลยที่ 2จึงไม่มีสิทธิยึดถือครอบครองที่ดินพิพาทได้
++ จำเลยทั้งสองฎีกาว่า คดีโจทก์ขาดอายุความมรดกและฟ้องขอให้เพิกถอนการโอนแล้ว ในปัญหานี้โจทก์ฟ้องจำเลยทั้งสองความว่า ที่ดินพิพาทเป็นทรัพย์มรดกของนายคล้อยซึ่งนายจำรัสมีสิทธิได้รับตามพินัยกรรม แต่นายจำรัสได้ถึงแก่ความตายก่อนและการจัดการมรดกของนายคล้อยยังไม่เสร็จสิ้น จำเลยที่ 1 ในฐานะผู้จัดการมรดกนายคล้อยได้จดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทให้แก่ตนเองแล้วจดทะเบียนยกให้แก่จำเลยที่ 2 ทำให้กองมรดกของนายจำรัสซึ่งมีโจทก์เป็นผู้จัดการมรดกได้รับความเสียหาย ขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนโอนมรดกนายคล้อยและสัญญาให้ที่ดินพิพาทที่จำเลยที่ 1 โอนที่ดินพิพาทอันเป็นมรดกนายคล้อยให้แก่ตนเองในขณะเป็นผู้จัดการมรดกของนายคล้อย แล้วจำเลยที่ 1โอนที่ดินพิพาทให้แก่จำเลยที่ 2 ในเวลาต่อมาโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายดังนี้เป็นการฟ้องว่าจำเลยที่ 1 กระทำผิดหน้าที่ผู้จัดการมรดกนายคล้อยทำให้มรดกของนายคล้อยที่จะตกได้แก่กองมรดกนายจำรัสซึ่งมีโจทก์เป็นผู้จัดการมรดกเสียหาย จึงเป็นคดีจัดการมรดกนายคล้อย มิใช่คดีมรดกนายคล้อยซึ่งต้องอยู่ในบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754จำเลยทั้งสองจึงไม่มีสิทธิอ้างอายุความนับตั้งแต่นายจำรัสตายขึ้นต่อสู้ได้และแม้ว่าโจทก์จะฟ้องขอให้บังคับจำเลยทั้งสองทำการจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทโดยอ้างว่าเป็นการฉ้อฉล แต่เนื้อหาของคำฟ้องนั้นมิใช่เป็นเรื่องการฉ้อฉล จึงมิใช่การฟ้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล อายุความการฟ้องคดีจึงไม่นับแต่วันรู้ถึงมูลเหตุให้เพิกถอนดังจำเลยทั้งสองฎีกาแต่กรณีตามคดีนี้เป็นเรื่องการฟ้องขอให้เพิกถอนการโอนทางทะเบียนที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์เป็นทางเสียเปรียบแก่กองมรดกของนายจำรัสซึ่งมีโจทก์เป็นผู้จัดการมรดกผู้อยู่ในฐานะอันจะให้จดทะเบียนสิทธิของตนได้ก่อนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1300 ดังนั้น โจทก์ในฐานะผู้จัดการมรดกของนายจำรัส จึงฟ้องขอให้เพิกถอนการโอนที่ดินพิพาทอันเป็นมรดกของนายคล้อยดังกล่าวได้
++ ปัญหาต่อไปโจทก์มีอำนาจฟ้องหรือไม่ ในปัญหานี้จำเลยทั้งสองฎีกาว่า ที่ดินพิพาทส่วนหนึ่งเป็นของนายละมัยในฐานะผู้รับมรดกตามพินัยกรรมของนายคล้อย โจทก์เป็นผู้จัดการมรดกของนายจำรัส คงจัดการได้เฉพาะส่วนมรดกของนายจำรัสเท่านั้น โจทก์ขอให้เพิกถอนที่ดินพิพาททั้งหมดจึงไม่ชอบนั้น ฎีกาจำเลยทั้งสองถือว่าเป็นข้อกฎหมายเรื่องอำนาจฟ้องอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้จะมิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ภาค 3 จำเลยทั้งสองชอบที่จะยกขึ้นกล่าวอ้างในศาลฎีกาได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249วรรคสอง ศาลฎีกาจึงรับวินิจฉัยให้
++ แม้ข้อเท็จจริงจะฟังเป็นยุติว่า ที่ดินพิพาทส่วนหนึ่งเป็นของนายละมัยในฐานะผู้รับมรดกตามพินัยกรรมของนายคล้อย และขณะฟ้องคดีนี้โจทก์เป็นเพียงผู้จัดการมรดกของนายจำรัสเท่านั้นก็ตาม แต่ก็ได้ความอีกว่านายจำรัสถึงแก่ความตายขณะเป็นผู้จัดการมรดกของนายคล้อย โดยนายจำรัสไม่มีบุตรและภริยา มิได้ทำพินัยกรรมไว้ทั้งที่ดินพิพาทมีชื่อนายจำรัสในฐานะผู้จัดการมรดกนายคล้อยเป็นผู้มีสิทธิครอบครอง ดังนั้น ก่อนที่นายจำรัสจะถึงแก่ความตาย นายจำรัสและนายละมัยจึงเป็นเจ้าของรวมในที่ดินพิพาทเมื่อนายจำรัสถึงแก่ความตายทายาททุกคนของนายจำรัสย่อมเป็นเจ้าของรวมในที่ดินพิพาทแทนนายจำรัสร่วมกับนายละมัยด้วย โจทก์ในฐานะผู้จัดการมรดกของนายจำรัสจึงมีสิทธิและหน้าที่เช่นเดียวกันกับทายาทของนายจำรัสที่จะจัดการเกี่ยวกับที่ดินพิพาทได้ในฐานะเจ้าของรวม ดังนั้น โจทก์จึงมีอำนาจใช้สิทธิอันเกิดแต่กรรมสิทธิ์ครอบไปถึงทรัพย์สินทั้งหมดเพื่อต่อสู้บุคคลภายนอก รวมทั้งการใช้สิทธิเรียกร้องเอาทรัพยสินคืนได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1745ประกอบมาตรา 1359 โจทก์ในฐานะผู้จัดการมรดกของนายจำรัส จึงมีอำนาจฟ้องขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทที่ไม่ชอบดังกล่าวในส่วนของนายละมัยได้ด้วย ถือว่าเป็นการใช้สิทธิป้องกันแทนกันในฐานะเจ้าของรวม ++
++
++ ทดสอบการทำงานในระบบ CW เพื่อค้นหาข้อมูลทาง online ++
++ ย่อข้อกฎหมายอย่างไม่เป็นทางการ
++ ขอชุดตรวจได้ที่งานย่อข้อกฎหมายระบบ CW โถงกลางชั้น 3 ++
++
++
++ คดีมีปัญหาวินิจฉัยตามฎีกาจำเลยทั้งสองประการแรกว่าศาลชั้นต้นมีคำสั่งไม่อนุญาตให้โจทก์ระบุพยานเพิ่มเติมครั้งที่ 2 เนื่องจากโจทก์มิได้ทำเป็นคำร้องแสดงเหตุที่ไม่อาจระบุพยานได้ แล้วในเวลาต่อมาศาลชั้นต้นได้มีคำสั่งให้รับบัญชีพยานโจทก์เพิ่มเติมฉบับดังกล่าวนั้นชอบหรือไม่
++
++ ศาลฎีกาเห็นว่า การระบุบัญชีพยานโจทก์เพิ่มเติมดังกล่าว โจทก์ได้ทำเป็นคำแถลงฉบับลงวันที่ 17 มิถุนายน 2539 ทั้งบัญชีพยานโจทก์เพิ่มเติมครั้งที่ 2 ได้ระบุสำนวนคดีอาญาหมายเลขแดงที่ 662/2535 ของศาลชั้นต้น แต่ไม่ได้ลงลายมือชื่อผู้ระบุ เมื่อศาลชั้นต้นสั่งไม่อนุญาตแล้วในเวลาต่อมาเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2539 ศาลชั้นต้นได้มีคำสั่งว่าสำนวนคดีอาญาดังกล่าวเป็นพยานหลักฐานซึ่งเกี่ยวกับประเด็นข้อสำคัญในคดี เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ให้รับบัญชีพยานเพิ่มเติมฉบับดังกล่าวของโจทก์และให้นำสำนวนคดีอาญาดังกล่าวมาผูกพ่วงกับคดีนี้เป็นพยานโจทก์และพยานศาล ให้ทนายความทั้งสองฝ่ายลงชื่อรับทราบคำสั่งศาลนี้ไว้ในคำแถลงฉบับนี้ ปรากฏตามท้ายคำแถลงฉบับลงวันที่ 17มิถุนายน 2539 แต่ไม่ปรากฏว่าเจ้าพนักงานศาลได้ให้ฝ่ายจำเลยลงชื่อรับทราบคำสั่งศาลดังกล่าวไว้ ดังนั้น จึงถือไม่ได้ว่าจำเลยทั้งสองทราบคำสั่งศาลชั้นต้นแล้ว แม้คำสั่งของศาลชั้นต้นดังกล่าวเป็นคำสั่งระหว่างพิจารณา แต่เมื่อจำเลยทั้งสองยังไม่ทราบคำสั่งศาลชั้นต้นดังกล่าวจึงไม่มีโอกาสที่จะโต้แย้งคำสั่งศาลชั้นต้นได้ จำเลยทั้งสองชอบที่จะอุทธรณ์โต้แย้งคำสั่งศาลชั้นต้นดังกล่าวได้ ที่ศาลอุทธรณ์ภาค 3 ไม่รับวินิจฉัยในปัญหานี้จึงไม่ชอบ
++ การที่โจทก์ยื่นบัญชีพยานโจทก์เพิ่มเติมดังกล่าว แม้จะเป็นการยื่นที่ฝ่าฝืนต่อประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 88 วรรคสาม ดังจำเลยทั้งสองฎีกา แต่การที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งรับบัญชีพยานโจทก์เพิ่มเติมด้วยเหตุผลที่ศาลชั้นต้นได้สั่งไว้นั้น ถือได้ว่าศาลชั้นต้นอาศัยอำนาจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 87(2) ให้รับฟังเป็นพยานหลักฐานได้ ซึ่งเมื่อได้พิจารณาแล้ว สำนวนคดีอาญาหมายเลขแดงที่ 662/2535 ของศาลชั้นต้น เป็นสำนวนเดียวกับคดีอาญาหมายเลขดำที่ 106/2533 ของศาลชั้นต้นที่จำเลยทั้งสองได้ระบุอ้างไว้ตามบัญชีพยานจำเลยฉบับลงวันที่ 21 กรกฎาคม 2536 อันดับที่ 19การยื่นบัญชีพยานโจทก์เพิ่มเติมนั้นจึงมิได้ทำให้จำเลยทั้งสองเสียเปรียบทั้งสำนวนคดีอาญาที่โจทก์อ้างเป็นพยานหลักฐานซึ่งเกี่ยวกับประเด็นข้อสำคัญในคดีจำเป็นจะต้องสืบด้วย เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมแล้วศาลชั้นต้นย่อมมีอำนาจที่จะสั่งเช่นนั้นได้ คำสั่งศาลชั้นต้นชอบแล้ว และสำนวนคดีอาญาหมายเลขแดงที่ 662/2535 ของศาลชั้นต้น ทั้งสำนวนย่อมรับฟังเป็นพยานหลักฐานได้โดยไม่จำเป็นต้องมีพยานบุคคลมาสืบประกอบอีก
++
++ ปัญหาต่อไป ศาลมีอำนาจรับฟังข้อเท็จจริงในสำนวนคดีอาญาดังกล่าวในการพิพากษาคดีส่วนแพ่งนี้หรือไม่
++ เห็นว่า คดีอาญาหมายเลขดำที่ 106/2533 เป็นคดีที่นายคลายฟ้องจำเลยทั้งสองในข้อหาร่วมกันยักยอกทรัพย์มีประเด็นโดยตรงว่า จำเลยที่ 1 ในฐานะผู้จัดการมรดกของนายคล้อยได้โอนที่ดินพิพาทมาเป็นของตนเอง แล้วโอนต่อให้จำเลยที่ 2หรือไม่ ซึ่งเป็นประเด็นโดยตรงอย่างเดียวกับข้อพิพาทในคดีแพ่งนี้แม้ในคดีแพ่งนี้โจทก์จะฟ้องคดีในฐานะผู้จัดการมรดกของนายจำรัสฟ้องจำเลยทั้งสองซึ่งถือว่าเป็นการกระทำแทนทายาทเมื่อได้ความว่าโจทก์เป็นทายาทผู้มีสิทธิรับมรดกของนายจำรัสด้วย ทั้งทรัพย์มรดกของนายคล้อยและนายจำรัสคือที่ดินพิพาทรายเดียวกับที่โจทก์ได้ฟ้องจำเลยทั้งสองในฐานะส่วนตัว ดังนั้น จึงถือได้ว่าโจทก์และจำเลยทั้งสองในคดีอาญากับโจทก์ในฐานะผู้จัดการมรดกของนายจำรัสกับจำเลยทั้งสองในคดีแพ่งเป็นคู่ความรายเดียวกัน และคดีอาญาดังกล่าวนั้นได้วินิจฉัยข้อเท็จจริงถึงที่สุดแล้ว โดยศาลฎีกาได้มีคำพิพากษาแล้วตามคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1768/2539 ดังนั้น ศาลจึงต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคำพิพากษาคดีส่วนอาญาดังกล่าวในการพิพากษาคดีส่วนแพ่งนี้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 46 ++
++ ปัญหาต่อไปจำเลยทั้งสองได้โอนที่ดินพิพาทของนายจำรัสเป็นการร่วมกันฉ้อฉลกองมรดกของนายจำรัสหรือไม่ ในปัญหานี้คดีอาญาที่จำเลยทั้งสองถูกฟ้องนั้น ได้มีคำพิพากษาถึงที่สุดว่าที่ดินพิพาทเป็นทรัพย์มรดกส่วนของนายจำรัสและนายละมัย จำเลยที่ 1 ได้จดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทมาเป็นของตนเองแต่เพียงผู้เดียว แล้วจดทะเบียนโอนให้จำเลยที่ 2นำไปจำนองต่อธนาคารกสิกรไทย สาขาสุราษฎร์ธานี เป็นการกระทำโดยทุจริตมีความผิดฐานผู้จัดการมรดกยักยอกทรัพย์ ส่วนจำเลยที่ 2ให้ยกฟ้องโจทก์ ดังนั้น ในการพิจารณาคดีแพ่งนี้ ศาลจำต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคำพิพากษาคดีส่วนอาญาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 46
++ ที่ดินพิพาทเป็นทรัพย์มรดกของนายจำรัสและนายละมัย จำเลยที่ 1 ได้จดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทมาเป็นของตนเองแต่เพียงผู้เดียวแล้วจดทะเบียนโอนให้แก่จำเลยที่ 2นำไปจำนองโดยทุจริต การกระทำของจำเลยที่ 1 จึงเป็นการยักยอกทรัพย์มรดกของนายจำรัส แม้การกระทำของจำเลยที่ 1 จะมิใช่เรื่องการฉ้อฉลตามฟ้องก็ตาม แต่ก็ไม่มีสิทธิที่จะกระทำได้ การกระทำของจำเลยที่ 1 จึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย ส่วนจำเลยที่ 2 นั้น แม้จะมีคำพิพากษาถึงที่สุดให้ยกฟ้อง และจำเลยที่ 2 รับโอนที่ดินพิพาทจากจำเลยที่ 1หลังจากจำเลยที่ 1 กระทำผิดฐานยักยอกสำเร็จแล้ว และไม่ปรากฏว่าจำเลยที่ 2 รับโอนโดยรู้ว่าจำเลยที่ 1 เบียดบังทรัพย์มรดกของนายจำรัสจึงฟังไม่ได้ว่า จำเลยที่ 2 กระทำผิดฐานรับของโจรนั้น ข้อเท็จจริงในคดีอาญาดังกล่าวย่อมผูกพันคดีแพ่งที่โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 2
++ จำเลยที่ 1 โดยทุจริตได้โอนที่ดินพิพาททรัพย์มรดกของนายจำรัสให้แก่จำเลยที่ 2ดังนั้น การรับโอนที่ดินพิพาทของจำเลยที่ 2 แม้จะมิได้รู้เห็นในการกระทำผิดของจำเลยที่ 1 ซึ่งจะถือว่าเป็นการร่วมกระทำผิดกับจำเลยที่ 1 ก็ตามแต่จำเลยที่ 1 ได้โอนที่ดินพิพาทมาเป็นของตนโดยกระทำผิดฐานยักยอกแล้วจึงโอนที่ดินพิพาทให้แก่จำเลยที่ 2 จำเลยที่ 2 รับโอนที่ดินพิพาทมาจากจำเลยที่ 1 ซึ่งไม่มีอำนาจโอนให้แก่จำเลยที่ 2 จำเลยที่ 2จึงไม่มีสิทธิยึดถือครอบครองที่ดินพิพาทได้
++ จำเลยทั้งสองฎีกาว่า คดีโจทก์ขาดอายุความมรดกและฟ้องขอให้เพิกถอนการโอนแล้ว ในปัญหานี้โจทก์ฟ้องจำเลยทั้งสองความว่า ที่ดินพิพาทเป็นทรัพย์มรดกของนายคล้อยซึ่งนายจำรัสมีสิทธิได้รับตามพินัยกรรม แต่นายจำรัสได้ถึงแก่ความตายก่อนและการจัดการมรดกของนายคล้อยยังไม่เสร็จสิ้น จำเลยที่ 1 ในฐานะผู้จัดการมรดกนายคล้อยได้จดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทให้แก่ตนเองแล้วจดทะเบียนยกให้แก่จำเลยที่ 2 ทำให้กองมรดกของนายจำรัสซึ่งมีโจทก์เป็นผู้จัดการมรดกได้รับความเสียหาย ขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนโอนมรดกนายคล้อยและสัญญาให้ที่ดินพิพาทที่จำเลยที่ 1 โอนที่ดินพิพาทอันเป็นมรดกนายคล้อยให้แก่ตนเองในขณะเป็นผู้จัดการมรดกของนายคล้อย แล้วจำเลยที่ 1โอนที่ดินพิพาทให้แก่จำเลยที่ 2 ในเวลาต่อมาโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายดังนี้เป็นการฟ้องว่าจำเลยที่ 1 กระทำผิดหน้าที่ผู้จัดการมรดกนายคล้อยทำให้มรดกของนายคล้อยที่จะตกได้แก่กองมรดกนายจำรัสซึ่งมีโจทก์เป็นผู้จัดการมรดกเสียหาย จึงเป็นคดีจัดการมรดกนายคล้อย มิใช่คดีมรดกนายคล้อยซึ่งต้องอยู่ในบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754จำเลยทั้งสองจึงไม่มีสิทธิอ้างอายุความนับตั้งแต่นายจำรัสตายขึ้นต่อสู้ได้และแม้ว่าโจทก์จะฟ้องขอให้บังคับจำเลยทั้งสองทำการจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทโดยอ้างว่าเป็นการฉ้อฉล แต่เนื้อหาของคำฟ้องนั้นมิใช่เป็นเรื่องการฉ้อฉล จึงมิใช่การฟ้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล อายุความการฟ้องคดีจึงไม่นับแต่วันรู้ถึงมูลเหตุให้เพิกถอนดังจำเลยทั้งสองฎีกาแต่กรณีตามคดีนี้เป็นเรื่องการฟ้องขอให้เพิกถอนการโอนทางทะเบียนที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์เป็นทางเสียเปรียบแก่กองมรดกของนายจำรัสซึ่งมีโจทก์เป็นผู้จัดการมรดกผู้อยู่ในฐานะอันจะให้จดทะเบียนสิทธิของตนได้ก่อนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1300 ดังนั้น โจทก์ในฐานะผู้จัดการมรดกของนายจำรัส จึงฟ้องขอให้เพิกถอนการโอนที่ดินพิพาทอันเป็นมรดกของนายคล้อยดังกล่าวได้
++ ปัญหาต่อไปโจทก์มีอำนาจฟ้องหรือไม่ ในปัญหานี้จำเลยทั้งสองฎีกาว่า ที่ดินพิพาทส่วนหนึ่งเป็นของนายละมัยในฐานะผู้รับมรดกตามพินัยกรรมของนายคล้อย โจทก์เป็นผู้จัดการมรดกของนายจำรัส คงจัดการได้เฉพาะส่วนมรดกของนายจำรัสเท่านั้น โจทก์ขอให้เพิกถอนที่ดินพิพาททั้งหมดจึงไม่ชอบนั้น ฎีกาจำเลยทั้งสองถือว่าเป็นข้อกฎหมายเรื่องอำนาจฟ้องอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้จะมิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ภาค 3 จำเลยทั้งสองชอบที่จะยกขึ้นกล่าวอ้างในศาลฎีกาได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249วรรคสอง ศาลฎีกาจึงรับวินิจฉัยให้
++ แม้ข้อเท็จจริงจะฟังเป็นยุติว่า ที่ดินพิพาทส่วนหนึ่งเป็นของนายละมัยในฐานะผู้รับมรดกตามพินัยกรรมของนายคล้อย และขณะฟ้องคดีนี้โจทก์เป็นเพียงผู้จัดการมรดกของนายจำรัสเท่านั้นก็ตาม แต่ก็ได้ความอีกว่านายจำรัสถึงแก่ความตายขณะเป็นผู้จัดการมรดกของนายคล้อย โดยนายจำรัสไม่มีบุตรและภริยา มิได้ทำพินัยกรรมไว้ทั้งที่ดินพิพาทมีชื่อนายจำรัสในฐานะผู้จัดการมรดกนายคล้อยเป็นผู้มีสิทธิครอบครอง ดังนั้น ก่อนที่นายจำรัสจะถึงแก่ความตาย นายจำรัสและนายละมัยจึงเป็นเจ้าของรวมในที่ดินพิพาทเมื่อนายจำรัสถึงแก่ความตายทายาททุกคนของนายจำรัสย่อมเป็นเจ้าของรวมในที่ดินพิพาทแทนนายจำรัสร่วมกับนายละมัยด้วย โจทก์ในฐานะผู้จัดการมรดกของนายจำรัสจึงมีสิทธิและหน้าที่เช่นเดียวกันกับทายาทของนายจำรัสที่จะจัดการเกี่ยวกับที่ดินพิพาทได้ในฐานะเจ้าของรวม ดังนั้น โจทก์จึงมีอำนาจใช้สิทธิอันเกิดแต่กรรมสิทธิ์ครอบไปถึงทรัพย์สินทั้งหมดเพื่อต่อสู้บุคคลภายนอก รวมทั้งการใช้สิทธิเรียกร้องเอาทรัพยสินคืนได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1745ประกอบมาตรา 1359 โจทก์ในฐานะผู้จัดการมรดกของนายจำรัส จึงมีอำนาจฟ้องขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทที่ไม่ชอบดังกล่าวในส่วนของนายละมัยได้ด้วย ถือว่าเป็นการใช้สิทธิป้องกันแทนกันในฐานะเจ้าของรวม ++
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3016/2543
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเสนอเรื่องต่อศาลเพื่อประเมินราคาทรัพย์ยึด มีเฉพาะกรณีทรัพย์ไม่ถูกขายและตกลงราคาไม่ได้
ตามตาราง 5 ค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดีหมายเลข 3และ 4 ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เป็นเรื่องการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมในกรณีเมื่อยึดทรัพย์สินซึ่งไม่ใช่ตัวเงินแล้วไม่มีการขาย หรือจำหน่าย กับเมื่อยึดหรืออายัดเงินหรืออายัดทรัพย์สินแล้วไม่มีการขายหรือจำหน่าย ซึ่งกำหนดว่า การคำนวณราคาทรัพย์สิน ที่ยึดหรืออายัดเพื่อเสียค่าธรรมเนียมตามหมายเลข 3 และ 4 ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีเป็นผู้กำหนด ถ้าไม่ตกลงกันให้คู่ความที่เกี่ยวข้อง เสนอเรื่องต่อศาลตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 296 นั้น จะต้องเป็นกรณีที่การยึดหรืออายัดทรัพย์สินหรือเงินดังกล่าวนั้นไม่มีการขาย หรือจำหน่ายแล้ว และไม่อาจตกลงกันในการคำนวณราคาทรัพย์สิน เพื่อเรียกเก็บค่าธรรมเนียม คู่ความที่เกี่ยวข้องจึงจะมีสิทธิเสนอเรื่องต่อศาลตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 296 ได้
การยึดทรัพย์ของจำเลยยังอยู่ในระหว่างการบังคับคดีเพื่อขายทอดตลาด ไม่ปรากฏว่าทรัพย์ของจำเลยที่เจ้าพนักงานบังคับคดี ได้ยึดไว้ไม่มีการขาย หรือจำหน่ายแล้ว จำเลยจึงไม่มีสิทธิที่จะเสนอเรื่องต่อศาลให้เพิกถอน การประเมินราคาทรัพย์ดังกล่าวของเจ้าพนักงานบังคับคดีได้ตามที่บัญญัติ ไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 296 ได้
การยึดทรัพย์ของจำเลยยังอยู่ในระหว่างการบังคับคดีเพื่อขายทอดตลาด ไม่ปรากฏว่าทรัพย์ของจำเลยที่เจ้าพนักงานบังคับคดี ได้ยึดไว้ไม่มีการขาย หรือจำหน่ายแล้ว จำเลยจึงไม่มีสิทธิที่จะเสนอเรื่องต่อศาลให้เพิกถอน การประเมินราคาทรัพย์ดังกล่าวของเจ้าพนักงานบังคับคดีได้ตามที่บัญญัติ ไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 296 ได้