พบผลลัพธ์ทั้งหมด 176 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 984/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงานและพยายามฆ่า: การกระทำความผิดร่วมกัน การใช้ดุลยพินิจศาล
คืนเกิดเหตุ ตำรวจกับพวกตามหาเรือของเจ้าทรัพย์ที่ถูกคนร้ายชิงไปพบจำเลยทั้งสองอยู่ในเรือลำหนึ่ง ตำรวจซึ่งอยู่ในเครื่องแบบแสดงตัวและบอกให้จำเลยเข้ามาหา จำเลยทั้งสองรู้ว่าเป็นตำรวจแต่ขัดขืน และได้ยิงปืนมาที่เรือตำรวจ 1 นัดกระสุนปืนถูกผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงานที่ขาแล้วจำเลยทั้งสองโดดน้ำหนีพร้อมกัน ดังนี้จำเลยทั้งสองร่วมกันกระทำผิดฐานต่อสู้ขัดขวางและพยายามฆ่าเจ้าพนักงานกับผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงานที่กระทำตามหน้าที่
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 12/2514)
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 12/2514)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 148/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน: จำเลยไม่ทราบสถานะผู้กระทำ หากไม่รู้ว่าเป็นเจ้าพนักงาน ไม่มีผิดฐานต่อสู้ขัดขวาง
เจ้าพนักงานตำรวจเข้าตรวจค้นตัวจำเลยในที่เปลี่ยวโดยไม่ได้แต่งเครื่องแบบตำรวจหรือแสดงหลักฐานให้เห็นได้ว่าตนเป็นเจ้าพนักงานตำรวจทำการตามหน้าที่ ทั้งนี้ต่างฝ่ายไม่รู้จักกันมาก่อน จำเลยไม่มีทางรู้ได้ว่าเป็นเจ้าพนักงานตำรวจ เช่นนี้ แม้จำเลยจะได้ทำการต่อสู้ชกต่อยขัดขวางมิให้เจ้าพนักงานตำรวจค้นเอาเงินทรัพย์สินใด ๆ ของจำเลยไปก็ตาม จำเลยก็หามีความผิดฐานต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงานผู้กระทำการตามหน้าที่ดังฟ้องโจทก์ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 148/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน: จำเลยไม่มีทางรู้ว่าเป็นเจ้าพนักงาน จึงไม่มีความผิด
เจ้าพนักงานตำรวจเข้าตรวจค้นตัวจำเลยในที่เปลี่ยวโดยไม่ได้แต่งเครื่องแบบตำรวจหรือแสดงหลักฐานให้เห็นได้ว่าตนเป็นเจ้าพนักงานตำรวจทำการตามหน้าที่ ทั้งนี้ต่างฝ่ายไม่รู้จักกันมาก่อนจำเลยไม่มีทางรู้ได้ว่าเป็นเจ้าพนักงานตำรวจ เช่นนี้ แม้จำเลยจะได้ทำการต่อสู้ชกต่อยขัดขวางมิให้เจ้าพนักงานตำรวจค้นเอาเงินทรัพย์สินใด ๆ ของจำเลยไปก็ตาม จำเลยก็หามีความผิดฐานต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงานผู้กระทำการตามหน้าที่ดังฟ้องโจทก์ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1916/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่าจากการทำร้ายด้วยมีด: พิจารณาจากลักษณะมีด, บาดแผล, และพฤติการณ์
มีดพกของกลางที่จำเลยใช้แทงผู้เสียหายยาวเกือบหนึ่งคืบ ใบมีดกว้างหนึ่งนิ้วฟุต ด้ามมีดเป็นด้ามงอ จำเลยได้ใช้แทงเพียงหนึ่งทีแล้วก็รีบวิ่งหนีไป มิได้แทงซ้ำลงอีกบาดแผลของผู้เสียหายกว้าง 1 เซ็นติเมตร ยาว 3 เซนติเมตร ทะลุหนังเข้าไปจดถึงกล้ามเนื้อเท่านั้นผู้เสียหายรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล 15 วันก็ออกจากโรงพยาบาลมารักษาตัวที่อนามัยอำเภออีก 7 วัน แผลก็หาย ตามลักษณะของมีดและบาดแผลที่ผู้เสียหายได้รับ ยังไม่พอที่จะฟังว่าจำเลยมีเจตนาฆ่าผู้เสียหาย จำเลยคงมีผิดฐานทำร้ายร่างกาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1916/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่าจากการแทงด้วยมีด: พิจารณาจากลักษณะมีด, บาดแผล และพฤติการณ์หลังเกิดเหตุ
มีดพกของกลางที่จำเลยใช้แทงผู้เสียหายยาวเกือบหนึ่งคืบใบมีดกว้างหนึ่งนิ้วฟุต ด้ามมีดเป็นด้ามงอ จำเลยได้ใช้แทงเพียงหนึ่งทีแล้วก็รีบวิ่งหนีไป มิได้แทงซ้ำลงอีก บาดแผลของผู้เสียหายกว้าง 1 เซ็นติเมตร ยาว 3เซ็นติเมตร ทะลุหนังเข้าไปจดถึงกล้ามเนื้อเท่านั้นผู้เสียหายรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล 15 วันก็ออกจากโรงพยาบาลมารักษาตัวที่อนามัยอำเภออีก 7 วัน แผลก็หาย ตามลักษณะของมีดและบาดแผลที่ผู้เสียหายได้รับ ยังไม่พอที่จะฟังว่าจำเลยมีเจตนาฆ่าผู้เสียหาย จำเลยคงมีผิดฐานทำร้ายร่างกาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1916/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่าจากการทำร้ายร่างกายด้วยมีด: พิจารณาจากลักษณะอาวุธและบาดแผล
มีดพกของกลางที่จำเลยใช้แทงผู้เสียหายยาวเกือบหนึ่งคืบ ใบมีดกว้างหนึ่งนิ้วฟุต ด้ามมีดเป็นด้ามงอ. จำเลยได้ใช้แทงเพียงหนึ่งทีแล้วก็รีบวิ่งหนีไป มิได้แทงซ้ำลงอีก.บาดแผลของผู้เสียหายกว้าง 1 เซ็นติเมตร ยาว 3เซ็นติเมตร ทะลุหนังเข้าไปจดถึงกล้ามเนื้อเท่านั้น.ผู้เสียหายรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล 15 วันก็ออกจากโรงพยาบาลมารักษาตัวที่อนามัยอำเภออีก 7 วัน แผลก็หาย. ตามลักษณะของมีดและบาดแผลที่ผู้เสียหายได้รับ ยังไม่พอที่จะฟังว่าจำเลยมีเจตนาฆ่าผู้เสียหาย. จำเลยคงมีผิดฐานทำร้ายร่างกาย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 162/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจับกุมและการต่อสู้: อำนาจจับกุมนอกเวลากลางวัน, ความสำคัญผิด, การใช้กำลังสมควรแก่เหตุ
ในคดีที่ข้อเท็จจริงมีเพียงว่า มีผู้แจ้งความ (ในข้อหาชิงทรัพย์) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2508 ต่อมาวันที่ 14 สิงหาคม 2508 สายลับแจ้งว่าจำเลยกลับมานอนบ้านเจ้าพนักงานจึงไปจับจำเลย เข้าจับเวลา 5.40 นาฬิกา ไม่ปรากฏว่ามีการขออนุญาตพิเศษจากผู้ว่าราชการจังหวัด หรือไม่อาจขอได้ทันเพราะเหตุใด เช่นนี้ คดีไม่พอจะฟังว่าเป็นการฉุกเฉินอย่างยิ่ง ฉะนั้น การที่เจ้าพนักงานจับจำเลยในที่รโหฐานในเวลากลางคืนจึงไม่มีอำนาจที่จะทำได้ หากจำเลยต่อสู้ จำเลยก็ไม่มีความผิดฐานต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน (ป.วิ.อ.มาตรา 96(2))
จำเลยให้การว่า ได้ทำร้ายเจ้าพนักงานจริง แต่ต่อสู้ว่า สำคัญผิดว่าเป็นคนร้ายและได้ต่อสู้เช่นนี้มาตั้งแต่ชั้นสอบสวน เมื่อพิเคราะห์การกระทำของเจ้าพนักงานที่ขึ้นไปจับจำเลยบนเรือนในเวลากลางคืนขณะจำเลยยังนอนอยู่และทันทีที่รู้ตัวจำเลยก็ลุกขึ้นสู้เช่นนี้ น่าเชื่อว่าจำเลยไม่ทันเข้าใจว่าเป็นเจ้าพนักงาน และการกระทำของจำเลยเท่าที่ได้กระทำไปนั้น (มีดฟัน 1 ที) ก็พอสมควรแก่เหตุ จำเลยจึงไม่มีความผิด (ป.อาญา มาตรา 68)
จำเลยให้การว่า ได้ทำร้ายเจ้าพนักงานจริง แต่ต่อสู้ว่า สำคัญผิดว่าเป็นคนร้ายและได้ต่อสู้เช่นนี้มาตั้งแต่ชั้นสอบสวน เมื่อพิเคราะห์การกระทำของเจ้าพนักงานที่ขึ้นไปจับจำเลยบนเรือนในเวลากลางคืนขณะจำเลยยังนอนอยู่และทันทีที่รู้ตัวจำเลยก็ลุกขึ้นสู้เช่นนี้ น่าเชื่อว่าจำเลยไม่ทันเข้าใจว่าเป็นเจ้าพนักงาน และการกระทำของจำเลยเท่าที่ได้กระทำไปนั้น (มีดฟัน 1 ที) ก็พอสมควรแก่เหตุ จำเลยจึงไม่มีความผิด (ป.อาญา มาตรา 68)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 162/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจับกุมและการต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน: อำนาจการจับกุมและการป้องกันตัวตามกฎหมาย
ในคดีที่ข้อเท็จจริงมีเพียงว่า มีผู้แจ้งความ (ในข้อหาชิงทรัพย์)เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2508 ต่อมาวันที่ 14 สิงหาคม 2508 สายลับแจ้งว่าจำเลยกลับมานอนบ้านเจ้าพนักงานจึงไปจับจำเลยเข้าจับเวลา 5.40 นาฬิกา ไม่ปรากฏว่ามีการขออนุญาตพิเศษจากผู้ว่าราชการจังหวัดหรือไม่อาจขอได้ทันเพราะเหตุใด เช่นนี้คดีไม่พอจะฟังว่าเป็นการฉุกเฉินอย่างยิ่งฉะนั้น การที่เจ้าพนักงานจับจำเลยในที่รโหฐานในเวลากลางคืนจึงไม่มีอำนาจที่จะทำได้หากจำเลยต่อสู้จำเลยก็ไม่มีความผิดฐานต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 96(2))
จำเลยให้การว่า ได้ทำร้ายเจ้าพนักงานจริง แต่ต่อสู้ว่า สำคัญผิดว่าเป็นคนร้ายและได้ต่อสู้เช่นนี้มาตั้งแต่ชั้นสอบสวนเมื่อพิเคราะห์การกระทำของเจ้าพนักงานที่ขึ้นไปจับจำเลยบนเรือนในเวลากลางคืนขณะจำเลยยังนอนอยู่และทันทีที่รู้ตัวจำเลยก็ลุกขึ้นสู้เช่นนี้ น่าเชื่อว่าจำเลยไม่ทันเข้าใจว่าเป็นเจ้าพนักงาน และการกระทำของจำเลยเท่าที่ได้กระทำไปนั้น (มีดฟัน 1 ที) ก็พอสมควรแก่เหตุ จำเลยจึงไม่มีความผิด (ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 68)
จำเลยให้การว่า ได้ทำร้ายเจ้าพนักงานจริง แต่ต่อสู้ว่า สำคัญผิดว่าเป็นคนร้ายและได้ต่อสู้เช่นนี้มาตั้งแต่ชั้นสอบสวนเมื่อพิเคราะห์การกระทำของเจ้าพนักงานที่ขึ้นไปจับจำเลยบนเรือนในเวลากลางคืนขณะจำเลยยังนอนอยู่และทันทีที่รู้ตัวจำเลยก็ลุกขึ้นสู้เช่นนี้ น่าเชื่อว่าจำเลยไม่ทันเข้าใจว่าเป็นเจ้าพนักงาน และการกระทำของจำเลยเท่าที่ได้กระทำไปนั้น (มีดฟัน 1 ที) ก็พอสมควรแก่เหตุ จำเลยจึงไม่มีความผิด (ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 68)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 91/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การใช้ให้ผู้อื่นกระทำผิดและขัดขวางเจ้าพนักงาน ศาลฎีกามีอำนาจปรับบทและกำหนดโทษตามความเหมาะสม
ขณะที่ตำรวจเข้าจับกุมและแย่งปืนกับจำเลยที่ 1 อยู่นั้น จำเลยที่ 2 เข้าช่วยแย่งปืนจากตำรวจ เมื่อตำรวจจับจำเลยที่ 2 ได้จำเลยที่ 2 ได้ร้องบอกให้จำเลยที่ 1 ขว้างระเบิดมือใส่ตำรวจดังนี้ จำเลยที่ 2 มีความผิดฐานต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงานกระทงหนึ่ง และใช้ให้ฆ่าเจ้าพนักงานอีกกระทงหนึ่ง
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 2 บอกให้จำเลยที่ 1 เอาลูกระเบิดมือขว้างเจ้าพนักงาน ก็เท่ากับโจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 2 ใช้ให้จำเลยที่ 1 เอาลูกระเบิดมือขว้างเจ้าพนักงานเพื่อจะฆ่าให้ตาย (แม้โจทก์จะไม่ได้อ้างมาตรา 84 มาในคำขอท้ายฟ้องก็ตาม)ถือได้ว่าโจทก์ประสงค์ให้ลงโทษจำเลยที่ 2 ฐานเป็นผู้ใช้แล้ว
จำเลยที่ 2 ให้จำเลยที่ 1 ฆ่าเจ้าพนักงาน แต่จำเลยที่ 1 ไม่กระทำตามจำเลยที่ 2 จึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 84 วรรค 2 ซึ่งต้องระวางโทษ 1 ใน 3 ของโทษประหารชีวิตกฎหมายไม่ได้บัญญัติโทษ 1 ใน 3 ของโทษประหารชีวิตไว้ จึงต้องนำประมวลกฎหมายอาญามาตรา 52(1) มาใช้เป็นหลักในการกำหนดโทษ กล่าวคือ ให้ลดโทษประหารชีวิตเสีย 1 ใน 3 ก่อน คงเหลือโทษเพียง 2 ใน 3 โดยให้จำคุกขั้นต่ำ 16 ปี แล้วคำนวณเอาเพียงครึ่งหนึ่งของอัตราโทษ 2 ใน 3 ผลลัพธ์ก็คือ ลงโทษจำคุกจำเลยมีกำหนด 8 ปี
โจทก์ไม่ได้ฎีกาในทำนองขอให้เพิ่มโทษ ศาลฎีกาจะพิพากษาเพิ่มโทษจำเลยให้หนักขึ้นหาได้ไม่
ศาลล่างปรับบทกฎหมายไม่ถูกต้อง แม้โจทก์จะไม่ได้ฎีกาขึ้นมาก็ตามศาลฎีกามีอำนาจพิพากษาปรับบทกฎหมายให้ถูกต้องได้
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 30/2509)
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 2 บอกให้จำเลยที่ 1 เอาลูกระเบิดมือขว้างเจ้าพนักงาน ก็เท่ากับโจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 2 ใช้ให้จำเลยที่ 1 เอาลูกระเบิดมือขว้างเจ้าพนักงานเพื่อจะฆ่าให้ตาย (แม้โจทก์จะไม่ได้อ้างมาตรา 84 มาในคำขอท้ายฟ้องก็ตาม)ถือได้ว่าโจทก์ประสงค์ให้ลงโทษจำเลยที่ 2 ฐานเป็นผู้ใช้แล้ว
จำเลยที่ 2 ให้จำเลยที่ 1 ฆ่าเจ้าพนักงาน แต่จำเลยที่ 1 ไม่กระทำตามจำเลยที่ 2 จึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 84 วรรค 2 ซึ่งต้องระวางโทษ 1 ใน 3 ของโทษประหารชีวิตกฎหมายไม่ได้บัญญัติโทษ 1 ใน 3 ของโทษประหารชีวิตไว้ จึงต้องนำประมวลกฎหมายอาญามาตรา 52(1) มาใช้เป็นหลักในการกำหนดโทษ กล่าวคือ ให้ลดโทษประหารชีวิตเสีย 1 ใน 3 ก่อน คงเหลือโทษเพียง 2 ใน 3 โดยให้จำคุกขั้นต่ำ 16 ปี แล้วคำนวณเอาเพียงครึ่งหนึ่งของอัตราโทษ 2 ใน 3 ผลลัพธ์ก็คือ ลงโทษจำคุกจำเลยมีกำหนด 8 ปี
โจทก์ไม่ได้ฎีกาในทำนองขอให้เพิ่มโทษ ศาลฎีกาจะพิพากษาเพิ่มโทษจำเลยให้หนักขึ้นหาได้ไม่
ศาลล่างปรับบทกฎหมายไม่ถูกต้อง แม้โจทก์จะไม่ได้ฎีกาขึ้นมาก็ตามศาลฎีกามีอำนาจพิพากษาปรับบทกฎหมายให้ถูกต้องได้
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 30/2509)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 91/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การใช้ให้ผู้อื่นกระทำความผิดทางอาญา แม้ผู้อื่นไม่ลงมือทำ ผู้ใช้ก็มีความผิดตามกฎหมาย
ขณะที่ตำรวจเข้าจับกุมและแย่งปืนกับจำเลยที่ 1 อยู่นั้น จำเลยที่ 2 เข้าช่วยแย่งปืนจากตำรวจ เมื่อตำรวจจับจำเลยที่ 2 ได้จำเลยที่ 2 ได้ร้องบอกให้จำเลยที่ 1 ขว้างระเบิดมือใส่ตำรวจ ดังนี้ จำเลยที่ 2 มีความผิดฐานต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงานกระทงหนึ่ง และใช้ให้ฆ่าเจ้าพนักงานอีกกระทงหนึ่ง
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 2 บอกให้จำเลยที่ 1 เอาลูกระเบิดมือขว้างเจ้าพนักงาน ก็เท่ากับโจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 2 ใช้ให้จำเลยที่ 1 เอาลูกระเบิดขว้างเจ้าพนักงานเพื่อจะฆ่าให้ตาย (แม้โจทก์จะไม่ได้อ้างมาตรา 84 มาในคำขอท้ายฟ้องก็ตาม) ถือได้ว่าโจทก์ประสงค์ให้ลงโทษจำเลยที่ 2 ฐานเป็นผู้ใช้แล้ว
จำเลยที่ 2 ให้จำเลยที่ 1 ฆ่าเจ้าพนักงาน แต่จำเลยที่ 1 ไม่กระทำตามจำเลยที่ 2 จึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 84 วรรค 2 ซึ่งต้องระวางโทษ 1 ใน 3 ของโทษประหารชีวิต กฎหมายไม่ได้บัญญัติโทษ 1 ใน 3 ของโทษประหารชีวิตไว้ จึงต้องนำประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 52 (1) มาใช้เป็นหลักฐานในการกำหนดโทษ กล่าวคือ ให้ลดโทษประหารชีวิตเสีย 1 ใน 3 ก่อน คงเหลือโทษเพียง 2 ใน 3 โดยให้จำคุกขั้นต่ำ 16 ปี แล้วคำนวณเอาเพียงครึ่งหนึ่งของอัตราโทษ 2 ใน 3 ผลลัพธ์ก็คือ ลงโทษจำคุกจำเลยมีกำหนด 8 ปี
โจทก์ไม่ได้ฎีกาในทำนองขอให้เพิ่มโทษ ศาลฎีกาจะพิพากษาเพิ่มโทษจำเลยให้หนักขึ้นหาได้ไม่
ศาลล่างปรับบทกฎหมายไม่ถูกต้อง แม้โจทก์จะไม่ได้ฎีกาขึ้นมาก็ตาม ศาลฎีกามีอำนาจพิพากษาปรับบทกฎหมายให้ถูกต้องได้
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 30/2509)
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 2 บอกให้จำเลยที่ 1 เอาลูกระเบิดมือขว้างเจ้าพนักงาน ก็เท่ากับโจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 2 ใช้ให้จำเลยที่ 1 เอาลูกระเบิดขว้างเจ้าพนักงานเพื่อจะฆ่าให้ตาย (แม้โจทก์จะไม่ได้อ้างมาตรา 84 มาในคำขอท้ายฟ้องก็ตาม) ถือได้ว่าโจทก์ประสงค์ให้ลงโทษจำเลยที่ 2 ฐานเป็นผู้ใช้แล้ว
จำเลยที่ 2 ให้จำเลยที่ 1 ฆ่าเจ้าพนักงาน แต่จำเลยที่ 1 ไม่กระทำตามจำเลยที่ 2 จึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 84 วรรค 2 ซึ่งต้องระวางโทษ 1 ใน 3 ของโทษประหารชีวิต กฎหมายไม่ได้บัญญัติโทษ 1 ใน 3 ของโทษประหารชีวิตไว้ จึงต้องนำประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 52 (1) มาใช้เป็นหลักฐานในการกำหนดโทษ กล่าวคือ ให้ลดโทษประหารชีวิตเสีย 1 ใน 3 ก่อน คงเหลือโทษเพียง 2 ใน 3 โดยให้จำคุกขั้นต่ำ 16 ปี แล้วคำนวณเอาเพียงครึ่งหนึ่งของอัตราโทษ 2 ใน 3 ผลลัพธ์ก็คือ ลงโทษจำคุกจำเลยมีกำหนด 8 ปี
โจทก์ไม่ได้ฎีกาในทำนองขอให้เพิ่มโทษ ศาลฎีกาจะพิพากษาเพิ่มโทษจำเลยให้หนักขึ้นหาได้ไม่
ศาลล่างปรับบทกฎหมายไม่ถูกต้อง แม้โจทก์จะไม่ได้ฎีกาขึ้นมาก็ตาม ศาลฎีกามีอำนาจพิพากษาปรับบทกฎหมายให้ถูกต้องได้
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 30/2509)