พบผลลัพธ์ทั้งหมด 32 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 507/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของหุ้นส่วนและทายาทในหนี้ภาษีจากการประเมินที่ชอบด้วยกฎหมายและการคำนวณเงินเพิ่มภาษีที่ถูกต้อง
ประมวลรัษฎากรมาตรา 56 วรรคสองบัญญัติไว้เพื่อให้มีผู้รับผิดชอบในการยื่นรายการเกี่ยวกับเงินได้พึงประเมินและเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือคณะบุคคลห้างหุ้นส่วนสามัญ จ. มีหุ้นส่วน 2 คน คือ ห. กับจำเลยที่ 1เมื่อ ห. ตาย จึงเป็นหน้าที่ของจำเลยที่ 1 ที่จะต้องยื่นรายการเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในนามของห้างหุ้นส่วนสำหรับปีภาษีนั้น เมื่อจำเลยที่ 1 ไม่ยื่นรายการเพื่อเสียภาษีและเจ้าพนักงานประเมินได้แจ้งการประเมินไปยังจำเลยที่ 1 แล้วแม้จะมิได้แจ้งการประเมินภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาต่อทายาทของ ห. ก็ไม่ทำให้การประเมินเสียไป ในกรณีที่ห้างหุ้นส่วนหรือคณะบุคคลที่ไม่ใช่นิติบุคคล เลิกกันโดยไม่มีการชำระบัญชี ผู้เป็นหุ้นส่วนและบุคคลผู้มีอำนาจจัดการมีหน้าที่ร่วมกันยื่นแบบแสดงรายการการค้า ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 77 และ 84 ฉ.วรรค เมื่อ ห. ผู้เป็นหุ้นส่วนตายเป็นเหตุให้ห้างหุ้นส่วนเลิกกันตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1055(5) และไม่มีการชำระบัญชี จำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นหุ้นส่วนที่เหลือต้องทำหน้าที่เป็นตัวแทนห้างหุ้นส่วนในการเสียภาษี การที่เจ้าพนักงานประเมินแจ้งการประเมินภาษีการค้าของห้างหุ้นส่วนต่อจำเลยที่ 1 จึงชอบด้วยประมวลรัษฎากร มาตรา 88 ผู้เป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญทุกคนต้องร่วมกันรับผิดในหนี้ค่าภาษีอากรของห้างหุ้นส่วนโดยไม่มีจำกัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1025 เมื่อ ห.ผู้เป็นหุ้นส่วนคนหนึ่งตาย ทายาทผู้รับมรดกของ ห. ต้องร่วมกับจำเลยที่ 1 รับผิดในหนี้ค่าภาษีอากรดังกล่าวด้วย การคำนวณเงินเพิ่มภาษีการค้าตามประมวลรัษฎากร มาตรา 89 ทวิต้องเริ่มนับเมื่อพ้น 15 วัน ถัดจากเดือนภาษี ทั้งเงินเพิ่มดังกล่าวจะต้องไม่เกินกว่าจำนวนภาษีที่ต้องชำระโดยไม่รวมเบี้ยปรับการที่ศาลพิพากษาให้จำเลยรับผิดชำระเงินเพิ่มตามมาตรา 89 ทวิดังกล่าวเกินกว่าที่กฎหมายกำหนดไว้ เป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย แม้ไม่มีคู่ความฝ่ายใดกล่าวอ้าง ศาลฎีกามีอำนาจแก้ไขให้ถูกต้องได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 507/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของหุ้นส่วน/ทายาทในหนี้ภาษีของห้างหุ้นส่วน/คณะบุคคลที่ไม่ใช่นิติบุคคล และการคำนวณเงินเพิ่มภาษีที่ถูกต้อง
ประมวลรัษฎากรมาตรา56วรรคสองบัญญัติไว้เพื่อให้มีผู้รับผิดชอบในการยื่นรายการเกี่ยวกับเงินได้พึงประเมินและเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลห้างหุ้นส่วนสามัญ จ. มีหุ้นส่วน2คนคือ ห. กับจำเลยที่1เมื่อ ห. ตายจึงเป็นหน้าที่ของจำเลยที่1ที่จะต้องยื่นรายการเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในนามของห้างหุ้นส่วนสำหรับปีภาษีนั้นเมื่อจำเลยที่1ไม่ยื่นรายการเพื่อเสียภาษีและเจ้าพนักงานประเมินได้แจ้งการประเมินไปยังจำเลยที่1แล้วแม้จะมิได้แจ้งการประเมินภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาต่อทายาทของห. ก็ไม่ทำให้การประเมินเสียไป ในกรณีที่ห้างหุ้นส่วนหรือคณะบุคคลที่ไม่ใช่นิติบุคคลเลิกกันโดยไม่มีการชำระบัญชีผู้เป็นหุ้นส่วนและบุคคลผู้มีอำนาจจัดการมีหน้าที่ร่วมกันยื่นแบบแสดงรายการการค้าตามประมวลรัษฎากรมาตรา77และ84ฉวรรคสองเมื่อ ห.ผู้เป็นหุ้นส่วนตายเป็นเหตุให้ห้างหุ้นส่วนเลิกกันตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1055(5)และไม่มีการชำระบัญชีจำเลยที่1ซึ่งเป็นหุ้นส่วนที่เหลือต้องทำหน้าที่เป็นตัวแทนห้างหุ้นส่วนในการเสียภาษีการที่เจ้าพนักงานประเมินแจ้งการประเมินภาษีการค้าของห้างหุ้นส่วนต่อจำเลยที่1จึงชอบด้วยประมวลรัษฎากรมาตรา88 ผู้เป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญทุกคนต้องร่วมกันรับผิดในหนี้ค่าภาษีอากรของห้างหุ้นส่วนโดยไม่มีจำกัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1025เมื่อ ห. ผู้เป็นหุ้นส่วนคนหนึ่งตายทายาทผู้รับมรดกของ ห. ต้องร่วมกับจำเลยที่1รับผิดในหนี้ค่าภาษีอากรดังกล่าวด้วย การคำนวณเงินเพิ่มภาษีการค้าตามประมวลรัษฎากรมาตรา89ทวิต้องเริ่มนับเมื่อพ้น15วันถัดจากเดือนภาษีทั้งเงินเพิ่มดังกล่าวจะต้องไม่เกินกว่าจำนวนภาษีที่ต้องชำระโดยไม่รวมเบี้ยปรับการที่ศาลพิพากษาให้จำเลยรับผิดชำระเงินเพิ่มตามมาตรา89ทวิดังกล่าวเกินกว่าที่กฎหมายกำหนดไว้เป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยแม้ไม่มีคู่ความฝ่ายใดกล่าวอ้างศาลฎีกามีอำนาจแก้ไขให้ถูกต้องได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 507/2532 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของหุ้นส่วน/ทายาทในหนี้ภาษี, การประเมินภาษีที่ถูกต้อง, และขอบเขตการคำนวณเงินเพิ่มภาษี
ป.รัษฎากร มาตรา 56 วรรคสอง บัญญัติไว้เพื่อให้มีผู้รับผิดชอบในการยื่นรายการเกี่ยวกับเงินได้พึงประเมินและเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคล ห้างหุ้นส่วนสามัญ จ. มีหุ้นส่วน 2 คน คือ ห. กับจำเลยที่ 2 เมื่อ ห. ตายจึงเป็นหน้าที่ของจำเลยที่ 1 ที่จะต้องยื่นรายการเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในนามของห้างหุ้นส่วนสำหรับปีภาษีนั้น เมื่อจำเลยที่ 1 ไม่ยื่นรายการเพื่อเสียภาษีและเจ้าพนักงานประเมินได้แจ้งการประเมินไปยังจำเลยที่ 1 แล้ว แม้จะมิได้แจ้งการประเมินภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาต่อทายาทของ ห. ก็ไม่ทำให้การประเมินเสียไป
ในกรณีที่ห้างหุ้นส่วนหรือคณะบุคคลที่ไม่ใช่นิติบุคคลเลิกกันโดยไม่มีการชำระบัญชีผู้เป็นหุ้นส่วนและบุคคลผู้มีอำนาจจัดการมีหน้าที่ร่วมกันยื่นแบบแสดงรายการการค้าตามป.รัษฎากร มาตรา 77 และ 84 ฉวรรคสองเมื่อห.ผู้เป็นหุ้นส่วนตายเป็นเหตุให้ห้างหุ้นส่วนเลิกกันตามป.พ.พ. มาตรา 1055(5) และไม่มีการชำระบัญชี จำเลยที่ 1ซึ่งเป็นหุ้นส่วนที่เหลือต้องทำหน้าที่เป็นตัวแทนห้างหุ้นส่วนในการเสียภาษี การที่เจ้าพนักงานประเมินแจ้งการประเมินภาษีการค้าของห้างหุ้นส่วนต่อจำเลยที่ 1จึงชอบด้วย ป.รัษฎากร มาตรา 88
ผู้เป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญทุกคนต้องร่วมกันรับผิดในหนี้ค่าภาษีอากรของห้างหุ้นส่วนโดยไม่มีจำกัดตาม ป.พ.พ. มาตรา 1025 เมื่อ ห. ผู้เป็นหุ้นส่วนคนหนึ่งตายทายาทผู้รับมรดกของ ห. ต้องร่วมกับจำเลยที่ 1 รับผิดในหนี้ค่าภาษีอากรดังกล่าวด้วย
การคำนวณเงินเพิ่มภาษีการค้าตาม ป.รัษฎากร มาตรา 89 ทวิต้องเริ่มนับเมื่อพ้น 15 วัน ถัดจากเดือนภาษี ทั้งเงินเพิ่มดังกล่าวจะต้องไม่เกินกว่าจำนวนภาษีที่ต้องชำระโดยไม่รวมเบี้ยปรับ การที่ศาลภาษีอากรกลางพิพากษาให้จำเลยรับผิดชำระเงินเพิ่มตามมาตรา 89 ทวิ ดังกล่าวเกินกว่าที่กฎหมายกำหนดไว้ เป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยแม้ไม่มีคู่ความฝ่ายใดยกขึ้นอ้าง ศาลฎีกามีอำนาจแก้ไขให้ถูกต้องได้.
ในกรณีที่ห้างหุ้นส่วนหรือคณะบุคคลที่ไม่ใช่นิติบุคคลเลิกกันโดยไม่มีการชำระบัญชีผู้เป็นหุ้นส่วนและบุคคลผู้มีอำนาจจัดการมีหน้าที่ร่วมกันยื่นแบบแสดงรายการการค้าตามป.รัษฎากร มาตรา 77 และ 84 ฉวรรคสองเมื่อห.ผู้เป็นหุ้นส่วนตายเป็นเหตุให้ห้างหุ้นส่วนเลิกกันตามป.พ.พ. มาตรา 1055(5) และไม่มีการชำระบัญชี จำเลยที่ 1ซึ่งเป็นหุ้นส่วนที่เหลือต้องทำหน้าที่เป็นตัวแทนห้างหุ้นส่วนในการเสียภาษี การที่เจ้าพนักงานประเมินแจ้งการประเมินภาษีการค้าของห้างหุ้นส่วนต่อจำเลยที่ 1จึงชอบด้วย ป.รัษฎากร มาตรา 88
ผู้เป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญทุกคนต้องร่วมกันรับผิดในหนี้ค่าภาษีอากรของห้างหุ้นส่วนโดยไม่มีจำกัดตาม ป.พ.พ. มาตรา 1025 เมื่อ ห. ผู้เป็นหุ้นส่วนคนหนึ่งตายทายาทผู้รับมรดกของ ห. ต้องร่วมกับจำเลยที่ 1 รับผิดในหนี้ค่าภาษีอากรดังกล่าวด้วย
การคำนวณเงินเพิ่มภาษีการค้าตาม ป.รัษฎากร มาตรา 89 ทวิต้องเริ่มนับเมื่อพ้น 15 วัน ถัดจากเดือนภาษี ทั้งเงินเพิ่มดังกล่าวจะต้องไม่เกินกว่าจำนวนภาษีที่ต้องชำระโดยไม่รวมเบี้ยปรับ การที่ศาลภาษีอากรกลางพิพากษาให้จำเลยรับผิดชำระเงินเพิ่มตามมาตรา 89 ทวิ ดังกล่าวเกินกว่าที่กฎหมายกำหนดไว้ เป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยแม้ไม่มีคู่ความฝ่ายใดยกขึ้นอ้าง ศาลฎีกามีอำนาจแก้ไขให้ถูกต้องได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1367/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษีโดยชอบด้วยกฎหมาย แม้ส่งหมายเรียกที่ตู้ไปรษณีย์ และโจทก์ทราบแล้ว ย่อมไม่อุทธรณ์ได้
เจ้าพนักงานประเมินมีหมายเรียกถึงโจทก์รวม 2 ครั้งโดยส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ แจ้งให้โจทก์ไปให้ถ้อยคำชี้แจงประกอบการตรวจสอบไต่สวน และให้โจทก์ส่งมอบบัญชีพร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบการลงบัญชีไปให้เจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบด้วย พนักงานไปรษณีย์มิได้นำส่งหมายเรียกยังภูมิลำเนาของโจทก์ แต่นำไปส่งไว้ที่ตู้ไปรษณีย์ซึ่งโจทก์เช่าไว้ โจทก์ให้พนักงานของโจทก์ไปรับหมายเรียกดังกล่าวมาโดยถูกต้อง ถือได้ว่าโจทก์ทราบหมายเรียกของจำเลยโดยชอบแล้ว โจทก์จะอ้างว่าการส่งหมายเรียกไม่ถูกต้อง และถือเป็นเหตุไม่ปฏิบัติตามหมายเรียกของจำเลยหาได้ไม่ ดังนั้นการที่โจทก์มิได้ปฏิบัติตามหมายเรียกของจำเลยโดยไม่มีเหตุอันสมควร เจ้าพนักงานของจำเลยจึงมีอำนาจประเมินเงินภาษีอากรตามที่รู้เห็นว่าถูกต้อง และแจ้งจำนวนเงินซึ่งต้องชำระไปยังโจทก์ได้ และในกรณีนี้ห้ามมิให้อุทธรณ์การประเมิน ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 21, 88 ประกอบมาตรา 87 (3) เมื่อโจทก์ถูกต้องห้ามมิให้อุทธรณ์การประเมินต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ จึงทำให้โจทก์ไม่มีอำนาจที่จะอุทธรณ์ต่อศาลได้โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 960/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษีถูกต้องตามกฎหมาย แม้ส่งหมายเรียก/หนังสือแจ้งทางตู้ไปรษณีย์ และโจทก์ไม่ปฏิบัติตาม
โจทก์เช่าตู้ไปรษณีย์ของที่ทำการไปรษณีย์ไว้ ซึ่งโจทก์จะต้องมารับหนังสือที่ส่งถึงโจทก์จากตู้ที่เช่านั้น เมื่อผู้จัดการของโจทก์ได้รับหมายเรียกซึ่งจำเลยส่งโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับไปจากที่ทำการไปรษณีย์นั้นแล้วถือได้ว่าเป็นการส่งหมายเรียกโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนถูกต้องชอบด้วยประมวลรัษฎากร มาตรา 8 ไม่จำต้องนำไปส่งที่สำนักงานของโจทก์
เจ้าพนักงานประเมินได้ออกหมายเรียกให้โจทก์ไปพบกับให้นำบัญชีและเอกสารหลักฐานประกอบการลงบัญชีไปส่งมอบเพื่อไต่สวนและตรวจสอบแต่โจทก์ไม่ยอมไปพบและไม่ส่งเอกสาร เจ้าพนักงานประเมินจึงมีอำนาจประเมินภาษีได้โดยไม่จำต้องไต่สวนก่อน
โจทก์ไม่ปฏิบัติตามหมายเรียกของเจ้าพนักงานประเมินเจ้าพนักงานประเมินจึงประเมินภาษีการค้าโดยใช้อำนาจตามประมวลรัษฎากรมาตรา 87(3) ประกอบด้วยมาตรา 87 ทวิ (8) กรณีจึงต้องห้ามมิให้อุทธรณ์การประเมินตามมาตรา 88
โจทก์เช่าตู้ไปรษณีย์ไว้ ในการส่งคำวินิจฉัยอุทธรณ์ให้แก่โจทก์พนักงานไปรษณีย์ได้เก็บคำวินิจฉัยอุทธรณ์นั้นไว้ โดยออกหนังสือแจ้งความให้โจทก์ทราบเมือ่วันที่ 3 เมษายน 2529ต่อมาโจทก์มอบให้คนของโจทก์มารับคำวินิจฉัยอุทธรณ์ไปเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2529 ซึ่งโจทก์จะต้องอุทธรณ์ต่อศาลภายใน 30วันคือภายในวันที่ 10 พฤษภาคม 2529 แต่ปรากฏว่าวันที่ 10 และ11 เป็นวันหยุดราชการ โจทก์จึงมีสิทธินำคดีมาฟ้องในวันที่12 พฤษภาคม 2529 ซึ่งเป็นวันเริ่มทำงานใหม่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 161.
เจ้าพนักงานประเมินได้ออกหมายเรียกให้โจทก์ไปพบกับให้นำบัญชีและเอกสารหลักฐานประกอบการลงบัญชีไปส่งมอบเพื่อไต่สวนและตรวจสอบแต่โจทก์ไม่ยอมไปพบและไม่ส่งเอกสาร เจ้าพนักงานประเมินจึงมีอำนาจประเมินภาษีได้โดยไม่จำต้องไต่สวนก่อน
โจทก์ไม่ปฏิบัติตามหมายเรียกของเจ้าพนักงานประเมินเจ้าพนักงานประเมินจึงประเมินภาษีการค้าโดยใช้อำนาจตามประมวลรัษฎากรมาตรา 87(3) ประกอบด้วยมาตรา 87 ทวิ (8) กรณีจึงต้องห้ามมิให้อุทธรณ์การประเมินตามมาตรา 88
โจทก์เช่าตู้ไปรษณีย์ไว้ ในการส่งคำวินิจฉัยอุทธรณ์ให้แก่โจทก์พนักงานไปรษณีย์ได้เก็บคำวินิจฉัยอุทธรณ์นั้นไว้ โดยออกหนังสือแจ้งความให้โจทก์ทราบเมือ่วันที่ 3 เมษายน 2529ต่อมาโจทก์มอบให้คนของโจทก์มารับคำวินิจฉัยอุทธรณ์ไปเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2529 ซึ่งโจทก์จะต้องอุทธรณ์ต่อศาลภายใน 30วันคือภายในวันที่ 10 พฤษภาคม 2529 แต่ปรากฏว่าวันที่ 10 และ11 เป็นวันหยุดราชการ โจทก์จึงมีสิทธินำคดีมาฟ้องในวันที่12 พฤษภาคม 2529 ซึ่งเป็นวันเริ่มทำงานใหม่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 161.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 42/2518 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเสียภาษีและการอุทธรณ์ หากมิได้อุทธรณ์ตามขั้นตอนที่กฎหมายกำหนด จะไม่มีสิทธิอุทธรณ์ต่อศาล
ภาษีการค้าอันเป็นภาษีอากรประเมินตามประมวลรัษฎากรมาตรา 77 ทวิซึ่งตามมาตรา 84 วรรค 2 ผู้ประกอบการค้าในการนำสินค้าเข้ามาในราชอาณาจักรต้องยื่นแบบแสดงรายการการค้าตามแบบที่อธิบดีกำหนด ทุกครั้งนั้น เจ้าพนักงานประเมินเป็นผู้ประเมินตามรายการที่ยื่นเพื่อเสียภาษีอากรนั้นแล้วแจ้งจำนวนภาษีอากรที่ประเมินไป ยังผู้ต้องเสียภาษีอากรตามมาตรา 18 หากผู้ประกอบการค้ามิได้ยื่นแบบแสดงรายการการค้า เจ้าพนักงานประเมินก็มีอำนาจประเมินภาษีได้เองตามมาตรา 87(1) และต้องแจ้งการประเมินไปยังผู้ประกอบการค้าตามมาตรา 88 เมื่อได้มีการประเมินภาษีอากรและแจ้งการประเมินไปยังผู้ประกอบการค้าแล้วผู้ประกอบการค้ามีสิทธิที่จะอุทธรณ์การประเมินได้ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 18, 88 การอุทธรณ์นั้นให้อุทธรณ์ตามแบบที่อธิบดีกำหนด และอุทธรณ์ได้ภายในกำหนด 30 วันตามมาตรา 30 เมื่อไม่พอใจคำวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์จึงจะมีสิทธิอุทธรณ์ต่อศาลได้ตามมาตรา 30(2) โจทก์สั่งเครื่องอะไหล่ของเครื่องจักรจากต่างประเทศเข้ามาเพื่อใช้แทนของเก่าเมื่อชำรุด ได้ยื่นแบบแสดงรายการการค้าและได้ชำระเงินค่าภาษีการค้าและภาษีบำรุงเทศบาลแก่จำเลยไปแล้ว แต่โจทก์เห็นว่าสินค้าที่นำเข้ามานั้นเป็นส่วนประกอบของเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิตสินค้าของโจทก์เอง ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีการค้าและภาษีบำรุงเทศบาลตามมาตรา 79 ตรี (11) จึงได้ยื่นหนังสือต่อจำเลยขอเงินค่าภาษีอากรนั้นคืน จำเลยยังมิได้พิจารณาดังนี้แม้เป็นกรณีที่อ้างว่าได้รับยกเว้นตามประมวลรัษฎากรก็ตาม เมื่อเจ้าพนักงานประเมินได้ประเมินให้เสียภาษีอากรและแจ้งให้โจทก์ทราบแล้ว โจทก์ก็ต้องอุทธรณ์ตามขั้นตอนที่ บัญญัติไว้ในประมวลรัษฎากร เมื่อโจทก์มิได้ยื่นอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ โจทก์จึงไม่มีสิทธิอุทธรณ์ต่อศาล
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 42/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเสียภาษีและการอุทธรณ์: ผู้เสียภาษีต้องอุทธรณ์ตามขั้นตอนก่อนฟ้องคดี แม้ได้รับยกเว้นภาษี
ภาษีการค้าอันเป็นภาษีอากรประเมินตามประมวลรัษฎากร มาตรา 77 ทวิ ซึ่งตามมาตรา 84 วรรค 2 ผู้ประกอบการค้าในการนำสินค้าเข้ามาในราชอาณาจักรต้องยื่นแบบแสดงรายการการค้าตามแบบที่อธิบดีกำหนดทุกครั้งนั้น เจ้าพนักงานประเมินเป็นผู้ประเมินตามรายการที่ยื่นเพื่อเสียภาษีอากรนั้นแล้วแจ้งจำนวนภาษีอากรที่ประเมินไปยังผู้ต้องเสียภาษีอากรตามมาตรา18 หากผู้ประกอบการค้ามิได้ยื่นแบบแสดงรายการการค้าเจ้าพนักงานประเมินก็มีอำนาจประเมินภาษีได้เองตามมาตรา 87(1) และต้องแจ้งการประเมินไปยังผู้ประกอบการค้าตามมาตรา 88 เมื่อได้มีการประเมินภาษีอากรและแจ้งการประเมินไปยังผู้ประกอบการค้าแล้ว ผู้ประกอบการค้ามีสิทธิที่จะอุทธรณ์การประเมินได้ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 18,88 การอุทธรณ์นั้นให้อุทธรณ์ตามแบบที่อธิบดีกำหนดและอุทธรณ์ได้ภายในกำหนด 30 วันตามมาตรา 30 เมื่อไม่พอใจคำวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์จึงจะมีสิทธิอุทธรณ์ต่อศาลได้ตามมาตรา 30(2) โจทก์สั่งเครื่องอะไหล่ของเครื่องจักรจากต่างประเทศเข้ามาเพื่อใช้แทนของเก่าเมื่อชำรุด ได้ยื่นแบบแสดงรายการการค้าและได้ชำระเงินค่าภาษีการค้าและภาษีบำรุงเทศบาลแก่จำเลยไปแล้ว แต่โจทก์เห็นว่าสินค้าที่นำเข้ามานั้นเป็นส่วนประกอบของเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิตสินค้าของโจทก์เอง ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีการค้าและภาษีบำรุงเทศบาลตามมาตรา 79 ตรี(11) จึงได้ยื่นหนังสือต่อจำเลยขอเงินค่าภาษีอากรนั้นคืน จำเลยยังมิได้พิจารณา ดังนี้แม้เป็นกรณีที่อ้างว่าได้รับยกเว้นตามประมวลรัษฎากรก็ตาม เมื่อเจ้าพนักงานประเมินได้ประเมินให้เสียภาษีอากรและแจ้งให้โจทก์ทราบแล้ว โจทก์ก็ต้องอุทธรณ์ตามขั้นตอนที่บัญญัติไว้ในประมวลรัษฎากร เมื่อโจทก์มิได้ยื่นอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์โจทก์จึงไม่มีสิทธิอุทธรณ์ต่อศาล
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1826/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
มูลหนี้ภาษีการค้าเกิดขึ้นเมื่อนำเข้าสินค้า แม้ยังมิได้ยื่นแบบฯ กรมสรรพากรมีสิทธิรับชำระหนี้ในฐานะเจ้าหนี้บุริมสิทธิ
จำเลยนำสินค้าเข้ามาในราชอาณาจักรตั้งแต่ปี 2507-2508 โดยมิได้ยื่นแบบแสดงรายการการค้าและชำระภาษีการค้า ตามประกาศของอธิบดีกรมสรรพากรโดยอนุมัติรัฐมนตรี ถือว่าผู้ประกอบการค้าที่เป็นผู้นำเข้าซึ่งสินค้าทุกชนิดได้ขายสินค้านั้นในวันนำเข้าในราชอาณาจักร จำเลยย่อมมีรายรับตามมูลค่าของสินค้าในวันนำเข้าในราชอาณาจักร และมีหน้าที่ต้องชำระเงินค่าภาษีการค้าทุกเดือนภาษี ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป มูลหนี้ค่าภาษีการค้าจึงเกิดขึ้นตั้งแต่เดือนภาษีที่จำเลยผู้ประกอบการค้ามีรายรับ
การที่เจ้าพนักงานประเมินทำการประเมินในภายหลัง เนื่องจากจำเลยมิได้ยื่นแบบแสดงรายการการค้า แล้วมีหนังสือแจ้งยอดเงินภาษีไปให้จำเลยชำระเงินดังกล่าวไม่ทำให้มูลหนี้ค่าภาษีการค้าเพิ่งเกิด แม้หนังสือแจ้งยอดเงินภาษีที่ประเมินจะเพิ่งมีไปยังจำเลยภายหลังจากจำเลยถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว กรมสรรพากรก็ยังมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ค่าภาษีการค้า ซึ่งมีมูลหนี้เกิดขึ้นก่อนได้
เบี้ยปรับและเงินเพิ่มซึ่งผู้ประกอบการค้าต้องเสียตามประมวลรัษฎากรถือว่าเป็นเงินภาษีด้วย
สิทธิเรียกร้องของรัฐบาลเพื่อเอาค่าภาษีอากรมีกำหนดอายุความ 10 ปี
คำขอรับชำระหนี้ของกรมสรรพากรซึ่งระบุว่าขอรับชำระหนี้ค่าภาษีอากร (ภาษีการค้า) ถือได้ว่าขอรับชำระหนี้ในฐานะเป็นเจ้าหนี้บุริมสิทธิ เพราะค่าภาษีอากรเป็นหนี้บุริมสิทธิสามัญตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 253(3) อยู่แล้ว
การที่เจ้าพนักงานประเมินทำการประเมินในภายหลัง เนื่องจากจำเลยมิได้ยื่นแบบแสดงรายการการค้า แล้วมีหนังสือแจ้งยอดเงินภาษีไปให้จำเลยชำระเงินดังกล่าวไม่ทำให้มูลหนี้ค่าภาษีการค้าเพิ่งเกิด แม้หนังสือแจ้งยอดเงินภาษีที่ประเมินจะเพิ่งมีไปยังจำเลยภายหลังจากจำเลยถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว กรมสรรพากรก็ยังมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ค่าภาษีการค้า ซึ่งมีมูลหนี้เกิดขึ้นก่อนได้
เบี้ยปรับและเงินเพิ่มซึ่งผู้ประกอบการค้าต้องเสียตามประมวลรัษฎากรถือว่าเป็นเงินภาษีด้วย
สิทธิเรียกร้องของรัฐบาลเพื่อเอาค่าภาษีอากรมีกำหนดอายุความ 10 ปี
คำขอรับชำระหนี้ของกรมสรรพากรซึ่งระบุว่าขอรับชำระหนี้ค่าภาษีอากร (ภาษีการค้า) ถือได้ว่าขอรับชำระหนี้ในฐานะเป็นเจ้าหนี้บุริมสิทธิ เพราะค่าภาษีอากรเป็นหนี้บุริมสิทธิสามัญตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 253(3) อยู่แล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1826/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภาษีการค้าเกิดขึ้นเมื่อนำเข้าสินค้า แม้ยังมิได้ยื่นแบบแสดงรายการ กรมสรรพากรมีสิทธิรับชำระหนี้ในฐานะเจ้าหนี้บุริมสิทธิ
89ตรี จำเลยนำสินค้าเข้ามาในราชอาณาจักรตั้งแต่ปี 2507-2508. โดยมิได้ยื่นแบบแสดงรายการการค้าและชำระภาษีการค้า. ตามประกาศของอธิบดีกรมสรรพากรโดยอนุมัติรัฐมนตรี. ถือว่าผู้ประกอบการค้าที่เป็นผู้นำเข้าซึ่งสินค้าทุกชนิดได้ขายสินค้านั้นในวันนำเข้าในราชอาณาจักร. จำเลยย่อมมีรายรับตามมูลค่าของสินค้าในวันนำเข้าในราชอาณาจักร. และมีหน้าที่ต้องชำระเงินค่าภาษีการค้าทุกเดือนภาษี ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป. มูลหนี้ค่าภาษีการค้าจึงเกิดขึ้นตั้งแต่เดือนภาษีที่จำเลยผู้ประกอบการค้ามีรายรับ.
การที่เจ้าพนักงานประเมินทำการประเมินในภายหลัง. เนื่องจากจำเลยมิได้ยื่นแบบแสดงรายการการค้า. แล้วมีหนังสือแจ้งยอดเงินภาษีไปให้จำเลยชำระเงินดังกล่าวไม่ทำให้มูลหนี้ค่าภาษีการค้าเพิ่งเกิด. แม้หนังสือแจ้งยอดเงินภาษีที่ประเมินจะเพิ่งมีไปยังจำเลยภายหลังจากจำเลยถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว. กรมสรรพากรก็ยังมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ค่าภาษีการค้า ซึ่งมีมูลหนี้เกิดขึ้นก่อนได้.
เบี้ยปรับและเงินเพิ่มซึ่งผู้ประกอบการค้าต้องเสียตามประมวลรัษฎากรถือว่าเป็นเงินภาษีด้วย.
สิทธิเรียกร้องของรัฐบาลเพื่อเอาค่าภาษีอากรมีกำหนดอายุความ 10 ปี.
คำขอรับชำระหนี้ของกรมสรรพากรซึ่งระบุว่าขอรับชำระหนี้ค่าภาษีอากร (ภาษีการค้า) ถือได้ว่าขอรับชำระหนี้ในฐานะเป็นเจ้าหนี้บุริมสิทธิ. เพราะค่าภาษีอากรเป็นหนี้บุริมสิทธิสามัญตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 253(3) อยู่แล้ว.
การที่เจ้าพนักงานประเมินทำการประเมินในภายหลัง. เนื่องจากจำเลยมิได้ยื่นแบบแสดงรายการการค้า. แล้วมีหนังสือแจ้งยอดเงินภาษีไปให้จำเลยชำระเงินดังกล่าวไม่ทำให้มูลหนี้ค่าภาษีการค้าเพิ่งเกิด. แม้หนังสือแจ้งยอดเงินภาษีที่ประเมินจะเพิ่งมีไปยังจำเลยภายหลังจากจำเลยถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว. กรมสรรพากรก็ยังมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ค่าภาษีการค้า ซึ่งมีมูลหนี้เกิดขึ้นก่อนได้.
เบี้ยปรับและเงินเพิ่มซึ่งผู้ประกอบการค้าต้องเสียตามประมวลรัษฎากรถือว่าเป็นเงินภาษีด้วย.
สิทธิเรียกร้องของรัฐบาลเพื่อเอาค่าภาษีอากรมีกำหนดอายุความ 10 ปี.
คำขอรับชำระหนี้ของกรมสรรพากรซึ่งระบุว่าขอรับชำระหนี้ค่าภาษีอากร (ภาษีการค้า) ถือได้ว่าขอรับชำระหนี้ในฐานะเป็นเจ้าหนี้บุริมสิทธิ. เพราะค่าภาษีอากรเป็นหนี้บุริมสิทธิสามัญตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 253(3) อยู่แล้ว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1826/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
มูลหนี้ภาษีการค้าเกิดขึ้นเมื่อใด: การประเมินภาษีและการขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลาย
จำเลยนำสินค้าเข้ามาในราชอาณาจักรตั้งแต่ปี 2507- 2508 โดยมิได้ยื่นแบบแสดงรายการการค้าและชำระภาษีการค้า ตามประกาศของอธิบดีกรมสรรพากรโดยอนุมัติรัฐมนตรี ถือว่า ผู้ประกอบการค้าที่เป็นผู้นำเข้าซึ่งสินค้าทุกชนิดได้ขาย สินค้านั้นในวันนำเข้าในราชอาณาจักร จำเลยย่อมมีรายรับตาม มูลค่าของสินค้าในวันนำเข้าในราชอาณาจักร และมีหน้าที่ต้อง ชำระเงินค่าภาษีการค้าทุกเดือนภาษี ภายในวันที่ 15 ของ เดือนถัดไป มูลหนี้ค่าภาษีการค้าจึงเกิดขึ้นตั้งแต่ เดือนภาษีที่จำเลยผู้ประกอบการค้ามีรายรับ
การที่เจ้าพนักงานประเมินทำการประเมินในภายหลัง เนื่องจาก จำเลยมิได้ยื่นแบบแสดงรายการการค้า แล้วมี หนังสือแจ้งยอดเงินภาษีไปให้จำเลยชำระเงินดังกล่าวไม่ทำให้ มูลหนี้ค่าภาษีการค้าเพิ่งเกิด แม้หนังสือแจ้งยอดเงินภาษีที่ ประเมินจะเพิ่งมีไปยังจำเลยภายหลังจากจำเลยถูกศาลสั่ง พิทักษ์ทรัพย์แล้ว กรมสรรพากรก็ยังมีสิทธิยื่น คำขอรับชำระหนี้ค่าภาษีการค้า ซึ่งมีมูลหนี้เกิดขึ้นก่อนได้
เบี้ยปรับและเงินเพิ่มซึ่งผู้ประกอบการค้าต้องเสียตาม ประมวลรัษฎากรถือว่าเป็นเงินภาษีด้วย
สิทธิเรียกร้องของรัฐบาลเพื่อเอาค่าภาษีอากรมีกำหนดอายุความ 10 ปี
คำขอรับชำระหนี้ของกรมสรรพากรซึ่งระบุว่าขอรับชำระหนี้ ค่าภาษีอากร (ภาษีการค้า) ถือได้ว่าขอรับชำระหนี้ในฐานะ เป็นเจ้าหนี้บุริมสิทธิ เพราะค่าภาษีอากรเป็น หนี้บุริมสิทธิสามัญตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 253(3) อยู่แล้ว
การที่เจ้าพนักงานประเมินทำการประเมินในภายหลัง เนื่องจาก จำเลยมิได้ยื่นแบบแสดงรายการการค้า แล้วมี หนังสือแจ้งยอดเงินภาษีไปให้จำเลยชำระเงินดังกล่าวไม่ทำให้ มูลหนี้ค่าภาษีการค้าเพิ่งเกิด แม้หนังสือแจ้งยอดเงินภาษีที่ ประเมินจะเพิ่งมีไปยังจำเลยภายหลังจากจำเลยถูกศาลสั่ง พิทักษ์ทรัพย์แล้ว กรมสรรพากรก็ยังมีสิทธิยื่น คำขอรับชำระหนี้ค่าภาษีการค้า ซึ่งมีมูลหนี้เกิดขึ้นก่อนได้
เบี้ยปรับและเงินเพิ่มซึ่งผู้ประกอบการค้าต้องเสียตาม ประมวลรัษฎากรถือว่าเป็นเงินภาษีด้วย
สิทธิเรียกร้องของรัฐบาลเพื่อเอาค่าภาษีอากรมีกำหนดอายุความ 10 ปี
คำขอรับชำระหนี้ของกรมสรรพากรซึ่งระบุว่าขอรับชำระหนี้ ค่าภาษีอากร (ภาษีการค้า) ถือได้ว่าขอรับชำระหนี้ในฐานะ เป็นเจ้าหนี้บุริมสิทธิ เพราะค่าภาษีอากรเป็น หนี้บุริมสิทธิสามัญตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 253(3) อยู่แล้ว