พบผลลัพธ์ทั้งหมด 33 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6052/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าหนี้ผู้บริหารทราบฐานะลูกหนี้ การยินยอมให้ก่อหนี้สมยอมในภาวะล้มละลาย
เจ้าหนี้ผู้ขอรับชำระหนี้เป็นกรรมการของบริษัทลูกหนี้ย่อมจะต้องทราบถึงฐานะของลูกหนี้ได้ดีว่าตกอยู่ในสภาพเช่นไรการที่เจ้าหนี้ได้รับชำระดอกเบี้ยจากตั๋วสัญญาใช้เงินแต่เพียงบางส่วนตลอดจนลูกหนี้ต้องไปกู้ยืมเงินจากที่ต่าง ๆ เพื่อนำมาพยุงฐานะของลูกหนี้ที่กำลังทรุดลงจนในที่สุดทางราชการได้มีคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาตดำเนินธุรกิจของลูกหนี้เช่นนี้ เจ้าหนี้ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องในการบริหารบริษัทลูกหนี้จะปฏิเสธว่าไม่ทราบถึงฐานะอันแท้จริงของลูกหนี้ว่ามีหนี้สินล้นพ้นตัวหาได้ไม่ ดังนั้นการที่เจ้าหนี้ได้นำเงินเข้าฝากกับลูกหนี้หลังจากที่ทราบดีว่าลูกหนี้มีหนี้สินล้นพ้นตัวแล้ว จึงต้องห้ามมิให้ขอรับชำระหนี้เงินฝากดังกล่าวตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 94(2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 881/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ลำดับการชำระหนี้ภาษีอากรในคดีล้มละลาย: เกิน 6 เดือน vs. ภายใน 6 เดือน ก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์
แม้หนีภาษีอากรจะเป็นหนี้บุริมสิทธิตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ แต่พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 ซึ่งเป็นกฎหมายพิเศษและบัญญัติขึ้นภายหลังได้กำหนดลำดับสิทธิในการที่เจ้าหนี้จะได้รับชำระหนี้ไว้ตามมาตรา 130 จึงเป็นข้อยกเว้นจากประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งเป็นกฎหมายทั่วไป ในการขอรับชำระหนี้ภาษีอากร จึงต้องถือตามพระราชบัญญัตินี้เป็นสำคัญ
ภาษีอากรถึงกำหนดชำระภายใน 6 เดือน ก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ตามพระราชบัญญัติล้มละลายฯ มาตรา 130(6) นั้นคือ ภาษีอากรที่ถึงกำหนดชำระระหว่าง 6 เดือน ก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์นั่นเอง มิได้รวมถึงภาษีอากรที่ได้ถึงกำหนดชำระเกินกว่า 6 เดือนก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์แต่อย่างใด หนี้ภาษีการค้าที่ลูกค้าติดค้างอยู่ถึงกำหนดชำระเกินกว่า 6 เดือนก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ เจ้าหนี้จึงไม่มีสิทธิขอรับชำระหนี้ตามมาตรา 130(6) คงมีสิทธิที่จะได้รับชำระหนี้ตามมาตรา 130(8) เท่านั้น
ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 84, 85 ทวิ กำหนดให้ผู้ประกอบการค้ายื่นแบบแสดงรายการการค้าแต่ละเดือนภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไปมาตรา 86 กำหนดให้ผู้มีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการการค้าชำระภาษีภายในกำหนดเวลาตามมาตรา 85 ทวิ และมาตรา 89 ทวิ วรรคสามบัญญัติว่า การคำนวณเงินเพิ่ม ฯลฯ ให้เริ่มนับเมื่อพ้นสิบห้าวันถัดจากเดือนภาษี ซึ่งหมายความว่าเงินเพิ่มนั้นจะเริ่มคิดคำนวณทันทีหลังจากที่ลูกหนี้ไม่ชำระภาษีการค้าภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป หาใช่นับแต่ภายหลังที่เจ้าหนี้ได้แจ้งการประเมินภาษีไปยังลูกหนี้ แล้วลูกหนี้ไม่ชำระภาษีภายในกำหนด 30 วัน นับแต่เจ้าหนี้แจ้งการประเมินไม่ ฉะนั้นแม้เจ้าหนี้เพิ่งแจ้งการประเมินภายหลังจากศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้แล้ว ลูกหนี้ก็ยังคงต้องรับผิดในเงินเพิ่มดังกล่าว
ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 89 ตรี บัญญัติว่า เบี้ยปรับและเงินเพิ่มให้ถือว่าเป็นเงินภาษี และมาตรา 89 ทวิ บัญญัติให้เสียเงินเพิ่มร้อยละ 1 ต่อเดือน หรือเศษของเดือนของเงินภาษีที่ต้องชำระ ฉะนั้น เงินเพิ่มที่เจ้าหนี้ขอรับชำระหนี้จึงต้องแยกพิจารณาเป็น 2 ตอน เงินเพิ่มสำหรับระยะเวลา 6 เดือนก่อนศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ รวมทั้งภาษีบำรุงเทศบาล เจ้าหนี้มีสิทธิได้รับชำระหนี้ตามพระราชบัญญัติล้มละลายฯ มาตรา 130(6) ส่วนเงินเพิ่มและภาษีบำรุงเทศบาลที่ถึงกำหนดชำระเกินกว่า 6 เดือน อยู่ในลำดับที่จะได้รับชำระหนี้ตามมาตรา 130(8)
ภาษีอากรถึงกำหนดชำระภายใน 6 เดือน ก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ตามพระราชบัญญัติล้มละลายฯ มาตรา 130(6) นั้นคือ ภาษีอากรที่ถึงกำหนดชำระระหว่าง 6 เดือน ก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์นั่นเอง มิได้รวมถึงภาษีอากรที่ได้ถึงกำหนดชำระเกินกว่า 6 เดือนก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์แต่อย่างใด หนี้ภาษีการค้าที่ลูกค้าติดค้างอยู่ถึงกำหนดชำระเกินกว่า 6 เดือนก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ เจ้าหนี้จึงไม่มีสิทธิขอรับชำระหนี้ตามมาตรา 130(6) คงมีสิทธิที่จะได้รับชำระหนี้ตามมาตรา 130(8) เท่านั้น
ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 84, 85 ทวิ กำหนดให้ผู้ประกอบการค้ายื่นแบบแสดงรายการการค้าแต่ละเดือนภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไปมาตรา 86 กำหนดให้ผู้มีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการการค้าชำระภาษีภายในกำหนดเวลาตามมาตรา 85 ทวิ และมาตรา 89 ทวิ วรรคสามบัญญัติว่า การคำนวณเงินเพิ่ม ฯลฯ ให้เริ่มนับเมื่อพ้นสิบห้าวันถัดจากเดือนภาษี ซึ่งหมายความว่าเงินเพิ่มนั้นจะเริ่มคิดคำนวณทันทีหลังจากที่ลูกหนี้ไม่ชำระภาษีการค้าภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป หาใช่นับแต่ภายหลังที่เจ้าหนี้ได้แจ้งการประเมินภาษีไปยังลูกหนี้ แล้วลูกหนี้ไม่ชำระภาษีภายในกำหนด 30 วัน นับแต่เจ้าหนี้แจ้งการประเมินไม่ ฉะนั้นแม้เจ้าหนี้เพิ่งแจ้งการประเมินภายหลังจากศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้แล้ว ลูกหนี้ก็ยังคงต้องรับผิดในเงินเพิ่มดังกล่าว
ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 89 ตรี บัญญัติว่า เบี้ยปรับและเงินเพิ่มให้ถือว่าเป็นเงินภาษี และมาตรา 89 ทวิ บัญญัติให้เสียเงินเพิ่มร้อยละ 1 ต่อเดือน หรือเศษของเดือนของเงินภาษีที่ต้องชำระ ฉะนั้น เงินเพิ่มที่เจ้าหนี้ขอรับชำระหนี้จึงต้องแยกพิจารณาเป็น 2 ตอน เงินเพิ่มสำหรับระยะเวลา 6 เดือนก่อนศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ รวมทั้งภาษีบำรุงเทศบาล เจ้าหนี้มีสิทธิได้รับชำระหนี้ตามพระราชบัญญัติล้มละลายฯ มาตรา 130(6) ส่วนเงินเพิ่มและภาษีบำรุงเทศบาลที่ถึงกำหนดชำระเกินกว่า 6 เดือน อยู่ในลำดับที่จะได้รับชำระหนี้ตามมาตรา 130(8)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 881/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ลำดับสิทธิเจ้าหนี้ภาษีอากรในคดีล้มละลาย: ภาษีที่ถึงกำหนดชำระเกิน 6 เดือนก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์
แม้หนีภาษีอากรจะเป็นหนี้บุริมสิทธิตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ แต่พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 ซึ่งเป็นกฎหมายพิเศษและบัญญัติขึ้นภายหลังได้กำหนดลำดับสิทธิในการที่เจ้าหนี้จะได้รับชำระหนี้ไว้ตามมาตรา 130 จึงเป็นข้อยกเว้นจากประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ซึ่งเป็นกฎหมายทั่วไป ในการขอรับชำระหนี้ภาษีอากร จึงต้องถือตามพระราชบัญญัตินี้เป็นสำคัญ
ภาษีอากรถึงกำหนดชำระภายใน 6 เดือน ก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ตามพระราชบัญญัติล้มละลายฯ มาตรา 130(6) นั้นคือ ภาษีอากรที่ถึงกำหนดชำระระหว่าง 6 เดือน ก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์นั่นเอง มิได้รวมถึงภาษีอากรที่ได้ถึงกำหนดชำระเกินกว่า 6 เดือนก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์แต่อย่างใด หนี้ภาษีการค้าที่ลูกค้าติดค้างอยู่ถึงกำหนดชำระเกินกว่า 6 เดือนก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ เจ้าหนี้จึงไม่มีสิทธิขอรับชำระหนี้ตามมาตรา 130(6) คงมีสิทธิที่จะได้รับชำระหนี้ตามมาตรา 130(8) เท่านั้น
ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 84, 85 ทวิ กำหนดให้ผู้ประกอบการค้ายื่นแบบแสดงรายการการค้าแต่ละเดือนภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไปมาตรา 86 กำหนดให้ผู้มีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการการค้าชำระภาษีภายในกำหนดเวลาตามมาตรา 85 ทวิ และมาตรา 89 ทวิ วรรคสามบัญญัติว่า การคำนวณเงินเพิ่ม ฯลฯ ให้เริ่มนับเมื่อพ้นสิบห้าวันถัดจากเดือนภาษี ซึ่งหมายความว่าเงินเพิ่มนั้นจะเริ่มคิดคำนวณทันทีหลังจากที่ลูกหนี้ไม่ชำระภาษีการค้าภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป หาใช่นับแต่ภายหลังที่เจ้าหนี้ได้แจ้งการประเมินภาษีไปยังลูกหนี้ แล้วลูกหนี้ไม่ชำระภาษีภายในกำหนด 30 วัน นับแต่เจ้าหนี้แจ้งการประเมินไม่ ฉะนั้นแม้เจ้าหนี้เพิ่งแจ้งการประเมินภายหลังจากศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้แล้ว ลูกหนี้ก็ยังคงต้องรับผิดในเงินเพิ่มดังกล่าว
ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 89 ตรี บัญญัติว่า เบี้ยปรับและเงินเพิ่มให้ถือว่าเป็นเงินภาษี และมาตรา 89 ทวิ บัญญัติให้เสียเงินเพิ่มร้อยละ 1 ต่อเดือน หรือเศษของเดือนของเงินภาษีที่ต้องชำระ ฉะนั้น เงินเพิ่มที่เจ้าหนี้ขอรับชำระหนี้จึงต้องแยกพิจารณาเป็น 2 ตอน เงินเพิ่มสำหรับระยะเวลา 6 เดือนก่อนศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ รวมทั้งภาษีบำรุงเทศบาล เจ้าหนี้มีสิทธิได้รับชำระหนี้ตามพระราชบัญญัติล้มละลายฯ มาตรา 130(6) ส่วนเงินเพิ่มและภาษีบำรุงเทศบาลที่ถึงกำหนดชำระเกินกว่า 6 เดือน อยู่ในลำดับที่จะได้รับชำระหนี้ตามมาตรา 130(8)
ภาษีอากรถึงกำหนดชำระภายใน 6 เดือน ก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ตามพระราชบัญญัติล้มละลายฯ มาตรา 130(6) นั้นคือ ภาษีอากรที่ถึงกำหนดชำระระหว่าง 6 เดือน ก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์นั่นเอง มิได้รวมถึงภาษีอากรที่ได้ถึงกำหนดชำระเกินกว่า 6 เดือนก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์แต่อย่างใด หนี้ภาษีการค้าที่ลูกค้าติดค้างอยู่ถึงกำหนดชำระเกินกว่า 6 เดือนก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ เจ้าหนี้จึงไม่มีสิทธิขอรับชำระหนี้ตามมาตรา 130(6) คงมีสิทธิที่จะได้รับชำระหนี้ตามมาตรา 130(8) เท่านั้น
ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 84, 85 ทวิ กำหนดให้ผู้ประกอบการค้ายื่นแบบแสดงรายการการค้าแต่ละเดือนภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไปมาตรา 86 กำหนดให้ผู้มีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการการค้าชำระภาษีภายในกำหนดเวลาตามมาตรา 85 ทวิ และมาตรา 89 ทวิ วรรคสามบัญญัติว่า การคำนวณเงินเพิ่ม ฯลฯ ให้เริ่มนับเมื่อพ้นสิบห้าวันถัดจากเดือนภาษี ซึ่งหมายความว่าเงินเพิ่มนั้นจะเริ่มคิดคำนวณทันทีหลังจากที่ลูกหนี้ไม่ชำระภาษีการค้าภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป หาใช่นับแต่ภายหลังที่เจ้าหนี้ได้แจ้งการประเมินภาษีไปยังลูกหนี้ แล้วลูกหนี้ไม่ชำระภาษีภายในกำหนด 30 วัน นับแต่เจ้าหนี้แจ้งการประเมินไม่ ฉะนั้นแม้เจ้าหนี้เพิ่งแจ้งการประเมินภายหลังจากศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้แล้ว ลูกหนี้ก็ยังคงต้องรับผิดในเงินเพิ่มดังกล่าว
ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 89 ตรี บัญญัติว่า เบี้ยปรับและเงินเพิ่มให้ถือว่าเป็นเงินภาษี และมาตรา 89 ทวิ บัญญัติให้เสียเงินเพิ่มร้อยละ 1 ต่อเดือน หรือเศษของเดือนของเงินภาษีที่ต้องชำระ ฉะนั้น เงินเพิ่มที่เจ้าหนี้ขอรับชำระหนี้จึงต้องแยกพิจารณาเป็น 2 ตอน เงินเพิ่มสำหรับระยะเวลา 6 เดือนก่อนศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ รวมทั้งภาษีบำรุงเทศบาล เจ้าหนี้มีสิทธิได้รับชำระหนี้ตามพระราชบัญญัติล้มละลายฯ มาตรา 130(6) ส่วนเงินเพิ่มและภาษีบำรุงเทศบาลที่ถึงกำหนดชำระเกินกว่า 6 เดือน อยู่ในลำดับที่จะได้รับชำระหนี้ตามมาตรา 130(8)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 41/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนี้ภาษีและการล้มละลาย: สิทธิเรียกร้องชำระหนี้เมื่อผู้ประกอบการล้มละลาย พิจารณาจากกำหนดชำระหนี้และคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์
"เงินเพิ่ม" ประมวลรัษฎากร มาตรา 89 ตรี ให้ถือว่าเป็นเงินภาษีและ ถือว่าได้เกิดขึ้นแล้วพร้อมกับหนี้ภาษีการค้า เมื่อกรมสรรพากรมีสิทธิได้รับชำระหนี้ภาษีการค้าก็ย่อมมีสิทธิได้รับชำระเงินเพิ่มด้วยแม้ว่ามูลหนี้ภาษีการค้าจะเกิดขึ้นก่อนผู้ประกอบการค้าถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์ และเจ้าพนักงานประเมินจะมิได้แจ้งการประเมินไปยังผู้ประกอบการค้าก็ตาม (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่1826/2511)
ห้างจำเลยและผู้เป็นหุ้นส่วนประเภทไม่จำกัดความรับผิด ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์และพิพากษาให้ล้มละลาย กรมสรรพากรยื่นคำขอรับชำระหนี้ค่าภาษีการค้าซึ่งห้างจำเลยค้างชำระในฐานะหนี้บุริมสิทธิ(ลำดับ 6) ศาลชั้นต้นสั่งให้ได้รับชำระหนี้จากกองทรัพย์สินของผู้เป็นหุ้นส่วนเท่านั้น เพราะกรมสรรพากรมิได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้จากกองทรัพย์สินของห้างจำเลยภายในกำหนด กรมสรรพากรมิได้อุทธรณ์โต้แย้ง การที่กรมสรรพากรจะมีสิทธิได้รับชำระหนี้ในลำดับใด ต้องถือวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ผู้เป็นหุ้นส่วนเป็นเกณฑ์พิจารณา จะถือเอาคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ห้างจำเลยซึ่งศาลชั้นต้นไม่อนุญาตให้กรมสรรพากรได้รับชำระหนี้เป็นยุติไปแล้วมาเป็นเกณฑ์หาได้ไม่ เมื่อปรากฏว่าหนี้ค่าภาษีการค้าที่ขอรับชำระหนี้ถึงกำหนดชำระเกินกว่าหกเดือนก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ผู้เป็นหุ้นส่วนกรมสรรพากรย่อมไม่มีสิทธิได้รับชำระหนี้ดังกล่าวจากกองทรัพย์สินของผู้เป็นหุ้นส่วนในลำดับ 6 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลายพ.ศ.2483มาตรา 130 คงมีสิทธิได้รับชำระหนี้ในฐานะหนี้อื่นๆ ตามลำดับ 8 เท่านั้น
ห้างจำเลยและผู้เป็นหุ้นส่วนประเภทไม่จำกัดความรับผิด ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์และพิพากษาให้ล้มละลาย กรมสรรพากรยื่นคำขอรับชำระหนี้ค่าภาษีการค้าซึ่งห้างจำเลยค้างชำระในฐานะหนี้บุริมสิทธิ(ลำดับ 6) ศาลชั้นต้นสั่งให้ได้รับชำระหนี้จากกองทรัพย์สินของผู้เป็นหุ้นส่วนเท่านั้น เพราะกรมสรรพากรมิได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้จากกองทรัพย์สินของห้างจำเลยภายในกำหนด กรมสรรพากรมิได้อุทธรณ์โต้แย้ง การที่กรมสรรพากรจะมีสิทธิได้รับชำระหนี้ในลำดับใด ต้องถือวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ผู้เป็นหุ้นส่วนเป็นเกณฑ์พิจารณา จะถือเอาคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ห้างจำเลยซึ่งศาลชั้นต้นไม่อนุญาตให้กรมสรรพากรได้รับชำระหนี้เป็นยุติไปแล้วมาเป็นเกณฑ์หาได้ไม่ เมื่อปรากฏว่าหนี้ค่าภาษีการค้าที่ขอรับชำระหนี้ถึงกำหนดชำระเกินกว่าหกเดือนก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ผู้เป็นหุ้นส่วนกรมสรรพากรย่อมไม่มีสิทธิได้รับชำระหนี้ดังกล่าวจากกองทรัพย์สินของผู้เป็นหุ้นส่วนในลำดับ 6 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลายพ.ศ.2483มาตรา 130 คงมีสิทธิได้รับชำระหนี้ในฐานะหนี้อื่นๆ ตามลำดับ 8 เท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 41/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนี้ภาษีและเงินเพิ่มในคดีล้มละลาย: สิทธิเรียกร้องและการลำดับการชำระหนี้
"เงินเพิ่ม" ประมวลรัษฎากร มาตรา 89 ตรี ให้ถือว่าเป็นเงินภาษี และ ถือว่าได้เกิดขึ้นแล้วพร้อมกับหนี้ภาษีการค้า เมื่อกรมสรรพากรมีสิทธิได้รับชำระหนี้ภาษีการค้าก็ย่อมมีสิทธิได้รับชำระเงินเพิ่มด้วย แม้ว่ามูลหนี้ภาษีการค้าจะเกิดขึ้นก่อนผู้ประกอบการค้าถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์ และเจ้าพนักงานประเมินจะมิได้แจ้งการประเมินไปยังผู้ประกอบการค้าก็ตาม (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่1826/2511)
ห้างจำเลยและผู้เป็นหุ้นส่วนประเภทไม่จำกัดความรับผิดถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์และพิพากษาให้ล้มละลาย กรมสรรพากรยื่นคำขอรับชำระหนี้ค่าภาษีการค้าซึ่งห้างจำเลยค้างชำระในฐานะหนี้บุริมสิทธิ (ลำดับ 6) ศาลชั้นต้นสั่งให้ได้รับชำระหนี้จากกองทรัพย์สินของผู้เป็นหุ้นส่วนเท่านั้น เพราะกรมสรรพากรมิได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้จากกองทรัพย์สินของห้างจำเลยภายในกำหนด กรมสรรพากรมิได้อุทธรณ์โต้แย้งการที่กรมสรรพากรจะมีสิทธิได้รับชำระหนี้ในลำดับใด ต้องถือวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ผู้เป็นหุ้นส่วนเป็นเกณฑ์พิจารณา จะถือเอาคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ห้างจำเลย ซึ่งศาลชั้นต้นไม่อนุญาตให้กรมสรรพากรได้รับชำระหนี้เป็นยุติไปแล้วมาเป็นเกณฑ์หาได้ไม่ เมื่อปรากฏว่าหนี้ค่าภาษีการค้าที่ขอรับชำระหนี้ ถึงกำหนดชำระเกินกว่าหกเดือนก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ผู้เป็นหุ้นส่วนกรมสรรพากรย่อมไม่มีสิทธิได้รับชำระหนี้ดังกล่าวจากกองทรัพย์สินของผู้เป็นหุ้นส่วนในลำดับ 6 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลายพ.ศ.2483 มาตรา 130 คงมีสิทธิได้รับชำระหนี้ในฐานะหนี้อื่นๆ ตามลำดับ 8 เท่านั้น
ห้างจำเลยและผู้เป็นหุ้นส่วนประเภทไม่จำกัดความรับผิดถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์และพิพากษาให้ล้มละลาย กรมสรรพากรยื่นคำขอรับชำระหนี้ค่าภาษีการค้าซึ่งห้างจำเลยค้างชำระในฐานะหนี้บุริมสิทธิ (ลำดับ 6) ศาลชั้นต้นสั่งให้ได้รับชำระหนี้จากกองทรัพย์สินของผู้เป็นหุ้นส่วนเท่านั้น เพราะกรมสรรพากรมิได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้จากกองทรัพย์สินของห้างจำเลยภายในกำหนด กรมสรรพากรมิได้อุทธรณ์โต้แย้งการที่กรมสรรพากรจะมีสิทธิได้รับชำระหนี้ในลำดับใด ต้องถือวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ผู้เป็นหุ้นส่วนเป็นเกณฑ์พิจารณา จะถือเอาคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ห้างจำเลย ซึ่งศาลชั้นต้นไม่อนุญาตให้กรมสรรพากรได้รับชำระหนี้เป็นยุติไปแล้วมาเป็นเกณฑ์หาได้ไม่ เมื่อปรากฏว่าหนี้ค่าภาษีการค้าที่ขอรับชำระหนี้ ถึงกำหนดชำระเกินกว่าหกเดือนก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ผู้เป็นหุ้นส่วนกรมสรรพากรย่อมไม่มีสิทธิได้รับชำระหนี้ดังกล่าวจากกองทรัพย์สินของผู้เป็นหุ้นส่วนในลำดับ 6 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลายพ.ศ.2483 มาตรา 130 คงมีสิทธิได้รับชำระหนี้ในฐานะหนี้อื่นๆ ตามลำดับ 8 เท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1055/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนี้ภาษีที่เกิดขึ้นหลังคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ ยังคงมีสิทธิขอรับชำระหนี้ได้ตาม พ.ร.บ.ล้มละลาย
เจ้าพนักงานผู้ตรวจภาษี ตรวจพบภายหลังจำเลยผู้ล้มละลายได้ยื่นรายการเสียภาษีต่ำกว่าจำนวนที่ควรต้องเสีย. จึงมีหนังสือแจ้งจำนวนเงินที่จะต้องชำระอีกไปยังจำเลยผู้ต้องเสียภาษีเพิ่มเติม. โดยอาศัยประมวลรัษฎากร มาตรา 19, 20 และ 22. ดังนี้มูลหนี้ย่อมเกิดขึ้นตั้งแต่จำเลยยื่นรายงานแสดงรายการภาษีไม่ถูกต้องครบถ้วนนั้น. เพราะเจ้าพนักงานย่อมมีสิทธิจะเรียกให้จำเลยชำระหนี้ที่เพิ่มขึ้นนั้นได้ตามกฎหมายดังกล่าวตั้งแต่บัดนั้น. เจ้าพนักงานซึ่งเป็นเจ้าหนี้จึงมีสิทธิขอรับชำระหนี้ได้ตามนัยแห่งมาตรา94 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483.
พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 130(6) ที่ว่า'ค่าภาษีอากรฯลฯที่ถึงกำหนดชำระภายใน 6 เดือน ก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์' นั้น. ไม่หมายความว่าหนี้นั้นจะต้องถึงกำหนดชำระก่อนที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เท่านั้น.แต่หมายความว่า ถ้าหนี้นั้นถึงกำหนดชำระก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว. ก็ต้องถึงกำหนดชำระภายใน 6เดือน ก่อนที่ศาลจะมีคำสั่งดังกล่าว. จึงจะเป็นหนี้ที่อยู่ในลำดับแห่งมาตรา 130(6). แต่ถ้าเป็นหนี้ค่าภาษีอากรที่ถึงกำหนดชำระภายหลังวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เช่นในคดีนี้ ที่กำหนดให้ชำระหนี้ภายใน 30 วันนับแต่วันได้รับหนังสือและวันได้รับแจ้งการประเมินตามลำดับ. ซึ่งเป็นเวลาภายหลังที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จำเลยนั้น. ไม่มีกฎหมายจำกัดไว้. จึงเป็นหนี้ที่อยู่ในลำดับแห่งมาตรา130(6) ด้วย. เพราะในคดีล้มละลายนั้น. การขอรับชำระหนี้ย่อมขอรับได้รวมทั้งหนี้ที่ยังไม่ถึงกำหนดชำระเมื่อลูกหนี้ตกเป็นคนล้มละลาย. เจ้าหนี้อื่นใดจะฟ้องก็ไม่ได้ได้แต่ขอรับชำระหนี้. ถ้าไม่ยอมให้เจ้าหนี้ซึ่งยังไม่ถึงกำหนดได้รับชำระหนี้ร้องขอชำระหนี้. เจ้าหนี้นั้นก็อาจไม่ได้รับชำระหนี้เลย. เพราะพ้นเวลาขอรับชำระหนี้เสียแล้ว.ฉะนั้นเจ้าหนี้ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิขอรับชำระหนี้รายการอันดับ 8-9 ตามมาตรา 130(6)แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483.
พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 130(6) ที่ว่า'ค่าภาษีอากรฯลฯที่ถึงกำหนดชำระภายใน 6 เดือน ก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์' นั้น. ไม่หมายความว่าหนี้นั้นจะต้องถึงกำหนดชำระก่อนที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เท่านั้น.แต่หมายความว่า ถ้าหนี้นั้นถึงกำหนดชำระก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว. ก็ต้องถึงกำหนดชำระภายใน 6เดือน ก่อนที่ศาลจะมีคำสั่งดังกล่าว. จึงจะเป็นหนี้ที่อยู่ในลำดับแห่งมาตรา 130(6). แต่ถ้าเป็นหนี้ค่าภาษีอากรที่ถึงกำหนดชำระภายหลังวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เช่นในคดีนี้ ที่กำหนดให้ชำระหนี้ภายใน 30 วันนับแต่วันได้รับหนังสือและวันได้รับแจ้งการประเมินตามลำดับ. ซึ่งเป็นเวลาภายหลังที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จำเลยนั้น. ไม่มีกฎหมายจำกัดไว้. จึงเป็นหนี้ที่อยู่ในลำดับแห่งมาตรา130(6) ด้วย. เพราะในคดีล้มละลายนั้น. การขอรับชำระหนี้ย่อมขอรับได้รวมทั้งหนี้ที่ยังไม่ถึงกำหนดชำระเมื่อลูกหนี้ตกเป็นคนล้มละลาย. เจ้าหนี้อื่นใดจะฟ้องก็ไม่ได้ได้แต่ขอรับชำระหนี้. ถ้าไม่ยอมให้เจ้าหนี้ซึ่งยังไม่ถึงกำหนดได้รับชำระหนี้ร้องขอชำระหนี้. เจ้าหนี้นั้นก็อาจไม่ได้รับชำระหนี้เลย. เพราะพ้นเวลาขอรับชำระหนี้เสียแล้ว.ฉะนั้นเจ้าหนี้ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิขอรับชำระหนี้รายการอันดับ 8-9 ตามมาตรา 130(6)แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1055/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนี้ภาษีที่เกิดขึ้นหลังคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ สามารถขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลายได้ตามมาตรา 130(6) พ.ร.บ.ล้มละลาย
เจ้าพนักงานผู้ตรวจภาษี ตรวจพบภายหลังจำเลยผู้ล้มละลายได้ยื่นรายการเสียภาษีต่ำกว่าจำนวนได้ควรต้องเสีย จึงมีหนังสือแจ้งจำนวนเงินที่จะต้องชำระอีกไปยังจำเลยผู้ต้องเสียภาษีเพิ่มเติม โดยอาศัยประมวลรัษฎากร มาตรา 19, 20 และ 22 ดังนี้ มูลหนี้ย่อมเกิดขึ้นตั้งแต่จำเลยยื่นรายงานแสดงรายการภาษีไม่ถูกต้องครบถ้วนนั้น เพราะเจ้าพนักงานย่อมมีสิทธิจะเรียกให้จำเลยชำระหนี้ที่เพิ่มขึ้นนั้นได้ตามกฎหมายดังกล่าวตั้งแต่บัดนั้น เจ้าพนักงานซึ่งเป็นเจ้าหนี้จึงมีสิทธิขอรับชำระหนี้ได้ตามนัยแห่งมาตรา 94 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483
พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 130 (6) ที่ว่า "ค่าภาษีอากรฯลฯ ที่ถึงกำหนดชำระภายใน 6 เดือน ก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์" นั้น ไม่หมายความว่าหนี้นั้นจะต้องถึงกำหนดชำระก่อนที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เท่านั้น แต่หมายความว่า ถ้าหนี้นั้นถึงกำหนดชำระก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว ก็ต้องถึงกำหนดชำระภายใน 6 เดือน ก่อนที่ศาลจะมีคำสั่งดังกล่าว จึงจะเป็นหนี้ที่อยู่ในลำดับแห่งมาตรา 130 (6) แต่ถ้าเป็นหนี้ค่าภาษีอากรที่ถึงกำหนดชำระภายหลังวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เช่นในคดีนี้ ที่กำหนดให้ชำระหนี้ภายใน 30 วันนับแต่วันได้รับหนังสือและวันได้รับแจ้งการประเมินตามลำดับ ซึ่งเป็นเวลาภายหลังที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จำเลยนั้น ไม่มีกฎหมายจำกัดไว้ จึงเป็นหนี้ที่อยู่ในลำดับแห่งมาตรา 130 (6) ด้วย เพราะในคดีล้มละลายนั้น การขอรับชำระหนี้ย่อมขอรับได้รวมทั้งหนี้ที่ยังไม่ถึงกำหนดชำระเมื่อลูกหนี้ตกเป็นคนล้มละลาย เจ้าหนี้อื่นใดจะฟ้องก็ไม่ได้ ได้แต่ชอรับชำระหนี้ ถ้าไม่ยอมให้เจ้าหนี้ซึ่งยังไม่ถึงกำหนดได้รับชำระหนี้ร้องขอชำระเจ้าหนี้นั้นก็อาจไม่ได้รับชำระหนี้เลย เพราะพ้นเวลาขอรับชำระหนี้เสียแล้ว ฉะนั้น เจ้าหนี้ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิขอรับชำระหนี้รายการอันดับ 8-9 ตามมาตรา 130 (6) แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483
พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 130 (6) ที่ว่า "ค่าภาษีอากรฯลฯ ที่ถึงกำหนดชำระภายใน 6 เดือน ก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์" นั้น ไม่หมายความว่าหนี้นั้นจะต้องถึงกำหนดชำระก่อนที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เท่านั้น แต่หมายความว่า ถ้าหนี้นั้นถึงกำหนดชำระก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว ก็ต้องถึงกำหนดชำระภายใน 6 เดือน ก่อนที่ศาลจะมีคำสั่งดังกล่าว จึงจะเป็นหนี้ที่อยู่ในลำดับแห่งมาตรา 130 (6) แต่ถ้าเป็นหนี้ค่าภาษีอากรที่ถึงกำหนดชำระภายหลังวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เช่นในคดีนี้ ที่กำหนดให้ชำระหนี้ภายใน 30 วันนับแต่วันได้รับหนังสือและวันได้รับแจ้งการประเมินตามลำดับ ซึ่งเป็นเวลาภายหลังที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จำเลยนั้น ไม่มีกฎหมายจำกัดไว้ จึงเป็นหนี้ที่อยู่ในลำดับแห่งมาตรา 130 (6) ด้วย เพราะในคดีล้มละลายนั้น การขอรับชำระหนี้ย่อมขอรับได้รวมทั้งหนี้ที่ยังไม่ถึงกำหนดชำระเมื่อลูกหนี้ตกเป็นคนล้มละลาย เจ้าหนี้อื่นใดจะฟ้องก็ไม่ได้ ได้แต่ชอรับชำระหนี้ ถ้าไม่ยอมให้เจ้าหนี้ซึ่งยังไม่ถึงกำหนดได้รับชำระหนี้ร้องขอชำระเจ้าหนี้นั้นก็อาจไม่ได้รับชำระหนี้เลย เพราะพ้นเวลาขอรับชำระหนี้เสียแล้ว ฉะนั้น เจ้าหนี้ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิขอรับชำระหนี้รายการอันดับ 8-9 ตามมาตรา 130 (6) แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1055/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภาษีอากรค้างชำระในคดีล้มละลาย: สิทธิในการขอรับชำระหนี้ แม้ยังไม่ถึงกำหนดชำระ
เจ้าพนักงานผู้ตรวจภาษี ตรวจพบภายหลังจำเลยผู้ล้มละลายได้ยื่นรายการเสียภาษีต่ำกว่าจำนวนที่ควรต้องเสีย จึงมีหนังสือแจ้งจำนวนเงินที่จะต้องชำระอีกไปยังจำเลยผู้ต้องเสียภาษีเพิ่มเติม โดยอาศัยประมวลรัษฎากร มาตรา 19,20 และ 22 ดังนี้มูลหนี้ย่อมเกิดขึ้นตั้งแต่จำเลยยื่นรายงานแสดงรายการภาษีไม่ถูกต้องครบถ้วนนั้น เพราะเจ้าพนักงานย่อมมีสิทธิจะเรียกให้จำเลยชำระหนี้ที่เพิ่มขึ้นนั้นได้ตามกฎหมายดังกล่าวตั้งแต่บัดนั้น เจ้าพนักงานซึ่งเป็นเจ้าหนี้จึงมีสิทธิขอรับชำระหนี้ได้ตามนัยแห่งมาตรา 94 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483
พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 130(6) ที่ว่า"ค่าภาษีอากรฯลฯที่ถึงกำหนดชำระภายใน 6 เดือน ก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์" นั้น ไม่หมายความว่าหนี้นั้นจะต้องถึงกำหนดชำระก่อนที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เท่านั้นแต่หมายความว่า ถ้าหนี้นั้นถึงกำหนดชำระก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว ก็ต้องถึงกำหนดชำระภายใน 6 เดือน ก่อนที่ศาลจะมีคำสั่งดังกล่าว จึงจะเป็นหนี้ที่อยู่ในลำดับแห่งมาตรา 130(6) แต่ถ้าเป็นหนี้ค่าภาษีอากรที่ถึงกำหนดชำระภายหลังวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เช่นในคดีนี้ ที่กำหนดให้ชำระหนี้ภายใน 30 วันนับแต่วันได้รับหนังสือและวันได้รับแจ้งการประเมินตามลำดับ ซึ่งเป็นเวลาภายหลังที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จำเลยนั้น ไม่มีกฎหมายจำกัดไว้ จึงเป็นหนี้ที่อยู่ในลำดับแห่งมาตรา130(6) ด้วย เพราะในคดีล้มละลายนั้น การขอรับชำระหนี้ย่อมขอรับได้รวมทั้งหนี้ที่ยังไม่ถึงกำหนดชำระเมื่อลูกหนี้ตกเป็นคนล้มละลาย เจ้าหนี้อื่นใดจะฟ้องก็ไม่ได้ได้แต่ขอรับชำระหนี้ ถ้าไม่ยอมให้เจ้าหนี้ซึ่งยังไม่ถึงกำหนดได้รับชำระหนี้ร้องขอชำระหนี้ เจ้าหนี้นั้นก็อาจไม่ได้รับชำระหนี้เลย เพราะพ้นเวลาขอรับชำระหนี้เสียแล้ว ฉะนั้นเจ้าหนี้ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิขอรับชำระหนี้รายการอันดับ 8-9 ตามมาตรา 130(6)แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483
พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 130(6) ที่ว่า"ค่าภาษีอากรฯลฯที่ถึงกำหนดชำระภายใน 6 เดือน ก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์" นั้น ไม่หมายความว่าหนี้นั้นจะต้องถึงกำหนดชำระก่อนที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เท่านั้นแต่หมายความว่า ถ้าหนี้นั้นถึงกำหนดชำระก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว ก็ต้องถึงกำหนดชำระภายใน 6 เดือน ก่อนที่ศาลจะมีคำสั่งดังกล่าว จึงจะเป็นหนี้ที่อยู่ในลำดับแห่งมาตรา 130(6) แต่ถ้าเป็นหนี้ค่าภาษีอากรที่ถึงกำหนดชำระภายหลังวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เช่นในคดีนี้ ที่กำหนดให้ชำระหนี้ภายใน 30 วันนับแต่วันได้รับหนังสือและวันได้รับแจ้งการประเมินตามลำดับ ซึ่งเป็นเวลาภายหลังที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จำเลยนั้น ไม่มีกฎหมายจำกัดไว้ จึงเป็นหนี้ที่อยู่ในลำดับแห่งมาตรา130(6) ด้วย เพราะในคดีล้มละลายนั้น การขอรับชำระหนี้ย่อมขอรับได้รวมทั้งหนี้ที่ยังไม่ถึงกำหนดชำระเมื่อลูกหนี้ตกเป็นคนล้มละลาย เจ้าหนี้อื่นใดจะฟ้องก็ไม่ได้ได้แต่ขอรับชำระหนี้ ถ้าไม่ยอมให้เจ้าหนี้ซึ่งยังไม่ถึงกำหนดได้รับชำระหนี้ร้องขอชำระหนี้ เจ้าหนี้นั้นก็อาจไม่ได้รับชำระหนี้เลย เพราะพ้นเวลาขอรับชำระหนี้เสียแล้ว ฉะนั้นเจ้าหนี้ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิขอรับชำระหนี้รายการอันดับ 8-9 ตามมาตรา 130(6)แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 944/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำขอรับชำระหนี้โดยอาศัยเช็คเป็นมูลหนี้ แม้ไม่ใช่หลักฐานกู้ยืม แต่มีสิทธิรับชำระหนี้ได้
คำขอรับชำระหนี้ของเจ้าหนี้อ้างว่าลูกหนี้เป็นหนี้อยู่ 20,000 บาท เป็นค่ายืมโดยจ่ายเช็คไว้ให้มีเช็คเป็นหลักฐานดังนี้แม้เช็คไม่เป็นหลักฐานที่จะใช้บังคับคดีในทางกู้ยืมเงิน แต่เช็คก็เป็นมูลหนี้ประการหนึ่ง ซึ่งคำขอรับชำระหนี้ดังกล่าวเป็นคำขอรับชำระหนี้โดยอาศัยเช็คเป็นมูลหนี้รวมอยู่ด้วย ไม่ใช่เป็นแต่เพียงคำขอชำระหนี้ โดยอาศัยการกู้ยืมเป็นมูลหนี้อย่างเดียว เจ้าหนี้จึงมีสิทธิที่จะขอรับชำระหนี้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 944/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำขอรับชำระหนี้โดยอาศัยเช็คเป็นมูลหนี้ แม้ไม่ใช่หลักฐานกู้ยืม ก็มีสิทธิรับชำระหนี้ได้
คำขอรับชำระหนี้ของเจ้าหนี้อ้างว่าลูกหนี้เป็นหนี้อยู่ 20,000 บาท เป็นค่ายืมโดยจ่ายเช็คไว้ให้มีเช็คเป็นหลักฐานดังนี้แม้เช็คไม่เป็นหลักฐานที่จะใช้บังคับคดีในทางกู้ยืมเงิน แต่เช็คก็เป็นมูลหนี้ประการหนึ่ง ซึ่งคำขอรับชำระหนี้ดังกล่าวเป็นคำขอรับชำระหนี้โดยอาศัยเช็คเป็นมูลหนี้รวมอยู่ด้วย ไม่ใช่เป็นแต่เพียงคำขอชำระหนี้ โดยอาศัยการกู้ยืมเป็นมูลหนี้อย่างเดียว เจ้าหนี้จึงมีสิทธิที่จะขอรับชำระหนี้ได้