คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย
พ.ร.บ.ล้มละลาย พ.ศ.2483 ม. 119

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 167 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 805/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ในการเรียกลูกหนี้ล้มละลาย และการใช้เอกสารประกอบการพิจารณาคดี
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 89 ไม่ใช้บังคับถึงวิธีการของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ในการเรียกลูกหนี้ของผู้ล้มละลายให้ชำระหนี้ให้แก่กองทรัพย์สินของผู้ล้มละลาย ตามพระราชบัญญัติล้มละลายพ.ศ. 2483 มาตรา 119 มาตรา 119 ได้กำหนดวิธีการให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์กระทำเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามกฎหมายล้มละลาย โดยเฉพาะเป็นอีกส่วนหนึ่งต่างหากจากการดำเนินกระบวนพิจารณาของศาลในการสอบสวนหนี้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ดำเนินการไปตามอำนาจและหน้าที่ที่มีอยู่ตามพระราชบัญญัติดังกล่าวเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ยังมิได้มีฐานะเป็นคู่ความในคดีดังเช่นที่บัญญัติไว้ในมาตรา 89ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ดังนั้น เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จึงไม่มีหน้าที่อ้างเอกสารหมาย ร.ค.1 และ ร.ค.4 มาประกอบคำกล่าวอ้างของตน และซักค้าน ผู้ร้องซึ่งเป็นลูกหนี้ของผู้ล้มละลายและถูกเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เรียกร้องให้ชำระหนี้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 805/2513

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ในการเรียกลูกหนี้ - ไม่ผูกพันด้วยวิธีพิจารณาประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 89 ไม่ใช้บังคับถึงวิธีการของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ในการเรียกลูกหนี้ของผู้ล้มละลายให้ชำระหนี้ให้แก่กองทรัพย์สินของผู้ล้มละลาย ตามพระราชบัญญัติล้มละลายพ.ศ. 2483 มาตรา 119 มาตรา 119 ได้กำหนดวิธีการให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์กระทำเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามกฎหมายล้มละลายโดยเฉพาะเป็นอีกส่วนหนึ่งต่างหากจากการดำเนินกระบวนพิจารณาของศาลในการสอบสวนหนี้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ดำเนินการไปตามอำนาจและหน้าที่ที่มีอยู่ตามพระราชบัญญัติดังกล่าวเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ยังมิได้มีฐานะเป็นคู่ความในคดีดังเช่นที่บัญญัติไว้ในมาตรา 89 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ดังนั้นเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จึงไม่มีหน้าที่อ้างเอกสารหมาย ร.ค.1 และ ร.ค.4 มาประกอบคำกล่าวอ้างของตน และซักค้านผู้ร้องซึ่งเป็นลูกหนี้ของผู้ล้มละลายและถูกเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เรียกร้องให้ชำระหนี้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1086/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การโอนหุ้นชนิดระบุชื่อต้องมีพยานลงชื่อรับรองลายมือ หากไม่มีถือเป็นโมฆะ แม้จะมีการจดทะเบียนเป็นผู้ถือหุ้น
การโอนหุ้นบริษัทจำกัดชนิดระบุชื่อในใบหุ้นนั้น แม้ทำเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้โอนกับผู้รับโอน แต่เมื่อไม่มีพยานลงชื่อรับรองลายมือย่อมเป็นโมฆะ
การโอนหุ้นซึ่งตกเป็นโมฆะ แม้บริษัทจะได้ลงชื่อผู้รับโอนในทะเบียนผู้ถือหุ้น และเคยนัดหมายให้ผู้รับโอนเข้าประชุมในฐานะผู้ถือหุ้นก็ดี ก็ไม่ทำให้ผู้รับโอนกลายเป็นผู้ถือหุ้นโดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้ร้องยื่นคำร้องต่อศาลว่า เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ส่งให้ผู้ร้องชำระค่าหุ้นเป็นการไม่ชอบโดยอ้างเหตุว่าผู้ร้องมิใช่ผู้ถือหุ้นและสัญญาโอนหุ้นเป็นโมฆะเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ มิได้ยกข้อต่อสู้ในคำคัดค้านว่า ผู้ร้องได้ครอบครองหุ้นมากว่า 5 ปี จนได้กรรมสิทธิ์แล้วย่อมไม่มีประเด็นที่ศาลจะวินิจฉัยว่าการครอบครองสิทธิในการถือหุ้นมิได้หรือไม่เพียงใด
การปฏิเสธหนี้ต่อเจ้าหนักงานพิทักษ์ทรัพย์ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 119 นั้น กฎหมายบัญญัติไว้แต่เพียงว่าถ้าจะปฏิเสธให้แสดงเหตุผลประกอบการปฏิเสธ เมื่อผู้ปฏิเสธหนี้ได้ยกเหตุผลขึ้นปฏิเสธไปแล้ว แม้ไม่ได้ยกข้อกฎหมายบางข้อขึ้นกล่าวอ้างก็ไม่มีกฎหมายห้ามมิให้ยกข้อกฎหมายนั้นขึ้นว่ากล่าวในชั้นศาล

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1086/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การโอนหุ้นชนิดระบุชื่อต้องมีพยานลงชื่อรับรอง มิฉะนั้นเป็นโมฆะ แม้มีการจดทะเบียนเป็นผู้ถือหุ้นก็ไม่สมบูรณ์
การโอนหุ้นบริษัทจำกัดชนิดระบุชื่อในใบหุ้นนั้น แม้ทำเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้โอนกับผู้รับโอน แต่เมื่อไม่มีพยานลงชื่อรับรองลายมือย่อมเป็นโมฆะ
การโอนหุ้นซึ่งตกเป็นโมฆะ แม้บริษัทจะได้ลงชื่อผู้รับโอนในทะเบียนผู้ถือหุ้น และเคยนัดหมายให้ผู้รับโอนเข้าประชุมในฐานะผู้ถือหุ้นก็ดี ก็ไม่ทำให้ผู้รับโอนกลายเป็นผู้ถือหุ้นโดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้ร้องยื่นคำร้องต่อศาลว่า เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์สั่งให้ผู้ร้องชำระค่าหุ้นเป็นการไม่ชอบโดยอ้างเหตุว่า ผู้ร้องมิใช่ผู้ถือหุ้นและสัญญาโอนหุ้นเป็นโมฆะเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มิได้ยกข้อต่อสู้ในคำคัดค้านว่าผู้ร้องได้ครอบครองหุ้นมากว่า 5 ปี จนได้กรรมสิทธิ์แล้วย่อมไม่มีประเด็นที่ศาลจะวินิจฉัยว่า การครอบครองสิทธิในการถือหุ้นมีได้หรือไม่เพียงใด
การปฏิเสธหนี้ต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 119 นั้น กฎหมายบัญญัติไว้แต่เพียงว่าถ้าจะปฏิเสธให้แสดงเหตุผลประกอบการปฏิเสธ เมื่อผู้ปฏิเสธหนี้ได้ยกเหตุผลขึ้นปฏิเสธไปแล้ว แม้ไม่ได้ยกข้อกฎหมายบางข้อขึ้นกล่าวอ้างก็ไม่มีกฎหมายห้ามมิให้ยกข้อกฎหมายนั้นขึ้นว่ากล่าวในชั้นศาล

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1086/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การโอนหุ้นระบุชื่อต้องมีพยานรับรองลายมือ มิฉะนั้นเป็นโมฆะ แม้จะมีการลงทะเบียนและใช้สิทธิในฐานะผู้ถือหุ้น
การโอนหุ้นบริษัทจำกัดชนิดระบุชื่อในใบหุ้นนั้น แม้ทำเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้โอนกับผู้รับโอน. แต่เมื่อไม่มีพยานลงชื่อรับรองลายมือย่อมเป็นโมฆะ.
การโอนหุ้นซึ่งตกเป็นโมฆะ. แม้บริษัทจะได้ลงชื่อผู้รับโอนในทะเบียนผู้ถือหุ้น และเคยนัดหมายให้ผู้รับโอนเข้าประชุมในฐานะผู้ถือหุ้นก็ดี. ก็ไม่ทำให้ผู้รับโอนกลายเป็นผู้ถือหุ้นโดยชอบด้วยกฎหมาย.
ผู้ร้องยื่นคำร้องต่อศาลว่า. เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์สั่งให้ผู้ร้องชำระค่าหุ้นเป็นการไม่ชอบโดยอ้างเหตุว่า.ผู้ร้องมิใช่ผู้ถือหุ้นและสัญญาโอนหุ้นเป็นโมฆะ.เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มิได้ยกข้อต่อสู้ในคำคัดค้านว่า.ผู้ร้องได้ครอบครองหุ้นมากว่า 5 ปี จนได้กรรมสิทธิ์แล้ว. ย่อมไม่มีประเด็นที่ศาลจะวินิจฉัยว่า.การครอบครองสิทธิในการถือหุ้นมีได้หรือไม่เพียงใด.
การปฏิเสธหนี้ต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 119 นั้น. กฎหมายบัญญัติไว้แต่เพียงว่าถ้าจะปฏิเสธให้แสดงเหตุผลประกอบการปฏิเสธ.เมื่อผู้ปฏิเสธหนี้ได้ยกเหตุผลขึ้นปฏิเสธไปแล้ว. แม้ไม่ได้ยกข้อกฎหมายบางข้อขึ้นกล่าวอ้าง.ก็ไม่มีกฎหมายห้ามมิให้ยกข้อกฎหมายนั้นขึ้นว่ากล่าวในชั้นศาล.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 74/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การขาดนัดพิจารณาคดีล้มละลายและการจำหน่ายคดีออกจากสารบบความ สิทธิในการร้องคัดค้านคำสั่งเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
ผู้ร้องยื่นคำร้องคัดค้านต่อศาลในกรณีที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีคำสั่งให้ผู้ร้องชำระเงินที่ผู้ร้องเป็นลูกหนี้จำเลยผู้ล้มละลาย ฉะนั้น การที่ผู้ร้องและทนายตลอดจนพยานไม่มาศาลตามวันเวลาที่นัดไต่สวน โดยมิได้ขอเลื่อนหรือแจ้งเหตุให้ศาลทราบ ถือได้ว่าเป็นการขาดนัด และในกรณีเช่นนี้ เมื่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่ติดใจดำเนินคดีต่อไป ศาลก็ต้องสั่งจำหน่ายคดีเสียจากสารบบความ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 201 ผู้ร้องมีทางดำเนินคดีต่อไปได้เพียงประการเดียว คือการร้องเริ่มต้นคดีใหม่ ซึ่งจะต้องอยู่ในบังคับแพ่งอายุความหรือระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้ ดังนั้น การที่ผู้ร้องยื่นคำร้องขอให้ไต่สวนใหม่เกินกำหนดเวลา 14 วันนับจากที่ผู้ร้องทราบคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ให้ชำระหนี้ จึงเป็นการไม่ชอบด้วยพระราชบัญญัติล้มละลาย
ในกรณีที่ผู้ร้องขาดนัดพิจารณา และศาลสั่งให้จำหน่ายคดีของผู้ร้องไปนั้น ถือได้ว่าเป็นการละทิ้งคดี จึงไม่เป็ฯเหตุให้กำหนดระยะเวลาที่ผู้ร้องจะยื่นคำร้องคัดค้านคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์สะดุดหยุดลง

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 74/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ขาดนัดพิจารณาคดีล้มละลาย ศาลจำหน่ายคดี และผลของการละทิ้งคดีต่อการคัดค้านคำสั่งเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
ผู้ร้องยื่นคำร้องคัดค้านต่อศาลในกรณีที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีคำสั่งให้ผู้ร้องชำระเงินที่ผู้ร้องเป็นลูกหนี้จำเลยผู้ล้มละลายฉะนั้น การที่ผู้ร้องและทนายตลอดจนพยานไม่มาศาลตามวันเวลาที่นัดไต่สวน โดยมิได้ขอเลื่อนหรือแจ้งเหตุให้ศาลทราบถือได้ว่าเป็นการขาดนัดและในกรณีเช่นนี้ เมื่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่ติดใจดำเนินคดีต่อไปศาลก็ต้องสั่งจำหน่ายคดีเสียจากสารบบความ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 201 ผู้ร้องมีทางดำเนินคดีต่อไปได้เพียงประการเดียว คือการร้องเริ่มต้นคดีใหม่ ซึ่งจะต้องอยู่ในบังคับแห่งอายุความหรือระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้ ดังนั้น การที่ผู้ร้องยื่นคำร้องขอให้ไต่สวนใหม่เกินกำหนดเวลา 14 วันนับจากที่ผู้ร้องทราบคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ให้ชำระหนี้
จึงเป็นการไม่ชอบด้วยพระราชบัญญัติล้มละลาย
ในกรณีที่ผู้ร้องขาดนัดพิจารณา และศาลสั่งให้จำหน่ายคดีของผู้ร้องไปนั้น ถือได้ว่าเป็นการละทิ้งคดี จึงไม่เป็นเหตุให้กำหนดระยะเวลาที่ผู้ร้องจะยื่นคำร้องคัดค้านคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์สะดุดหยุดลง

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 74/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การขาดนัดพิจารณาคดีล้มละลาย และผลกระทบต่อการคัดค้านคำสั่งเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
ผู้ร้องยื่นคำร้องคัดค้านต่อศาลในกรณีที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีคำสั่งให้ผู้ร้องชำระเงินที่ผู้ร้องเป็นลูกหนี้จำเลยผู้ล้มละลาย. ฉะนั้น การที่ผู้ร้องและทนายตลอดจนพยานไม่มาศาลตามวันเวลาที่นัดไต่สวน โดยมิได้ขอเลื่อนหรือแจ้งเหตุให้ศาลทราบ. ถือได้ว่าเป็นการขาดนัด. และในกรณีเช่นนี้ เมื่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่ติดใจดำเนินคดีต่อไป. ศาลก็ต้องสั่งจำหน่ายคดีเสียจากสารบบความ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 201.ผู้ร้องมีทางดำเนินคดีต่อไปได้เพียงประการเดียว คือการร้องเริ่มต้นคดีใหม่ ซึ่งจะต้องอยู่ในบังคับแห่งอายุความหรือระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้. ดังนั้น การที่ผู้ร้องยื่นคำร้องขอให้ไต่สวนใหม่เกินกำหนดเวลา 14 วันนับจากที่ผู้ร้องทราบคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ให้ชำระหนี้. จึงเป็นการไม่ชอบด้วยพระราชบัญญัติล้มละลาย.
ในกรณีที่ผู้ร้องขาดนัดพิจารณา และศาลสั่งให้จำหน่ายคดีของผู้ร้องไปนั้น. ถือได้ว่าเป็นการละทิ้งคดี. จึงไม่เป็นเหตุให้กำหนดระยะเวลาที่ผู้ร้องจะยื่นคำร้องคัดค้านคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์สะดุดหยุดลง.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 695/2509

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เหตุสุดวิสัยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 23 ศาลมีอำนาจขยายเวลาได้ แม้ไม่มีคำร้อง
'เหตุสุดวิสัย' ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา23 หมายถึงเหตุที่ทำให้ศาลไม่สามารถมีคำสั่งให้ขยายระยะเวลาหรือคู่ความมีคำขอเช่นนั้นขึ้นมาก่อนสิ้นระยะเวลาที่กฎหมายให้ดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างใดอย่างหนึ่งได้มิได้หมายถึงว่า'พฤติการณ์พิเศษที่ทำให้การดำเนินกระบวนพิจารณาไม่อาจกระทำได้ภายในกำหนดนั้นต้องเป็นเหตุสุดวิสัยเหตุสุดวิสัยตามมาตรา 23 จึงไม่จำต้องเป็นเหตุอันเกิดจากภัยธรรมชาติซึ่งไม่มีใครอาจป้องกันได้ตามความในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 8 หากมีพฤติการณ์นอกเหนือที่ศาลไม่อาจมีคำสั่งขยายเวลาให้ก่อนสิ้นระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้ในการดำเนินกระบวนพิจารณาย่อมนับได้ว่าเป็นเหตุสุดวิสัยการสั่งขยายเวลาศาลมีอำนาจสั่งเองได้ โดยคู่ความไม่ต้องร้องขอ
ระยะเวลา 14 วันที่กำหนดให้ลูกหนี้ของบุคคลผู้ล้มละลายปฏิเสธหนี้ตามพระราชบัญญัติล้มละลายมาตรา 119 นั้นศาลอาจสั่งขยายได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 23 และการที่เจ้าหนี้ปฏิเสธหนี้ส่งทางไปรษณีย์ถึงเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ช้าไป 1 วันนั้น ก็ถือเป็นเหตุสุดวิสัยที่ศาลจะสั่งขยายเมื่อพ้นกำหนดเวลาได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 695/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เหตุสุดวิสัยตาม ป.วิ.พ. มาตรา 23: ศาลมีอำนาจขยายเวลาเองได้ แม้ไม่ใช่ภัยธรรมชาติ
"เหตุสุดวิสัย" ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 23 หมายถึงเหตุที่ทำให้ศาลไม่สามารถมีคำสั่งให้ขยายระยะเวลาหรือคู่ความมีคำขอเช่นนั้นขึ้นมาก่อนสิ้นระยะเวลาที่กฎหมายให้ดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างใดอย่างหนึ่งได้ มิได้หมายถึงว่า "พฤติการณ์พิเศษที่ทำให้การดำเนินกระบวนพิจารณาไม่อาจกระทำได้ภายในกำหนดนั้นต้องเป็นเหตุสุดวิสัย เหตุสุดวิสัยตามมาตรา 23 จึงไม่จำต้องเป็นเหตุอันเกิดจากภัยธรรมชาติซึ่งไม่มีใครอาจป้องกันได้ตามความในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 8 หากมีพฤติการณ์นอกเหนือที่ศาลไม่อาจมีคำสั่งขยายเวลาให้ก่อนสิ้นระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้ในการดำเนินกระบวนพิจารณา ย่อมนับได้ว่าเป็นเหตุสุดวิสัย การสั่งขยายเวลาศาลมีอำนาจสั่งเองได้ โดยคู่ความไม่ต้องร้องขอ
ระยะเวลา 14 วันที่กำหนดให้ลูกหนี้ของบุคคลล้มละลายปฏิเสธหนี้ตามพระราชบัญญัติล้มละลายมาตรา 119 นั้น ศาลอาจสั่งขยายได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 23 และการที่เจ้าหนี้ปฏิเสธหนี้ส่งทางไปรษณีย์ถึงเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ช้าไป 1 วันนั้น ก็ถือเป็นเหตุสุดวิสัยที่ศาลจะสั่งขยายเมื่อพ้นกำหนดเวลาได้.
of 17