พบผลลัพธ์ทั้งหมด 94 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 323/2505 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าของร่วมทางพฤติการณ์ - สัญญาประนีประนอม - การรับผิดร่วม
ผู้ตายทำสัญญากับโจทก์กว่าจะปลูกห้องแถวแล้วแบ่งห้องให้ โดยโจทก์จะยกที่ดินส่วนที่ปลูกห้องแถวให้เป็นการตอบแทน จำเลยซึ่งอยู่กินกับผู้ตายฉันสามีภริยา โดยมิได้สมรสและได้รู้เห็นมีส่วนได้เสียเป็นเจ้าของรวมในที่ดิน ที่ได้มาตามสัญาด้วยเช่นนี้ จำเลยก็ต้องรับผิดต่อโจทก์ที่จะต้องปฏิบัติตามสัญญานั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1066/2504
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องขับไล่และเรียกค่าเสียหายจากผู้เช่า โดยระบุชัดถึงความเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์และอำนาจฟ้อง
ล. เป็นบิดา ฉ.เป็นมารดาของภ.พ.และอ. เมื่อ ล. ตาย ตึกพิพาทก็ตกเป็นมรดกแก่ฉ.ภ.พ.และอ. ผลที่สุดเมื่อฉ. ตายอีก ก็ตกเป็นมรดกแก่ภ.พ.และอ. พ.และอ.มอบให้ภ. เป็นผู้จัดการภ.มอบอำนาจให้ส. เป็นผู้จัดการแทนอีกทอดหนึ่งหนังสือมอบอำนาจจะเขียนว่าตึกพิพาทเป็นมรดกของล.หรือฉ. ก็หามีความหมายผิดกันไม่ และการที่เจ้าของกรรมสิทธิ์มอบอำนาจทั่วไปแก่ ส. นี้ก็ไม่ใช่เรื่องผู้จัดการมรดก ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1715 และ1358 ไม่ต้องกับรูปคดีนี้
เมื่อทำสัญญาเช่าก็เขียนชื่อจำเลยที่ 1 ไว้ว่าเป็นเจ้าของบริษัทจำเลยที่ 2 เมื่อนำสืบก็รับว่ามีคนภายนอกถือหุ้นอยู่ด้วยไม่เกินร้อยละสิบ ที่ตั้งทำการของจำเลยที่ 2 ก็คือตึกรายพิพาทซึ่งจำเลยที่ 1 เป็นผู้เช่าไปเป็นเหตุผลเพียงพอให้โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 2 ด้วย โจทก์ระบุชัดในคำฟ้องเรียกบริษัทเป็นจำเลยที่ 2 โดยบรรยายด้วยว่าเป็นนิติบุคคล คำขอให้ขับไล่จำเลยย่อมหมายถึงจำเลยทั้งสอง
โจทก์เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ตึกรายพิพาทในขณะที่ฟ้องขับไล่ ไม่จำต้องบรรยายฟ้องโดยละเอียดถึงความเป็นมาแห่งตึกนี้
คำฟ้องระบุชื่อจำเลยทั้งสองไว้ในตอนต้นแล้ว ตอนต่อๆไปแม้จะใช้คำว่าจำเลยก็มีความหมายว่าจำเลยทั้งสอง
เมื่อทำสัญญาเช่าก็เขียนชื่อจำเลยที่ 1 ไว้ว่าเป็นเจ้าของบริษัทจำเลยที่ 2 เมื่อนำสืบก็รับว่ามีคนภายนอกถือหุ้นอยู่ด้วยไม่เกินร้อยละสิบ ที่ตั้งทำการของจำเลยที่ 2 ก็คือตึกรายพิพาทซึ่งจำเลยที่ 1 เป็นผู้เช่าไปเป็นเหตุผลเพียงพอให้โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 2 ด้วย โจทก์ระบุชัดในคำฟ้องเรียกบริษัทเป็นจำเลยที่ 2 โดยบรรยายด้วยว่าเป็นนิติบุคคล คำขอให้ขับไล่จำเลยย่อมหมายถึงจำเลยทั้งสอง
โจทก์เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ตึกรายพิพาทในขณะที่ฟ้องขับไล่ ไม่จำต้องบรรยายฟ้องโดยละเอียดถึงความเป็นมาแห่งตึกนี้
คำฟ้องระบุชื่อจำเลยทั้งสองไว้ในตอนต้นแล้ว ตอนต่อๆไปแม้จะใช้คำว่าจำเลยก็มีความหมายว่าจำเลยทั้งสอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1066/2504 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องขับไล่ผู้เช่า: เจ้าของกรรมสิทธิ์ฟ้องได้แม้มีการมอบอำนาจและมีผู้ถือหุ้นส่วนน้อย
ล.เป็นบิดา ฉ. เป็นมารดาของ ภ.พ.และ อ. เมื่อ ล.ตายศึกพิพาทตกเป็นมรดกแก่ ฉ.ภ.พ. และ อ. ผลที่สุดเมื่อ ฉ. ตายอีกก็ตกเป็นมรดกแก่ ภ.พ. และอ. พ. และอ. มอบให้ ภ. เป็นผู้จัดการ ภ. มอบอำนาจให้ ส. เป็นผู้จัดการแทนอีกทอดหนึ่ง หนังสือมอบอำนาจจะเขียนว่าตึกพิพาทเป็นมรดกของ ล. หรือ ฉ. ก็หามีความหมายผิดกันไม่ และการที่เจ้าของกรรมสิทธิ์มอบอำนาจทั่วไปแก่ ส.นี้ก็ไม่ใช่เรื่องผู้จัดการมรดก ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1715 และ 1358 ไม่ตรงกับรูปคดีนี้
เมื่อทำสัญญาเช่าก็เชียนชื่อจำเลยที่ 1 ไว้ว่าเป็นเจ้าของบริษัทจำเลยที่ 2 เมื่อนำสืบก็รับว่ามีคนภายนอกถือหุ้นอยู่ด้วยไม่เกินร้อยละสิบ ที่ตั้งทำการของจำเลยที่ 2 ก็คือตึกรายพิพาทซึ่งจำเลยที่ 1 เป็นผู้เช่าไป เป็นเหตุผลเพียงพอให้โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 2 ด้วย โจทก์ระบุชัดในคำฟ้องเรียกบริษัทเป็นจำเลยที่ 2 โดยบรรยายด้วยว่าเป็นนิติบุคคล คำขอให้ขับไล่จำเลยย่อมหมายถึงจำเลยทั้งสอง
โจทก์เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ตึกรายพิพาทในขณะที่ฟ้องขับไล่ ไม่จำต้องบรรยายฟ้องโดยละเอียดถึงความเป็นมาแห่งตึกนี้
คำฟ้องระบุชื่อจำเลยทั้งสองไว้ในตอนต้นแล้ว ตอนต่อๆ ไปแม้จะใช้คำว่าจำเลยก็มีความหมายว่าจำเลยทั้งสอง
เมื่อทำสัญญาเช่าก็เชียนชื่อจำเลยที่ 1 ไว้ว่าเป็นเจ้าของบริษัทจำเลยที่ 2 เมื่อนำสืบก็รับว่ามีคนภายนอกถือหุ้นอยู่ด้วยไม่เกินร้อยละสิบ ที่ตั้งทำการของจำเลยที่ 2 ก็คือตึกรายพิพาทซึ่งจำเลยที่ 1 เป็นผู้เช่าไป เป็นเหตุผลเพียงพอให้โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 2 ด้วย โจทก์ระบุชัดในคำฟ้องเรียกบริษัทเป็นจำเลยที่ 2 โดยบรรยายด้วยว่าเป็นนิติบุคคล คำขอให้ขับไล่จำเลยย่อมหมายถึงจำเลยทั้งสอง
โจทก์เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ตึกรายพิพาทในขณะที่ฟ้องขับไล่ ไม่จำต้องบรรยายฟ้องโดยละเอียดถึงความเป็นมาแห่งตึกนี้
คำฟ้องระบุชื่อจำเลยทั้งสองไว้ในตอนต้นแล้ว ตอนต่อๆ ไปแม้จะใช้คำว่าจำเลยก็มีความหมายว่าจำเลยทั้งสอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 174/2504 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ร่วมในทรัพย์สินของคู่สามีภริยาที่ไม่จดทะเบียนสมรส: สิทธิในการคัดค้านการยึด
สามีภริยาที่ไม่ได้จดทะเบียนสมรสแต่มีกรรมสิทธิ์ร่วมกันในเรือนที่โจทก์นำยึดในคดีที่สามีเป็นจำเลย ภริยาไม่มีสิทธิร้องขอให้ถอนการยึด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 174/2504
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ร่วมในทรัพย์สินระหว่างสามีภริยาที่ไม่จดทะเบียนสมรส: สิทธิในการคัดค้านการยึด
สามีภริยาที่ไม่ได้จดทะเบียนสมรส แต่มีกรรมสิทธิ์ร่วมกันในเรือนที่โจทก์นำยึดในคดีที่สามีเป็นจำเลยภริยาไม่มีสิทธิร้องขอให้ถอนการยึด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 702/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเจ้าของร่วมในการฟ้องแย่งคืนที่ดิน กรณีถูกรบกวนสิทธิ
โจทก์กับพวกร่วมกันยึดถือที่ดินเป็นเจ้าของ โจทก์ซึ่งเป็นเจ้าของร่วมคนหนึ่งย่อมฟ้องผู้ที่เข้ามารบกวนหรือแย่งที่ดินที่โจทก์กับพวกถือสิทธิเป็นเจ้าของนั้นได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 702/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเจ้าของร่วมในการฟ้องแย่งคืนที่ดิน: เจ้าของร่วมมีสิทธิฟ้องผู้รบกวนการครอบครองที่ดินที่ตนมีสิทธิร่วมกันได้
โจทก์กับพวกร่วมกันยึดถือที่ดินเป็นเจ้าของโจทก์ซึ่งเป็นเจ้าของร่วมคนหนึ่งย่อมฟ้องผู้ที่เข้ามารบกวนหรือแย่งที่ดินที่โจทก์กับพวกถือสิทธิเป็นเจ้าของนั้นได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1025/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาหมั้น สินสอด และของขวัญในงานแต่งงานที่ไม่จดทะเบียนสมรส
ชายและหญิงทำพิธีแต่งงานและอยู่กินร่วมกันฉันสามีภรรยามาเป็นเวลา 6 เดือน และเป็นความประสงค์ของทั้งสองฝ่ายที่ไม่ต้องการจดทะเบียนสมรส ชายจะอ้างว่าหญิงผิดสัญญาเพราะเหตุไม่ยอมจดทะเบียนสมรสนั้นไม่ได้
เงินของขวัญและสิ่งของของขวัญที่ชายหญิงได้รับในวันแต่งงานชายหญิงนั้นย่อมเป็นเจ้าของร่วมกัน เมื่อชายหญิงได้เอาเงินของขวัญใช้จ่ายร่วมกันเป็นค่าเลี้ยงแขกในวันแต่งงานหมดแล้ว ชายจะมาฟ้องเรียกเอาส่วนครึ่งหนึ่งของจำนวนเงินของขวัญนั้นไม่ได้ ส่วนสิ่งของของขวัญ เมื่อได้ความว่าอยู่กับหญิงเช่นนี้ ชายยอมฟ้องเรียกเอาครึ่งหนึ่งได้
เงินของขวัญและสิ่งของของขวัญที่ชายหญิงได้รับในวันแต่งงานชายหญิงนั้นย่อมเป็นเจ้าของร่วมกัน เมื่อชายหญิงได้เอาเงินของขวัญใช้จ่ายร่วมกันเป็นค่าเลี้ยงแขกในวันแต่งงานหมดแล้ว ชายจะมาฟ้องเรียกเอาส่วนครึ่งหนึ่งของจำนวนเงินของขวัญนั้นไม่ได้ ส่วนสิ่งของของขวัญ เมื่อได้ความว่าอยู่กับหญิงเช่นนี้ ชายยอมฟ้องเรียกเอาครึ่งหนึ่งได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1025/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาแต่งงานไม่สมบูรณ์เมื่อไม่จดทะเบียนสมรส, การเป็นเจ้าของร่วมของขวัญ, สิทธิเรียกร้องค่าหมั้นและสินสอด
ชายและหญิงทำพิธีแต่งงานและอยู่กินร่วมกันฉันท์สามีภรรยามาเป็นเวลา 6 เดือน และเป็นความประสงค์ของทั้งสองฝ่ายที่ไม่ต้องการจดทะเบียนสมรส ชายจะอ้างว่าหญิงผิดสัญญาเพราะเหตุไม่ยอมจดทะเบียนสมรสนั้นไม่ได้
เงินของขวัญและสิ่งของของขวัญที่ชายหญิงได้รับในวันแต่งงาน ชายหญิงนั้นย่อมเป็นเจ้าของร่วมกัน เมื่อชายหญิงได้เอาเงินของขวัญใช้จ่ายร่วมกันเป็นค่าเลี้ยงแขกในวันแต่งงานหมดแล้ว ชายจะมาฟ้องเรียกเอาส่วนครึ่งหนึ่งของจำนวนเงินของขวัญนั้นไม่ได้ ส่วนสิ่งของของขวัญ เมื่อได้ความว่าอยู่กับหญิงเช่นนี้ ชายย่อมฟ้องเรียกเอาครึ่งหนึ่งได้
เงินของขวัญและสิ่งของของขวัญที่ชายหญิงได้รับในวันแต่งงาน ชายหญิงนั้นย่อมเป็นเจ้าของร่วมกัน เมื่อชายหญิงได้เอาเงินของขวัญใช้จ่ายร่วมกันเป็นค่าเลี้ยงแขกในวันแต่งงานหมดแล้ว ชายจะมาฟ้องเรียกเอาส่วนครึ่งหนึ่งของจำนวนเงินของขวัญนั้นไม่ได้ ส่วนสิ่งของของขวัญ เมื่อได้ความว่าอยู่กับหญิงเช่นนี้ ชายย่อมฟ้องเรียกเอาครึ่งหนึ่งได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 989/2500 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแย่งทำประโยชน์ในที่ดินร่วมของผู้มีกรรมสิทธิ์ การกระทำละเมิดและการคุ้มครองสิทธิผู้ทำประโยชน์
จำเลยที่ 1 เป็นเจ้าของและปกครองที่พิพาทอยู่ ได้อนุญาตให้โจทก์ใช้ที่ดินเพาะพันธ์ข้าวได้แล้ว โจทก์ก็มีสิทธิโดยชอบด้วยกฎหมายที่จะใช้ดินนั้นได้ เมื่อโจทก์สับถางที่ดินไว้เรียบร้อยแล้ว จำเลยที่ 2 แม้มีกรรมสิทธิ์ร่วมอยู่ด้วยในที่พิพาท กลับเข้าไปแย่งปลูกข้าวในที่ดินนั้นโดยรู้อยู่แล้วว่าโจทก์เข้าทำอยู่ก่อน การกระทำของจำเลยที่ 2 ย่อมเป็นการละเมิดต่อโจทก์.