พบผลลัพธ์ทั้งหมด 266 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 727/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เอกสารสัญญาประนีประนอมสูญหาย ศาลอนุญาตให้ใช้พยานบุคคลแทนได้
โจทก์ฟ้องอ้างถึงสัญญาประนีประนอมระหว่างมารดาโจทก์กับจำเลยว่ามีหลักฐานเป็นหนังสือที่อำเภอ มิได้รับว่า. ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ. ฉะนั้น จึงไม่ห้ามมิให้ศาลรับฟ้องไว้พิจารณา. โจทก์ขออ้างหนังสือดังกล่าวมาประกอบการพิจารณาในภายหลังได้. เมื่ออำเภอแจ้งมายังศาลว่าสัญญาประนีประนอมค้นหาไม่พบ.เนื่องจากเป็นเวลานานและมีการย้ายที่ว่าการอำเภอ. ไม่สามารถนำส่งได้. ย่อมถือได้ว่าเอกสารที่โจทก์อ้างสูญหาย. โจทก์อ้างพยานบุคคลและศาลยอมให้โจทก์นำพยานบุคคลเข้าสืบแทน.ก็ถือได้ว่าศาลชั้นต้นได้อนุญาตโดยปริยายชอบด้วยมาตรา 93(2). ศาลรับฟังคำพยานบุคคลของโจทก์ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 727/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับฟ้องคดีมรดกและการใช้พยานบุคคลแทนเอกสารสัญญาประนีประนอมที่สูญหาย
โจทก์ฟ้องอ้างถึงสัญญาประนีประนอมระหว่างมารดาโจทก์กับจำเลยว่ามีหลักฐานเป็นหนังสือที่อำเภอ มิได้รับว่าไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ ฉะนั้น จึงไม่ห้ามมิให้ศาลรับฟ้องไว้พิจารณาโจทก์ขออ้างหนังสือดังกล่าวมาประกอบการพิจารณาในภายหลังได้ เมื่ออำเภอแจ้งมายังศาลว่าสัญญาประนีประนอมค้นหาไม่พบเนื่องจากเป็นเวลานานและมีการย้ายที่ว่าการอำเภอ ไม่สามารถนำส่งได้ย่อมถือได้ว่าเอกสารที่โจทก์อ้างสูญหาย โจทก์อ้างพยานบุคคลและศาลยอมให้โจทก์นำพยานบุคคลเข้าสืบแทนก็ถือได้ว่าศาลชั้นต้นได้อนุญาตโดยปริยายชอบด้วยมาตรา 93(2) ศาลรับฟังคำพยานบุคคลของโจทก์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 313/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสืบพยานแทนเอกสารหาย: จำเลยมีสิทธิขอสืบพยานบุคคลแทนใบเสร็จที่หายไปได้ แม้ไม่ได้ยกประเด็นในคำให้การ
โจทก์ฟ้องเรียกเงินที่จำเลยกู้ไปจากโจทก์. จำเลยได้ต่อสู้ว่าจำเลยได้ชำระต้นเงินให้โจทก์ครบแล้ว. โจทก์ออกใบเสร็จให้แก่จำเลยไว้เป็นหลักฐาน. ฉะนั้นการที่จำเลยขอสืบพยานบุคคลในข้อที่ว่า. ใบเสร็จรับเงินที่โจทก์ออกให้แก่จำเลยหายไป 6 ฉบับ. จึงไม่ใช่ประเด็นแห่งคดี.เพราะประเด็นแห่งคดีมีว่า จำเลยได้ชำระต้นเงินให้แก่โจทก์ครบตามคำให้การโดยมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อโจทก์ซึ่งจำเลยได้ให้การไว้แล้วหรือไม่. จำเลยจึงไม่ต้องยกข้อเท็จจริง.ที่ว่า ใบเสร็จที่โจทก์ออกให้แก่จำเลยได้หายไปไว้ในคำให้การ. เพราะเป็นวิธีการนำสืบพยานบุคคลแทนเอกสารที่หายตามกฎหมายวิธีสบัญญัติ. เมื่อหลักฐานที่ต่อสู้ได้หายไป จำเลยมีสิทธิขออนุญาตศาลนำพยานบุคคลมาสืบแทนเอกสารที่หายไปได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 93(2). โดยกฎหมายไม่ได้บัญญัติว่า จำเลยจะต้องขออนุญาตศาลเมื่อใด. คดีนี้ เมื่อศาลสืบตัวจำเลยแล้ว. จำเลยแถลงขอสืบพยานจำเลยต่อไปในเรื่องใบเสร็จรับเงินที่โจทก์ออกให้แก่จำเลยไว้หายไป 6 ฉบับ. ถือได้ว่าจำเลยขออนุญาตสืบพยานบุคคลแทนพยานเอกสารที่หายไปตามกฎหมายดังกล่าวแล้ว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 313/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสืบพยานบุคคลแทนเอกสารที่หายในคดีแพ่ง การขออนุญาตศาล และการพิจารณาตามรูปคดี
โจทก์ฟ้องเรียกเงินที่จำเลยกู้ไปจากโจทก์ จำเลยได้ต่อสู้ว่าจำเลยได้ชำระต้นเงินให้โจทก์ครบแล้ว โจทก์ออกใบเสร็จให้แก่จำเลยไว้เป็นหลักฐาน ฉะนั้นการที่จำเลยขอสืบพยานบุคคลในข้อที่ว่า ใบเสร็จรับเงินที่โจทก์ออกให้แก่จำเลยหายไป 6 ฉบับ จึงไม่ใช่ประเด็นแห่งคดี เพราะประเด็นแห่งคดีมีว่า จำเลยได้ชำระต้นเงินให้แก่โจทก์ครบตามคำให้การโดยมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อโจทก์ซึ่งจำเลยได้ให้การไว้แล้วหรือไม่ จำเลยจึงไม่ต้องยกข้อเท็จจริงที่ว่า ใบเสร็จที่โจทก์ออกให้แก่จำเลยได้หายไปไว้ในคำให้การ เพราะเป็นวิธีการนำสืบพยานบุคคลแทนเอกสารที่หายตามกฎหมายวิธีสบัญญัติ เมื่อหลักฐานที่ต่อสู้ได้หายไป จำเลยมีสิทธิขออนุญาตศาลนำพยานบุคคลมาสืบแทนเอกสารที่หายไปได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 93(2) โดยกฎหมายไม่ได้บัญญัติว่า จำเลยจะต้องขออนุญาตศาลเมื่อใด คดีนี้ เมื่อศาลสืบตัวจำเลยแล้ว จำเลยแถลงขอสืบพยานจำเลยต่อไปในเรื่องใบเสร็จรับเงินที่โจทก์ออกให้แก่จำเลยไว้หายไป 6 ฉบับ ถือได้ว่าจำเลยขออนุญาตสืบพยานบุคคลแทนพยานเอกสารที่หายไปตามกฎหมายดังกล่าวแล้ว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 313/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสืบพยานแทนเอกสารหายในคดีแพ่ง: จำเลยมีสิทธิขอสืบพยานบุคคลแทนเอกสารใบเสร็จที่หายไปได้หากมีเหตุผล
โจทก์ฟ้องเรียกเงินที่จำเลยกู้ไปจากโจทก์จำเลยได้ต่อสู้ว่าจำเลยได้ชำระต้นเงินให้โจทก์ครบแล้วโจทก์ออกใบเสร็จให้แก่จำเลยไว้เป็นหลักฐานฉะนั้นการที่จำเลยขอสืบพยานบุคคลในข้อที่ว่าใบเสร็จรับเงินที่โจทก์ออกให้แก่จำเลยหายไป 6 ฉบับ จึงไม่ใช่ประเด็นแห่งคดีเพราะประเด็นแห่งคดีมีว่า จำเลยได้ชำระต้นเงินให้แก่โจทก์ครบตามคำให้การโดยมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อโจทก์ซึ่งจำเลยได้ให้การไว้แล้วหรือไม่ จำเลยจึงไม่ต้องยกข้อเท็จจริงที่ว่า ใบเสร็จที่โจทก์ออกให้แก่จำเลยได้หายไปไว้ในคำให้การ เพราะเป็นวิธีการนำสืบพยานบุคคลแทนเอกสารที่หายตามกฎหมายวิธีสบัญญัติ เมื่อหลักฐานที่ต่อสู้ได้หายไป จำเลยมีสิทธิขออนุญาตศาลนำพยานบุคคลมาสืบแทนเอกสารที่หายไปได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 93(2) โดยกฎหมายไม่ได้บัญญัติว่า จำเลยจะต้องขออนุญาตศาลเมื่อใดคดีนี้ เมื่อศาลสืบตัวจำเลยแล้วจำเลยแถลงขอสืบพยานจำเลยต่อไปในเรื่องใบเสร็จรับเงินที่โจทก์ออกให้แก่จำเลยไว้หายไป 6 ฉบับ ถือได้ว่าจำเลยขออนุญาตสืบพยานบุคคลแทนพยานเอกสารที่หายไปตามกฎหมายดังกล่าวแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 72/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนังสือสละมรดกที่ดิน: ความสมบูรณ์ของเอกสารและผลบังคับใช้เฉพาะทรัพย์สินที่ระบุ
เอกสาร ล.1 อยู่ในความอารักขาของทางอำเภอฉะนั้นสำเนาเอกสาร ล.1 ซึ่งนายอำเภอรับรองว่าถูกต้อง ย่อมรับฟังได้
ระเบียบพิธีการเกี่ยวกับการสละมรดกจะต้องทำอย่างไรและต้องเสียค่าธรรมเนียมทำหนังสือ ค่ารับมอบเก็บรักษาของอำเภอนั้นระเบียบเช่นว่านั้นไม่ใช่แบบบังคับเกี่ยวกับความสมบูรณ์ของเอกสารหมาย ล.1 ซึ่งเป็นสัญญาแบ่งปันมรดก
ที่ดินและเรือนเป็นทรัพย์มรดก แต่เอกสาร ล.1 กล่าวถึงเฉพาะที่ดิน ไม่ใช่เรือนจึงมิใช่เอกสารสละมรดกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1612 เพราะจะทำแต่เพียงบางส่วนไม่ได้ตามมาตรา 1613 อย่างไรก็ดี เอกสารหมายล.1 ก็เป็นหลักฐานแห่งสัญญาแบ่งปันมรดกซึ่งโจทก์ลงลายมือชื่อว่าโจทก์เป็นทายาทของเจ้ามรดก มีสิทธิรับมรดกที่ดินแต่โจทก์ไม่พึงประสงค์จะรับโอนมรดกต่อไปโจทก์ตกลงยินยอมให้จำเลยผู้เป็นภริยาของเจ้ามรดกเป็นผู้รับโอนไปแต่ผู้เดียวจึงมีผลบังคับเฉพาะที่ดินเท่านั้นไม่เกี่ยวกับเรือน
ระเบียบพิธีการเกี่ยวกับการสละมรดกจะต้องทำอย่างไรและต้องเสียค่าธรรมเนียมทำหนังสือ ค่ารับมอบเก็บรักษาของอำเภอนั้นระเบียบเช่นว่านั้นไม่ใช่แบบบังคับเกี่ยวกับความสมบูรณ์ของเอกสารหมาย ล.1 ซึ่งเป็นสัญญาแบ่งปันมรดก
ที่ดินและเรือนเป็นทรัพย์มรดก แต่เอกสาร ล.1 กล่าวถึงเฉพาะที่ดิน ไม่ใช่เรือนจึงมิใช่เอกสารสละมรดกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1612 เพราะจะทำแต่เพียงบางส่วนไม่ได้ตามมาตรา 1613 อย่างไรก็ดี เอกสารหมายล.1 ก็เป็นหลักฐานแห่งสัญญาแบ่งปันมรดกซึ่งโจทก์ลงลายมือชื่อว่าโจทก์เป็นทายาทของเจ้ามรดก มีสิทธิรับมรดกที่ดินแต่โจทก์ไม่พึงประสงค์จะรับโอนมรดกต่อไปโจทก์ตกลงยินยอมให้จำเลยผู้เป็นภริยาของเจ้ามรดกเป็นผู้รับโอนไปแต่ผู้เดียวจึงมีผลบังคับเฉพาะที่ดินเท่านั้นไม่เกี่ยวกับเรือน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 72/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนังสือสละมรดกที่ดิน: ความสมบูรณ์ของเอกสารและขอบเขตการสละมรดก
เอกสาร ล.1 อยู่ในความอารักขาของทางอำเภอ. ฉะนั้นสำเนาเอกสาร ล.1 ซึ่งนายอำเภอรับรองว่าถูกต้อง ย่อมรับฟังได้.
ระเบียบพิธีการเกี่ยวกับการสละมรดกจะต้องทำอย่างไร. และต้องเสียค่าธรรมเนียมทำหนังสือ ค่ารับมอบเก็บรักษาของอำเภอนั้น. ระเบียบเช่นว่านั้นไม่ใช่แบบบังคับเกี่ยวกับความสมบูรณ์ของเอกสารหมาย ล.1 ซึ่งเป็นสัญญาแบ่งปันมรดก.
ที่ดินและเรือนเป็นทรัพย์มรดก. แต่เอกสาร ล.1 กล่าวถึงเฉพาะที่ดิน ไม่ใช่เรือน. จึงมิใช่เอกสารสละมรดกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1612. เพราะจะทำแต่เพียงบางส่วนไม่ได้ตามมาตรา 1613. อย่างไรก็ดี เอกสารหมายล.1 ก็เป็นหลักฐานแห่งสัญญาแบ่งปันมรดก.ซึ่งโจทก์ลงลายมือชื่อว่าโจทก์เป็นทายาทของเจ้ามรดก มีสิทธิรับมรดกที่ดิน. แต่โจทก์ไม่พึงประสงค์จะรับโอนมรดกต่อไป.โจทก์ตกลงยินยอมให้จำเลยผู้เป็นภริยาของเจ้ามรดกเป็นผู้รับโอนไปแต่ผู้เดียว. จึงมีผลบังคับเฉพาะที่ดินเท่านั้น. ไม่เกี่ยวกับเรือน.
ระเบียบพิธีการเกี่ยวกับการสละมรดกจะต้องทำอย่างไร. และต้องเสียค่าธรรมเนียมทำหนังสือ ค่ารับมอบเก็บรักษาของอำเภอนั้น. ระเบียบเช่นว่านั้นไม่ใช่แบบบังคับเกี่ยวกับความสมบูรณ์ของเอกสารหมาย ล.1 ซึ่งเป็นสัญญาแบ่งปันมรดก.
ที่ดินและเรือนเป็นทรัพย์มรดก. แต่เอกสาร ล.1 กล่าวถึงเฉพาะที่ดิน ไม่ใช่เรือน. จึงมิใช่เอกสารสละมรดกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1612. เพราะจะทำแต่เพียงบางส่วนไม่ได้ตามมาตรา 1613. อย่างไรก็ดี เอกสารหมายล.1 ก็เป็นหลักฐานแห่งสัญญาแบ่งปันมรดก.ซึ่งโจทก์ลงลายมือชื่อว่าโจทก์เป็นทายาทของเจ้ามรดก มีสิทธิรับมรดกที่ดิน. แต่โจทก์ไม่พึงประสงค์จะรับโอนมรดกต่อไป.โจทก์ตกลงยินยอมให้จำเลยผู้เป็นภริยาของเจ้ามรดกเป็นผู้รับโอนไปแต่ผู้เดียว. จึงมีผลบังคับเฉพาะที่ดินเท่านั้น. ไม่เกี่ยวกับเรือน.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 72/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนังสือสละมรดกที่ดิน: ผลผูกพันเฉพาะส่วน และความสมบูรณ์ของเอกสาร
เอกสาร ล.1 อยู่ในความอารักขาของทางอำเภอ ฉะนั้น สำเนาเอกสาร ล.1 ซึ่งนายอำเภอรับรองว่าถูกต้อง ย่อมรับฟังได้
ระเบียบพิธีการ เกี่ยวกับการสละมรดกจะต้องทำอย่างไร และต้องเสียค่าธรรมเนียมทำหนังสือ ค่ารับมอบเก็บรักษาของอำเภอนั้น ระเบียบเช่นว่านั้นไม่ใช่แบบบังคับเกี่ยวกับความสมบูรณ์ของเอกสารหมาย ล.1 ซึ่งเป็นสัญญาแบ่งปันมรดก
ที่ดินและเรือนเป็นทรัพย์มรดก แต่เอกสาร ล.1 กล่าวถึงเฉพาะที่ดิน ไม่ใช่เรือน จึงมิใช่เอกสารสละมรดกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1612 เพราะจะทำแต่เพียงบางส่วนไม่ได้ตามมาตรา 1613 อย่างไรก็ดี เอกสารหมาย ล.1 ก็เป็นหลักฐานแห่งสัญญาแบ่งปันมรดกซึ่งโจทก์ลงลายมือชื่อว่าโจทก์เป็นทายาทของเจ้าของมรดก มีสิทธิรับมรดกที่ดิน แต่โจทก์ไม่พึงประสงค์จะรับโอนมรดกต่อไป โจทก์ตกลงยินยอมให้จำเลยผู้เป็นภริยาของเจ้ามรดกเป็นผู้รับโอนไปแต่ผู้เดียว จึงมีผลบังคับเฉพาะที่ดินเท่านั้น ไม่เกี่ยวกับเรือน
ระเบียบพิธีการ เกี่ยวกับการสละมรดกจะต้องทำอย่างไร และต้องเสียค่าธรรมเนียมทำหนังสือ ค่ารับมอบเก็บรักษาของอำเภอนั้น ระเบียบเช่นว่านั้นไม่ใช่แบบบังคับเกี่ยวกับความสมบูรณ์ของเอกสารหมาย ล.1 ซึ่งเป็นสัญญาแบ่งปันมรดก
ที่ดินและเรือนเป็นทรัพย์มรดก แต่เอกสาร ล.1 กล่าวถึงเฉพาะที่ดิน ไม่ใช่เรือน จึงมิใช่เอกสารสละมรดกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1612 เพราะจะทำแต่เพียงบางส่วนไม่ได้ตามมาตรา 1613 อย่างไรก็ดี เอกสารหมาย ล.1 ก็เป็นหลักฐานแห่งสัญญาแบ่งปันมรดกซึ่งโจทก์ลงลายมือชื่อว่าโจทก์เป็นทายาทของเจ้าของมรดก มีสิทธิรับมรดกที่ดิน แต่โจทก์ไม่พึงประสงค์จะรับโอนมรดกต่อไป โจทก์ตกลงยินยอมให้จำเลยผู้เป็นภริยาของเจ้ามรดกเป็นผู้รับโอนไปแต่ผู้เดียว จึงมีผลบังคับเฉพาะที่ดินเท่านั้น ไม่เกี่ยวกับเรือน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1813/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลในการเรียกเอกสารพยาน และหน้าที่ของผู้ครอบครองเอกสารตามกฎหมาย
สำนวนการสอบสวนคดีอาญาซึ่งอยู่ในความครอบครองของพนักงานอัยการ เมื่อศาลมีคำสั่งเรียกมาเพื่อใช้เป็นพยานหลักฐานในการพิจารณาคดีแพ่ง พนักงานอัยการจะไม่ยอมส่งโดยอ้างว่าผู้ต้องหาหลบหนียังอยู่ในระหว่างหมายจับ ถ้าจับได้มาจะไม่มีสำนวนดำเนินคดีนั้นไม่เป็นเหตุตามกฎหมายที่จะปฏิเสธคำสั่งของศาลได้ทั้งทางแก้ก็มีอยู่แล้วโดยการคัดสำเนาส่งศาลแทน
พนักงานอัยการเคยนำส่งสำนวนการสอบสวนมาศาลครั้งหนึ่งแล้วในวันพิจารณาและขอรับคืนไปเมื่อเสร็จการพิจารณาเฉพาะวัน ครั้นภายหลังศาลมีคำสั่งเรียกให้ส่งมาเพื่อใช้พิจารณาประกอบการพิพากษา พนักงานอัยการจะปฏิเสธไม่ยอมส่งโดยอ้างว่าเป็นความลับในราชการ ย่อมฟังไม่ขึ้น
การอนุญาตให้คู่ความอ้างเอกสารใดเป็นพยาน และจะมีคำสั่งเรียกมาหรือไม่เป็นอำนาจของศาลที่จะสั่งได้ตามกฎหมายผู้ครอบครองเอกสารจะโต้แย้งว่าศาลไม่ควรอนุญาตหรือไม่ควรเรียกมาหาได้ไม่
คำสั่งของศาลที่เรียกเอกสารจากผู้ครอบครองกฎหมายมิได้กำหนดแบบไว้ ศาลจะมีคำสั่งในรูปหนังสือราชการก็อาจทำได้
การหมายเรียกบุคคลที่ปฏิเสธไม่ยอมส่งเอกสารมาศาลเพื่อให้ชี้แจงเหตุผลนั้นเมื่อศาลมีคำสั่งยืนยันให้ส่งเอกสารก็แสดงอยู่ในตัวว่าการปฏิเสธนั้นไม่มีเหตุผลฟังได้
พนักงานอัยการเคยนำส่งสำนวนการสอบสวนมาศาลครั้งหนึ่งแล้วในวันพิจารณาและขอรับคืนไปเมื่อเสร็จการพิจารณาเฉพาะวัน ครั้นภายหลังศาลมีคำสั่งเรียกให้ส่งมาเพื่อใช้พิจารณาประกอบการพิพากษา พนักงานอัยการจะปฏิเสธไม่ยอมส่งโดยอ้างว่าเป็นความลับในราชการ ย่อมฟังไม่ขึ้น
การอนุญาตให้คู่ความอ้างเอกสารใดเป็นพยาน และจะมีคำสั่งเรียกมาหรือไม่เป็นอำนาจของศาลที่จะสั่งได้ตามกฎหมายผู้ครอบครองเอกสารจะโต้แย้งว่าศาลไม่ควรอนุญาตหรือไม่ควรเรียกมาหาได้ไม่
คำสั่งของศาลที่เรียกเอกสารจากผู้ครอบครองกฎหมายมิได้กำหนดแบบไว้ ศาลจะมีคำสั่งในรูปหนังสือราชการก็อาจทำได้
การหมายเรียกบุคคลที่ปฏิเสธไม่ยอมส่งเอกสารมาศาลเพื่อให้ชี้แจงเหตุผลนั้นเมื่อศาลมีคำสั่งยืนยันให้ส่งเอกสารก็แสดงอยู่ในตัวว่าการปฏิเสธนั้นไม่มีเหตุผลฟังได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1813/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลในการเรียกเอกสารพยานหลักฐาน และหน้าที่ของผู้ครอบครองเอกสารในการส่งมอบตามคำสั่งศาล แม้มีข้ออ้างเรื่องความลับ
สำนวนการสอบสวนคดีอาญาซึ่งอยู่ในความครอบครองของพนักงานอัยการ เมื่อศาลมีคำสั่งเรียกมาเพื่อใช้เป็นพยานหลักฐานในการพิจารณาคดีแพ่ง พนักงานอัยการจะไม่ยอมส่ง โดยอ้างว่าผู้ต้องหาหลบหนียังอยู่ในระหว่างหมายจับ ถ้าจับได้มา จะไม่มีสำนวนดำเนินคดีนั้น ไม่เป็นเหตุตามกฎหมายที่จะปฏิเสธคำสั่งของศาลได้ทั้งทางแก้ก็มีอยู่แล้วโดยการคัดสำเนาส่งศาลแทน
พนักงานอัยการเคยนำส่งสำนวนการสอบสวนมาศาลครั้งหนึ่งแล้วในวันพิจารณาและขอรับคืนไปเมื่อเสร็จการพิจารณาเฉพาะวัน ครั้นภายหลังศาลมีคำสั่งเรียกให้ส่งมาเพื่อใช้พิจารณาประกอบการพิพากษา พนักงานอัยการจะปฏิเสธไม่ยอมส่งโดยอ้างว่าเป็นความลับในราชการ ย่อมฟังไม่ขึ้น
การอนุญาตให้คู่ความอ้างเอกสารใดเป็นพยาน และจะมีคำสั่งเรียกมาหรือไม่เป็นอำนาจของศาลที่จะสั่งได้ตามกฎหมายผู้ครอบครองเอกสารจะโต้แย้งว่า ศาลไม่ควรอนุญาตหรือ ไม่ควรเรียกมาหาได้ไม่
คำสั่งของศาลที่เรียกเอกสารจากผู้ครอบครอง กฎหมายมิได้กำหนดแบบไว้ ศาลจะมีคำสั่งในรูปหนังสือราชการก็อาจทำได้
การหมายเรียกบุคคลที่ปฏิเสธไม่ยอมส่งเอกสารมาศาลเพื่อให้ชี้แจงเหตุผลนั้น เมื่อศาลมีคำสั่งยืนยันให้ส่งเอกสารก็แสดงอยู่ในตัวว่าการปฏิเสธนั้นไม่มีเหตุผลฟังได้
พนักงานอัยการเคยนำส่งสำนวนการสอบสวนมาศาลครั้งหนึ่งแล้วในวันพิจารณาและขอรับคืนไปเมื่อเสร็จการพิจารณาเฉพาะวัน ครั้นภายหลังศาลมีคำสั่งเรียกให้ส่งมาเพื่อใช้พิจารณาประกอบการพิพากษา พนักงานอัยการจะปฏิเสธไม่ยอมส่งโดยอ้างว่าเป็นความลับในราชการ ย่อมฟังไม่ขึ้น
การอนุญาตให้คู่ความอ้างเอกสารใดเป็นพยาน และจะมีคำสั่งเรียกมาหรือไม่เป็นอำนาจของศาลที่จะสั่งได้ตามกฎหมายผู้ครอบครองเอกสารจะโต้แย้งว่า ศาลไม่ควรอนุญาตหรือ ไม่ควรเรียกมาหาได้ไม่
คำสั่งของศาลที่เรียกเอกสารจากผู้ครอบครอง กฎหมายมิได้กำหนดแบบไว้ ศาลจะมีคำสั่งในรูปหนังสือราชการก็อาจทำได้
การหมายเรียกบุคคลที่ปฏิเสธไม่ยอมส่งเอกสารมาศาลเพื่อให้ชี้แจงเหตุผลนั้น เมื่อศาลมีคำสั่งยืนยันให้ส่งเอกสารก็แสดงอยู่ในตัวว่าการปฏิเสธนั้นไม่มีเหตุผลฟังได้