คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
ปรีชา ธนานันท์

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 361 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2293/2533 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ หนี้ที่ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ ไม่อาจบังคับคดีได้ แม้มีประกันหนี้ก็ไม่มีสิทธิยึดถือไว้ได้
ส. ยืมเงินจำเลยไปโดยมอบหนังสือรับรองการทำประโยชน์ฉบับพิพาทให้จำเลยยึดถือไว้เป็นประกันหนี้ แต่ไม่มีหลักฐานการกู้ยืมเงินเป็นหนังสือ ดังนี้ แม้ ส. จะยังไม่ได้ชำระหนี้แก่จำเลย จำเลยก็ไม่อาจฟ้องร้องให้บังคับคดีได้ เมื่อหนี้ที่จำเลยอาศัยเป็นมูลเหตุให้ยึดถือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ฉบับพิพาทไม่อาจฟ้องร้องให้บังคับคดีได้ จำเลยจึงไม่มีสิทธิยึดถือหนังสือรับรองการทำประโยชน์นั้นไว้เป็นประกันหนี้ต่อไป

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2293/2533

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยึดถือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เป็นประกันหนี้ที่ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ ไม่อาจบังคับคดีได้
ส. ยืมเงินจำเลยไปโดยมอบหนังสือรับรองการทำประโยชน์ฉบับพิพาทให้จำเลยยึดถือไว้เป็นประกันหนี้ แต่ไม่มีหลักฐานการกู้ยืมเงินเป็นหนังสือ ดังนี้ แม้ ส. จะยังไม่ได้ชำระหนี้แก่จำเลย จำเลยก็ไม่อาจฟ้องร้องให้บังคับคดีได้ เมื่อหนี้ที่จำเลยอาศัยเป็นมูลเหตุให้ยึดถือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ฉบับ พิพาทไม่อาจฟ้องร้องให้บังคับคดีได้ จำเลยจึงไม่มีสิทธิยึดถือหนังสือรับรองการทำประโยชน์นั้นไว้เป็นประกันหนี้ต่อไป.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2293/2533 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยึดถือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เป็นประกันหนี้ที่ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ
ส. ยืมเงินจำเลยไปโดยมอบหนังสือรับรองการทำประโยชน์ฉบับพิพาทให้จำเลยยึดถือไว้เป็นประกันหนี้ แต่ไม่มีหลักฐานการกู้ยืมเงินเป็นหนังสือ ดังนี้ แม้ ส. จะยังไม่ได้ชำระหนี้แก่จำเลย จำเลยก็ไม่อาจฟ้องร้องให้บังคับคดีได้ เมื่อหนี้ที่จำเลยอาศัยเป็นมูลเหตุให้ยึดถือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ฉบับพิพาทไม่อาจฟ้องร้องให้บังคับคดีได้ จำเลยจึงไม่มีสิทธิยึดถือหนังสือรับรองการทำประโยชน์นั้นไว้เป็นประกันหนี้ต่อไป
(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 229/2532 ประชุมใหญ่)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2240/2533

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เจตนาฆ่าจากการทำร้ายด้วยอาวุธอันตราย ศาลฎีกาวินิจฉัยเจตนาจากพฤติการณ์การกระทำ
จำเลยใช้ไม้หน้ากว้าง 4 นิ้ว หนา 2 นิ้ว ยาว 2 ฟุต 8 นิ้วซึ่งเป็นไม้ขนาดใหญ่ ลักษณะเป็นไม้เนื้อแข็งใช้สำหรับทำวงกบประตูหรือหน้าต่าง ตีที่ศีรษะผู้ตายในขณะที่ผู้ตายนั่งอยู่ไม่ได้ระวังตัว เป็นการเลือกตีตามใจชอบและเลือกตีที่สำคัญแม้จะตีเพียงทีเดียว และกะโหลกศีรษะผู้ตายไม่แตกร้าว แต่เมื่อถูกตีแล้วผู้ตายก็ฟุบลงกับโต๊ะทันทีและมีเลือดคั่งในสมองส่วนลึก แสดงว่าจำเลยตีผู้ตายอย่างแรง และปรากฏว่าผู้ตายถึงแก่ความตายในเวลาต่อมาพฤติการณ์เช่นนี้จำเลยย่อมเล็งเห็นผลได้ว่าอาจทำให้ผู้ตายถึงแก่ความตาย จำเลยจึงมีเจตนาฆ่าผู้ตาย ไม้ของกลางโจทก์ไม่ได้โต้แย้งว่าเจ้าของแท้จริงรู้เห็นเป็นใจด้วยในการกระทำผิด จึงไม่มีเหตุที่ศาลฎีกาจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขคำวินิจฉัยของศาลอุทธรณ์ในส่วนที่พิพากษาว่าไม่ริบไม้ของกลาง

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2240/2533 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เจตนาฆ่าจากการทำร้ายด้วยอาวุธอันตราย ศาลฎีกาตัดสินว่าการกระทำนั้นเล็งเห็นผลถึงความตายได้
จำเลยใช้ไม้หน้ากว้าง 4 นิ้ว หนา 2 นิ้ว ยาว 2 ฟุต 8 นิ้วซึ่งเป็นไม้ขนาดใหญ่ ลักษณะเป็นไม้เนื้อแข็งใช้สำหรับทำวงกบประตูหรือหน้าต่าง ตีที่ศีรษะผู้ตายในขณะที่ผู้ตายนั่งอยู่ไม่ได้ระวังตัว เป็นการเลือกตีตามใจชอบและเลือกตีที่สำคัญแม้จะตีเพียงทีเดียว และกะโหลกศีรษะผู้ตายไม่แตกร้าว แต่เมื่อถูกตีแล้วผู้ตายก็ฟุบลงกับโต๊ะทันทีและมีเลือดคั่งในสมองส่วนลึก แสดงว่าจำเลยตีผู้ตายอย่างแรง และปรากฏว่าผู้ตายถึงแก่ความตายในเวลาต่อมาพฤติการณ์เช่นนี้จำเลยย่อมเล็งเห็นผลได้ว่าอาจทำให้ผู้ตายถึงแก่ความตาย จำเลยจึงมีเจตนาฆ่าผู้ตาย
ไม้ของกลางโจทก์ไม่ได้โต้แย้งว่าเจ้าของแท้จริงรู้เห็นเป็นใจด้วยในการกระทำผิด จึงไม่มีเหตุที่ศาลฎีกาจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขคำวินิจฉัยของศาลอุทธรณ์ในส่วนที่พิพากษาว่าไม่ริบไม้ของกลาง

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2240/2533 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เจตนาฆ่าจากการทำร้ายด้วยอาวุธอันตราย ศาลพิจารณาจากลักษณะการทำร้ายและผลที่เกิดขึ้น
การที่จำเลยใช้ไม้หน้ากว้าง 4 นิ้ว หนา 2 นิ้ว ยาว 2 ฟุต 8 นิ้วซึ่งเป็นไม้ขนาดใหญ่และเป็นไม้เนื้อแข็งใช้สำหรับทำวงกบประตูหรือหน้าต่างตีที่ศีรษะผู้ตาย ในขณะที่ผู้ตายนั่งอยู่ไม่ได้ระวังตัวเป็นการเลือกตีตามใจชอบและเลือกตีที่สำคัญ แม้จะตีเพียงทีเดียวและกะโหลก ศีรษะผู้ตายไม่แตกร้าวก็ตาม แต่ปรากฏว่ามีเลือดคั่งในสมองส่วนลึกของผู้ตาย แสดงว่าจำเลยตีผู้ตายอย่างแรง และปรากฏว่าผู้ตายถึงแก่ความตายในเวลาต่อมา พฤติการณ์เช่นนั้น จำเลยย่อมเล็งเห็นได้ว่า อาจทำให้ผู้ตายถึงแก่ความตายได้ ฟังได้ว่าจำเลยมีเจตนาฆ่าผู้ตาย.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2236/2533 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การลาหยุดของลูกจ้าง: เหตุผลอันสมควร, คำเตือน, และสิทธิในการรับค่าชดเชย
มารดาโจทก์เป็นโรคความดันโลหิตสูงซึ่งได้รับการรักษาตามปกติไม่ปรากฏว่ามีอาการรุนแรงและเฉียบพลัน และไม่ได้ป่วยหนักจนเป็นเหตุให้โจทก์ต้องรีบเดินทางไปทันที การที่โจทก์ขาดงานไปเยี่ยมมารดาโดยไม่ลากิจ ให้ถูกต้อง จึงเป็นการละทิ้งหน้าที่โดยไม่มีเหตุอันสมควร การที่ นาย จ้างมีระเบียบห้ามมิให้ลูกจ้างลาหยุดโดยไม่มีเหตุอันสมควรหรือลาหยุดเป็นประจำนั้น มิได้หมายความว่าถ้าลูกจ้างฝ่าฝืนแล้วจะต้องมีความผิด เพราะถ้าลูกจ้างยื่นใบลาโดยไม่มีเหตุสมควรหรือลาหยุดบ่อย นายจ้างก็สามารถจะไม่อนุญาตให้ลาหยุดได้ถ้าลูกจ้างลาหยุดโดยนายจ้างอนุญาตแล้ว แม้เป็นการลาหยุดโดยไม่มีเหตุอันสมควรหรือลาหยุดเป็นประจำ จะถือว่าเป็นความผิดของลูกจ้างไม่ได้ และการลากิจ ลาป่วยบ่อย ๆ ของลูกจ้าง ไม่ใช่การกระทำผิดไม่ต้องด้วยประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน ข้อ 47(3) ในอันที่จะเลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2236/2533 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเลิกจ้างลูกจ้าง: เหตุผลความจำเป็น, การลาหยุด, และสิทธิในการได้รับค่าชดเชย
มารดาโจทก์เป็นโรคความดันโลหิตสูงซึ่งได้รับการรักษาตามปกติไม่ปรากฏว่ามีอาการรุนแรงและเฉียบพลัน และไม่ได้ป่วยหนักจนเป็นเหตุให้โจทก์ต้องรีบเดินทางไปทันที การที่โจทก์ขาดงานไปเยี่ยมมารดาโดยไม่ลากิจให้ถูกต้อง จึงเป็นการละทิ้งหน้าที่โดยไม่มีเหตุอันสมควร การที่นายจ้างมีระเบียบห้ามมิให้ลูกจ้างลาหยุดโดยไม่มีเหตุอันสมควรหรือลาหยุดเป็นประจำนั้น มิได้หมายความว่าถ้าลูกจ้างฝ่าฝืนแล้วจะต้องมีความผิด เพราะถ้าลูกจ้างยื่นใบลาโดยไม่มีเหตุสมควรหรือลาหยุดบ่อย นายจ้างก็สามารถจะไม่อนุญาตให้ลาหยุดได้ถ้าลูกจ้างลาหยุดโดยนายจ้างอนุญาตแล้ว แม้เป็นการลาหยุดโดยไม่มีเหตุอันสมควรหรือลาหยุดเป็นประจำ จะถือว่าเป็นความผิดของลูกจ้างไม่ได้ และการลากิจ ลาป่วยบ่อย ๆ ของลูกจ้าง ไม่ใช่การกระทำผิดไม่ต้องด้วยประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงานข้อ 47(3) นายจ้างจะเลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชยไม่ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2236-2237/2533

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเลิกจ้างและการจ่ายค่าชดเชย กรณีลูกจ้างลางานไม่ถูกต้องและบ่อยครั้ง นายจ้างต้องพิจารณาเหตุผลที่สมควร
มารดาโจทก์เป็นโรคความดันโลหิตสูงซึ่งได้ รับการรักษาตามปกติไม่ปรากฏว่ามีอาการรุนแรงและเฉียบพลัน และไม่ได้ป่วยหนักจนเป็นเหตุให้โจทก์ต้องรีบเดินทางไปทันที การที่โจทก์ขาดงานไปเยี่ยมมารดาโดยไม่ลากิจให้ถูกต้อง จึงเป็นการละทิ้งหน้าที่โดยไม่มีเหตุอันสมควร
การที่นายจ้างมีระเบียบห้ามมิให้ลูกจ้างลาหยุดโดยไม่มีเหตุอันสมควรหรือลาหยุดเป็นประจำนั้น มิได้หมายความว่าถ้าลูกจ้างฝ่าฝืนแล้วจะต้องมีความผิด เพราะถ้าลูกจ้างยื่นใบลาโดยไม่มีเหตุสมควรหรือลาหยุดบ่อย นายจ้างก็สามารถจะไม่อนุญาตให้ลาหยุดได้ ถ้าลูกจ้างลาหยุดโดยนายจ้างอนุญาตแล้ว แม้เป็นการลาหยุดโดยไม่มีเหตุอันสมควรหรือลาหยุดเป็นประจำ จะถือว่าเป็นความผิดของลูกจ้างไม่ได้ และการลากิจ ลาป่วยบ่อย ๆ ของลูกจ้าง ไม่ใช่การกระทำผิดไม่ต้องด้วย ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงาน ข้อ 47 (3)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2132/2533 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ข้อจำกัดการฎีกาประเด็นใหม่ & การพิพากษาเกินคำขอในคดีเช่าซื้อ
ปัญหาที่ว่าโจทก์นำรถคันที่เช่าซื้อออกขายทอดตลาดโดยไม่สุจริตราคาต่ำกว่าความเป็นจริงนั้น เป็นข้อเท็จจริงที่คู่ความมิได้ยกขึ้นว่ากันมาในศาลอุทธรณ์ จึงต้องห้ามฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 การที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้จำเลยทั้งสองชำระเงินค่าติดตามรถแก่โจทก์โดยที่โจทก์มิได้ขอให้ศาลบังคับจำเลยทั้งสองชำระเงินจำนวนนี้เป็นการพิพากษาเกินคำขอ
of 37