พบผลลัพธ์ทั้งหมด 252 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2375/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจกรรมการลงนามในสัญญาประนีประนอมยอมความต้องเป็นไปตามข้อบังคับบริษัท หากไม่เป็นไปตามข้อบังคับ สัญญาเป็นโมฆะ
ในการทำสัญญาประนีประนอมยอมความระหว่างโจทก์กับจำเลยส.กรรมการบริษัทจำเลยเพียงคนเดียวลงชื่อในสัญญาประนีประนอมยอมความแทนจำเลยซึ่งเป็นการไม่ชอบด้วยข้อบังคับของจำเลยที่ต้องมีกรรมการของจำเลยตามที่ระบุชื่อไว้ในข้อบังคับจำนวนสองคนร่วมกันลงลายมือชื่อและประทับตราสำคัญของบริษัทด้วยสัญญาประนีประนอมยอมความย่อมไม่สมบูรณ์ไม่มีผลผูกพันจำเลยการที่โจทก์ทำสัญญาประนีประนอมยอมความกับส.และศาลแรงงานกลางได้พิพากษาตามยอมนั้นจึงเป็นการกระทำโดยละเมิดต่อบทบัญญัติแห่งกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา138วรรค2(2)ไม่มีผลบังคับ.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3218/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจสั่งจ่ายเช็คหลังพ้นตำแหน่ง: ผู้สั่งจ่ายที่พ้นสถานะไม่ผูกพัน ห้างไม่ต้องรับผิด
จำเลยที่ 2 เคยเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการของห้างจำเลยที่ 1 แต่ได้สั่งจ่ายเช็คพิพาท เมื่อพ้นจากการเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการของห้างจำเลยที่ 1 ไปแล้วมีผลเท่ากับขณะออกเช็คพิพาทผู้มีอำนาจทำการแทนจำเลยที่ 1 ไม่ได้ลงชื่อ เป็นผู้สั่งจ่ายจำเลยที่ 1 จึงไม่ต้องรับผิดตามเช็ค
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3218/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจสั่งจ่ายเช็คหลังพ้นตำแหน่ง: ผู้สั่งจ่ายที่หมดอำนาจไม่ผูกพันห้าง
จำเลยที่ 2 เคยเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการของห้างจำเลยที่1แต่ได้สั่งจ่ายเช็คพิพาท เมื่อพ้นจากการเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการของห้างจำเลยที่ 1 ไปแล้วมีผลเท่ากับขณะออกเช็คพิพาทผู้มีอำนาจทำการแทนจำเลยที่ 1 ไม่ได้ลงชื่อ เป็นผู้สั่งจ่ายจำเลยที่ 1 จึงไม่ต้องรับผิดตามเช็ค
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3208/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นายจ้างต้องรับผิดต่อละเมิดของลูกจ้างที่อยู่ในขอบเขตหน้าที่ แม้จะนอกเวลาราชการ
จำเลยที่ 2 เป็นทหารพลขับ มีหน้าที่ขับรถยนต์คันเกิดเหตุของจำเลยที่ 1 เป็นประจำและเป็นผู้ครอบครองดูแลรถดังกล่าว ได้ขับรถไปปฏิบัติราชการตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชา เมื่อเสร็จภาระกิจแล้วได้นำรถออกจากค่ายเพื่อไปรับประทานอาหารที่ตลาดแม้จะหมดเวลาราชการและมิได้ขออนุญาตจากผู้บังคับบัญชา แต่ก็เป็นเวลาต่อเนื่องคาบเกี่ยวกับจำเลยที่ 2 กลับจากไปปฏิบัติราชการ ของจำเลยที่ 1 มา แล้วเลยใช้รถขับไปเพื่อหาอาหารรับประทาน ถือได้ว่าจำเลยที่ 2 ยังอยู่ในระหว่างการปฏิบัติงานซึ่งได้กระทำการ ตามหน้าที่การงานของจำเลยที่1 เมื่อจำเลยที่ 2 ไปทำละเมิดก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลภายนอกจำเลยที่1ต้องร่วมรับผิดด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3208/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นายจ้างต้องรับผิดต่อละเมิดของลูกจ้างเมื่ออยู่ในขอบเขตหน้าที่ แม้จะนอกเวลาราชการ
จำเลยที่ 2 เป็นทหารพลขับ มีหน้าที่ขับรถยนต์คันเกิดเหตุของจำเลยที่ 1 เป็นประจำและเป็นผู้ครอบครองดูแลรถ ดังกล่าว ได้ขับรถไปปฏิบัติราชการตามคำสั่งของ ผู้บังคับบัญชา เมื่อเสร็จภาระกิจแล้วได้นำรถออกจาก ค่ายเพื่อไปรับประทานอาหารที่ตลาด แม้จะหมดเวลาราชการ และมิได้ขออนุญาตจากผู้บังคับบัญชา แต่ก็เป็นเวลาต่อเนื่องคาบเกี่ยวกับจำเลยที่ 2 กลับจากไปปฏิบัติราชการ ของ จำเลยที่ 1 มา แล้วเลยใช้รถขับไปเพื่อหาอาหารรับประทาน ถือได้ว่าจำเลยที่ 2 ยังอยู่ในระหว่างการปฏิบัติงานซึ่งได้กระทำการ ตามหน้าที่การงานของจำเลยที่ 1 เมื่อจำเลยที่ 2 ไปทำละเมิดก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลภายนอกจำเลยที่ 1 ต้องร่วมรับผิดด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2816/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของเจ้าหน้าที่และนิติบุคคลต่อความเสียหายจากความประมาทเลินเล่อในการส่งโทรเลข
ตามพระราชบัญญัติการสื่อสารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2519 ที่บัญญัติให้ใช้พระราชบัญญัติโทรเลขและโทรศัพท์ พุทธศักราช 2477 เท่าที่ไม่ขัดหรือแย่งกันนั้น ตามมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติโทรเลขและโทรศัพท์ดังกล่าวบัญญัติว่า "รัฐบาลไม่ต้องรับผิดในการสูญหายหรือเสียหายอย่างหนึ่งอย่างใดซึ่งหากเกิดขึ้นเพราะเหตุที่เครื่องโทรเลขใช้การไม่สะดวก หรือพนักงานโทรเลขคนใดบกพร่องต่อหน้าที่อันเกี่ยวแก่การรับส่ง หรือการส่งมอบข่าวสารใด ๆ และพนักงานนั้น ๆ ก็ไม่ต้องรับผิดชอบในการสูญหายหรือเสียหายนั้น ๆ เว้นแต่ตนจะก่อให้เกิดขึ้นโดยเจตนาหรือโดยกลฉ้อฉล หรือโดยความประมาทเลินเล่อ"แสดงว่าจำเลยจะไม่ต้องรับผิดต่อโจทก์ก็ต่อเมื่อเป็นการกระทำที่เกิดจากปฏิบัติหน้าที่ตามปกติของจำเลย ข้อยกเว้นความรับผิดดังกล่าวไม่รวมถึงการที่พนักงานโทรเลขก่อให้เกิดขึ้นโดยเจตนาหรือโดยกลฉ้อฉลหรือโดยความประมาทเลินเล่อ เมื่อฟังได้ว่าจำเลยที่ 1 ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความประมาทเลินเล่อ จำเลยที่ 1และจำเลยที่ 2 จึงไม่ได้รับยกเว้นความรับผิดตามกฎหมายดังกล่าว
แม้จำเลยที่ 1 จะมิใช่ลูกจ้างหรือตัวแทนของการสื่อสารแห่งประเทศไทยจำเลยที่ 2 แต่จำเลยที่ 1 ก็เป็นพนักงานในสังกัดของจำเลยที่ 2 ปฏิบัติหน้าที่การงานตามที่ได้รับมอบหมายจากจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นนิติบุคคลและเป็นผู้บังคับบัญชาเมื่อจำเลยที่ 1 ปฏิบัติหน้าที่การงานโดยประมาทเลินเล่อ ทำให้โจทก์ ได้รับความเสียหาย จำเลยที่ 2 ต้องร่ามรับผิดด้วย
การที่โจทก์ได้รับความเศร้าโศกเสียใจ เนื่องจากได้รับโทรเลขที่จำเลยที่ 1ปรุข้อความผิดเป็นว่าบุตรสาวโจทก์ถึงแก่กรรมแล้วนั้น ความเศร้าโศกเสียใจของโจทก์เป็นเพียงอารมณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อทราบข่าวร้าย ไม่มีบทกฎหมายใดที่บัญญัติให้สิทธิโจทก์เรียกค่าเสียหายในเรื่องนี้ได้
แม้จำเลยที่ 1 จะมิใช่ลูกจ้างหรือตัวแทนของการสื่อสารแห่งประเทศไทยจำเลยที่ 2 แต่จำเลยที่ 1 ก็เป็นพนักงานในสังกัดของจำเลยที่ 2 ปฏิบัติหน้าที่การงานตามที่ได้รับมอบหมายจากจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นนิติบุคคลและเป็นผู้บังคับบัญชาเมื่อจำเลยที่ 1 ปฏิบัติหน้าที่การงานโดยประมาทเลินเล่อ ทำให้โจทก์ ได้รับความเสียหาย จำเลยที่ 2 ต้องร่ามรับผิดด้วย
การที่โจทก์ได้รับความเศร้าโศกเสียใจ เนื่องจากได้รับโทรเลขที่จำเลยที่ 1ปรุข้อความผิดเป็นว่าบุตรสาวโจทก์ถึงแก่กรรมแล้วนั้น ความเศร้าโศกเสียใจของโจทก์เป็นเพียงอารมณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อทราบข่าวร้าย ไม่มีบทกฎหมายใดที่บัญญัติให้สิทธิโจทก์เรียกค่าเสียหายในเรื่องนี้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2321/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแสดงเจตนาของตัวแทนที่เกินอำนาจและการรับผิดของหลักประกันที่ยอมให้ใช้ชื่อ
จำเลยที่ 1 โดยจำเลยที่ 2 ทำสัญญาขายลดตั๋วเงินกับ โจทก์ต่อมาจำเลยที่ 2 มอบเช็คให้ ส.นำไปแลกเงินจาก โจทก์ โดยมีจดหมายไปถึงพนักงานสินเชื่อของโจทก์ให้จัดการ เรื่องแลกเช็คกระดาษที่เขียนก็เป็นกระดาษแบบพิมพ์ของ จำเลยที่ 1 มีตราและชื่อโรงพยาบาลบนหัวกระดาษข้อความก็ ระบุว่ากำลังขยายโรงพยาบาลจำเลยที่ 1เช่นนี้ ย่อมทำให้ โจทก์เข้าใจว่าเช็คดังกล่าวเป็นเช็คที่โรงพยาบาลจำเลยที่ 1 เป็นผู้ทรงและเงินที่แลกไปนั้นต้องนำไปใช้ในกิจการของ โรงพยาบาลจำเลยที่ 1 ดังนั้นแม้จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็น กรรมการผู้จัดการบริษัทจำเลยที่ 1 ลงชื่อสลักหลังแต่ผู้เดียว โดยมิได้ประทับตราบริษัทจำเลยที่ 1 ตามข้อบังคับของบริษัทจำเลยที่ 1 ก็ตามแต่พฤติการณ์ดังกล่าวย่อมแสดงว่า จำเลยที่ 1 รู้แล้วยอมให้จำเลยที่ 2 เชิดตัวจำเลยที่ 2 ออกแสดงเป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1จำเลยที่ 1 จึง ต้องรับผิด
สิทธิเรียกร้องอันเนื่องมาจากสัญญาซื้อขายลดตั๋วเงินมี อายุความฟ้องร้อง 10 ปี
สิทธิเรียกร้องอันเนื่องมาจากสัญญาซื้อขายลดตั๋วเงินมี อายุความฟ้องร้อง 10 ปี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2321/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแสดงเจตนาทางแพ่ง: การยอมให้ผู้อื่นแสดงเจตนาแทนและผลผูกพันตามสัญญาซื้อขายลดตั๋วเงิน
จำเลยที่ 1 โดยจำเลยที่ 2 ทำสัญญาขายลดตั๋วเงินกับ โจทก์ต่อมาจำเลยที่ 2 มอบเช็คให้ ส.นำไปแลกเงินจาก โจทก์ โดยมีจดหมายไปถึงพนักงานสินเชื่อของโจทก์ให้จัดการ เรื่องแลกเช็คกระดาษที่เขียนก็เป็นกระดาษแบบพิมพ์ของ จำเลยที่ 1 มีตราและชื่อโรงพยาบาลบนหัวกระดาษข้อความก็ระบุว่ากำลังขยายโรงพยาบาลจำเลยที่ 1 เช่นนี้ ย่อมทำให้ โจทก์เข้าใจว่าเช็คดังกล่าวเป็นเช็คที่โรงพยาบาลจำเลยที่ 1 เป็นผู้ทรงและเงินที่แลกไปนั้นต้องนำไปใช้ในกิจการของ โรงพยาบาลจำเลยที่ 1 ดังนั้นแม้จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็น กรรมการผู้จัดการบริษัทจำเลยที่ 1 ลงชื่อสลักหลังแต่ผู้เดียว โดยมิได้ประทับตราบริษัทจำเลยที่ 1 ตามข้อบังคับของบริษัทจำเลยที่ 1 ก็ตามแต่พฤติการณ์ดังกล่าวย่อมแสดงว่า จำเลยที่ 1 รู้แล้วยอมให้จำเลยที่ 2 เชิดตัวจำเลยที่ 2 ออกแสดงเป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1จำเลยที่ 1 จึง ต้องรับผิด
สิทธิเรียกร้องอันเนื่องมาจากสัญญาซื้อขายลดตั๋วเงินมีอายุความฟ้องร้อง 10 ปี
สิทธิเรียกร้องอันเนื่องมาจากสัญญาซื้อขายลดตั๋วเงินมีอายุความฟ้องร้อง 10 ปี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2022/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของนายจ้าง/เจ้าของรถต่อการละเมิดของลูกจ้าง/ผู้ขับขี่ และประเด็นการวินิจฉัยนอกคำฟ้อง
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 5 เป็นห้างหุ้นส่วนจำกัดเป็นเจ้าของและผู้ครอบครองรถยนต์บรรทุกคันเกิดเหตุจำเลยที่ 4 เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่ 5 จำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างหรือตัวแทนของจำเลยที่ 4 ได้ขับรถยนต์บรรทุกไปในทางการที่จ้างหรือตามคำสั่งของจำเลยที่ 4 ชนรถโจทก์เสียหายดังนี้คำฟ้องของโจทก์ย่อมมีความหมายว่า จำเลยที่ 4 ในฐานะหุ้นส่วนผู้จัดการห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่ 5 เป็นเพียงผู้แทนของจำเลยที่ 5 ซึ่งเป็นนิติบุคคลเท่านั้น ซึ่งพอเข้าใจว่าจำเลยที่1เป็นลูกจ้างของจำเลยที่ 5 และได้ขับรถยนต์บรรทุกไปในทางการที่จ้างหรือตามคำสั่งของห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่ 5 โดยจำเลยที่ 4 ซึ่งเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการทำแทน จึงเป็นคำฟ้องที่ให้จำเลยที่ 5 รับผิดในฐานะนายจ้างหรือตัวการของจำเลยที่ 1ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 425 และ มาตรา 820 แล้ว
การที่จำเลยที่ 4 เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการของห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่ 5และศาลกะประเด็นข้อพิพาทว่า การที่จำเลยที่ 1 ขับรถก่อการละเมิดในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 4 หรือไม่เป็นการกะประเด็นกว้างๆซึ่งย่อมหมายถึงจำเลยที่ 4 ในฐานะผู้แทนของห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่ 5 และที่กะประเด็นอีกข้อหนึ่งว่า จำเลยที่ 2 ถึงที่ 6 จะต้องรับผิดต่อโจทก์ในผลแห่งการละเมิดของจำเลยที่ 1 เพียงใดหรือไม่ย่อมหมายถึงจำเลยที่ 4 ในฐานะส่วนตัว และหมายถึงจำเลยที่ 5 โดยมีจำเลยที่ 4 เป็นผู้แทน ดังนั้น ที่ศาลพิพากษาให้จำเลยที่ 5 รับผิดในฐานะที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างและกระทำไปในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 5 จึงไม่เป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น
การที่จำเลยที่ 4 เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการของห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่ 5และศาลกะประเด็นข้อพิพาทว่า การที่จำเลยที่ 1 ขับรถก่อการละเมิดในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 4 หรือไม่เป็นการกะประเด็นกว้างๆซึ่งย่อมหมายถึงจำเลยที่ 4 ในฐานะผู้แทนของห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่ 5 และที่กะประเด็นอีกข้อหนึ่งว่า จำเลยที่ 2 ถึงที่ 6 จะต้องรับผิดต่อโจทก์ในผลแห่งการละเมิดของจำเลยที่ 1 เพียงใดหรือไม่ย่อมหมายถึงจำเลยที่ 4 ในฐานะส่วนตัว และหมายถึงจำเลยที่ 5 โดยมีจำเลยที่ 4 เป็นผู้แทน ดังนั้น ที่ศาลพิพากษาให้จำเลยที่ 5 รับผิดในฐานะที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างและกระทำไปในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 5 จึงไม่เป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2022/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของนายจ้าง/เจ้าของรถต่อการละเมิดของลูกจ้าง/ผู้ขับขี่ และประเด็นการวินิจฉัยนอกคำฟ้อง
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 5 เป็นห้างหุ้นส่วนจำกัดเป็นเจ้าของและผู้ครอบครองรถยนต์บรรทุกคันเกิดเหตุจำเลยที่ 4 เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่ 5 จำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างหรือตัวแทนของจำเลยที่ 4 ได้ขับรถยนต์บรรทุกไปในทางการที่จ้างหรือตามคำสั่งของจำเลยที่4 ชนรถโจทก์เสียหายดังนี้คำฟ้องของโจทก์ย่อมมีความหมายว่า จำเลยที่ 4 ในฐานะหุ้นส่วนผู้จัดการห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่ 5 เป็นเพียงผู้แทนของจำเลยที่5 ซึ่งเป็นนิติบุคคลเท่านั้น ซึ่งพอเข้าใจว่าจำเลยที่1 เป็นลูกจ้างของจำเลยที่ 5 และได้ขับรถยนต์บรรทุกไปในทางการที่จ้างหรือตามคำสั่งของห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่5 โดยจำเลยที่ 4 ซึ่งเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการทำแทน จึงเป็นคำฟ้องที่ให้จำเลยที่ 5 รับผิดในฐานะนายจ้างหรือตัวการของจำเลยที่ 1 ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 425 และ มาตรา 820 แล้ว
การที่จำเลยที่ 4 เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการของห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่ 5 และศาลกะประเด็นข้อพิพาทว่า การที่จำเลยที่ 1 ขับรถก่อการละเมิดในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 4 หรือไม่เป็นการกะประเด็นกว้างๆ ซึ่งย่อมหมายถึงจำเลยที่ 4 ในฐานะผู้แทนของห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่ 5 และที่กะประเด็นอีกข้อหนึ่งว่า จำเลยที่2 ถึงที่ 6 จะต้องรับผิดต่อโจทก์ในผลแห่งการละเมิดของจำเลยที่ 1 เพียงใดหรือไม่ย่อมหมายถึงจำเลยที่ 4 ในฐานะส่วนตัว และหมายถึงจำเลยที่ 5 โดยมีจำเลยที่ 4เป็นผู้แทน ดังนั้น ที่ศาลพิพากษาให้จำเลยที่ 5 รับผิดในฐานะที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างและกระทำไปในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 5 จึงไม่เป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น
การที่จำเลยที่ 4 เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการของห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่ 5 และศาลกะประเด็นข้อพิพาทว่า การที่จำเลยที่ 1 ขับรถก่อการละเมิดในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 4 หรือไม่เป็นการกะประเด็นกว้างๆ ซึ่งย่อมหมายถึงจำเลยที่ 4 ในฐานะผู้แทนของห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่ 5 และที่กะประเด็นอีกข้อหนึ่งว่า จำเลยที่2 ถึงที่ 6 จะต้องรับผิดต่อโจทก์ในผลแห่งการละเมิดของจำเลยที่ 1 เพียงใดหรือไม่ย่อมหมายถึงจำเลยที่ 4 ในฐานะส่วนตัว และหมายถึงจำเลยที่ 5 โดยมีจำเลยที่ 4เป็นผู้แทน ดังนั้น ที่ศาลพิพากษาให้จำเลยที่ 5 รับผิดในฐานะที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างและกระทำไปในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 5 จึงไม่เป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น