พบผลลัพธ์ทั้งหมด 252 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1328/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนำเข้าสินค้าควบคุมโดยสำคัญผิดและผู้ร่วมกระทำผิด: ทัพพีจากเครื่องจักรเข้าข่ายสิ่งหัตถกรรม
จำเลยที่ 2 เป็นกรรมการของบริษัทจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นนิติบุคคล ได้สั่งของต้องห้ามจากต่างประเทศแทนจำเลย ที่ 1 โดยมิได้รับอนุญาตจากกระทรวงเศรษฐการก่อน แม้จะอ้างว่าสำคัญผิดว่า ของที่สั่งมานั้น ไม่ใช่ของต้องห้าม ก็ยังคงต้องมีความผิด กรณีเช่นนี้ถือว่าจำเลยทั้งสอง เป็นผู้ร่วมกันกระทำผิด
ทัพพีแม้ จะเป็นสิ่งประดิษฐ์ จากเครื่องจักร ก็อยู่ในความหมายว่า เป็นสิ่งหัตถกรรมการความหมายในประกาศของกระทรวงเศรษฐการ ลงวันที่ 14 กันยายน 2498 ข้อ 10 อันจำต้องได้รับอนุญาตจากกระทรวง เศรษฐการเสียก่อน จึงจะนำเข้ามาในราชอาณาจักรได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 20/2503)
ทัพพีแม้ จะเป็นสิ่งประดิษฐ์ จากเครื่องจักร ก็อยู่ในความหมายว่า เป็นสิ่งหัตถกรรมการความหมายในประกาศของกระทรวงเศรษฐการ ลงวันที่ 14 กันยายน 2498 ข้อ 10 อันจำต้องได้รับอนุญาตจากกระทรวง เศรษฐการเสียก่อน จึงจะนำเข้ามาในราชอาณาจักรได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 20/2503)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1328/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนำเข้าสินค้าควบคุมโดยสำคัญผิดและความรับผิดของกรรมการบริษัท
จำเลยที่ 2 เป็นกรรมการของบริษัทจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นนิติบุคคล ได้สั่งของต้องห้ามจากต่างประเทศแทนจำเลยที่ 1 โดยมิได้รับอนุญาตจากกระทรวงเศรษฐการก่อน แม้จะอ้างว่าสำคัญผิดว่าของที่สั่งมานั้นไม่ใช่ของต้องห้ามก็ยังคงต้องมีความผิด กรณีเช่นนี้ถือว่าจำเลยทั้งสองเป็นผู้ร่วมกันกระทำผิด
ทัพพีแม้จะเป็นสิ่งประดิษฐ์จากเครื่องจักร ก็อยู่ในความหมายว่าเป็นสิ่งหัตถกรรมตามความหมายในประกาศของกระทรวงเศรษฐการ ลงวันที่ 14 กันยายน 2498 ข้อ 10 อันจำต้องได้รับอนุญาตจากกระทรวงเศรษฐการเสียก่อน จึงจะนำเข้ามาในราชอาณาจักรได้ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 20/2503)
ทัพพีแม้จะเป็นสิ่งประดิษฐ์จากเครื่องจักร ก็อยู่ในความหมายว่าเป็นสิ่งหัตถกรรมตามความหมายในประกาศของกระทรวงเศรษฐการ ลงวันที่ 14 กันยายน 2498 ข้อ 10 อันจำต้องได้รับอนุญาตจากกระทรวงเศรษฐการเสียก่อน จึงจะนำเข้ามาในราชอาณาจักรได้ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 20/2503)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 890/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจการฟ้องคดีอาญาแทนกันได้ ผู้เสียหายมอบอำนาจได้ทั้งนิติบุคคลและบุคคลธรรมดา
ผู้เสียหายไม่ว่าจะเป็นนิติบุคคลหรือบุคคลธรรมดา ย่อมมอบอำนาจให้ฟ้องคดีอาญาแทนได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 9/2503) (ดูเทียบกับฎีกาที่ 755/2502 ซึ่งวินิจฉัยว่า การร้องทุกข์นั้น ย่อมมอบอำนาจให้ร้องทุกข์แทนกันได้)
้เมื่อผู้เสียหายมอบอำนาจให้ฟ้องคดีอาญาแล้ว ผู้ที่รับมอบอำนาจก็ย่อมลงชื่อในฟ้องแทนโจทก์ได้ ไม่ขัดต่อประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา มาตรา 158 ข้อ (7)
้เมื่อผู้เสียหายมอบอำนาจให้ฟ้องคดีอาญาแล้ว ผู้ที่รับมอบอำนาจก็ย่อมลงชื่อในฟ้องแทนโจทก์ได้ ไม่ขัดต่อประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา มาตรา 158 ข้อ (7)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 890/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจมอบอำนาจฟ้องคดีอาญา: ผู้เสียหายทั้งนิติบุคคลและบุคคลธรรมดามีสิทธิมอบอำนาจให้ผู้อื่นฟ้องแทนได้
ผู้เสียหายไม่ว่าจะเป็นนิติบุคคลหรือบุคคลธรรมดาย่อมมอบอำนาจให้ฟ้องคดีอาญาแทนได้ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 9/2503) (ดูเทียบกับฎีกาที่ 755/2502 ซึ่งวินิจฉัยว่า การร้องทุกข์นั้น ย่อมมอบอำนาจให้ร้องทุกข์แทนกันได้)
เมื่อผู้เสียหายมอบอำนาจให้ฟ้องคดีอาญาแล้วผู้ที่รับมอบอำนาจก็ย่อมลงชื่อในฟ้องแทนโจทก์ได้ ไม่ขัดต่อประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158ข้อ(7)
เมื่อผู้เสียหายมอบอำนาจให้ฟ้องคดีอาญาแล้วผู้ที่รับมอบอำนาจก็ย่อมลงชื่อในฟ้องแทนโจทก์ได้ ไม่ขัดต่อประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158ข้อ(7)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 417/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีของตัวแทนบริษัท: คณะกรรมการต้องมอบอำนาจก่อน
ข้อบังคับของบริษัทมีว่า "คณะกรรมการมีอำนาจตั้งตัวแทน กำหนดอำนาจตัวแทนได้ตามที่เห็นสมควรและให้คณะกรรมการเป็นโจทก์จำเลยในคดีแพ่งหรืออาญา โดยกรรมการ 2 นายมีอำนาจลงนามและประทับตราและให้คณะกรรมการเป็นผู้ดำเนินการของบริษัท โดยความควบคุมของที่ประชุมใหญ่" ดังนี้ เมื่อคณะกรรมการยังไม่ได้มอบอำนาจให้ผู้จัดการฟ้องคดีผู้จัดการจะอ้างนามบริษัทฟ้องไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 417/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีของบริษัท: ผู้จัดการต้องได้รับมอบอำนาจจากคณะกรรมการก่อนจึงจะฟ้องแทนบริษัทได้
ข้อบังคับของบริษัทมีว่า 'คณะกรรมการมีอำนาจตั้งตัวแทนกำหนดอำนาจตัวแทนได้ตามที่เห็นสมควรและให้คณะกรรมการเป็นโจทก์จำเลยในคดีแพ่งหรืออาญาโดยกรรมการ 2 นายมีอำนาจลงนามและประทับตราและให้คณะกรรมการเป็นผู้ดำเนินการของบริษัทโดยความควบคุมของที่ประชุมใหญ่' ดังนี้เมื่อคณะกรรมการยังไม่ได้มอบอำนาจให้ผู้จัดการฟ้องคดีผู้จัดการจะอ้างนามบริษัทฟ้องไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 312/2497 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานที่ดินประมาทเลินเล่อในการดำเนินการอายัดที่ดิน ทำให้เกิดความเสียหายต่อผู้รับซื้อฝาก ต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหาย
มีผู้ลักโฉนดที่ดินเขาไป เจ้าของจึงไปแจ้งอายัดไว้ แต่เจ้าพนักงานที่ดินผู้ได้รับคำสั่งอายัดมาดำเนินการต่อไปนั้นลืมเอาไปให้เจ้าหน้าที่ลงบัญชีอายัดไว้จึงได้มีการขายฝากที่ดินนั้นแก่ผู้อ่นไปเจ้าของเดิมจึงฟ้องขอให้เพิกถอนทำลายนิติกรรม เจ้าพนักงานที่ดินก็รัองต่อศาลขอให้เพิกถอนรายการจดทะเบียนสัญญาขายฝากเสียตาม พ.ร.บ.ออกโฉนดที่ดินฉะบับที่ 2 มาตรา 7 จนศาลมีคำสั่งและพิพากษาให้เพิกถอน ดังนี้ เจ้าพนักงานที่ดินผู้รับคำสั่งอายัดแล้ว บกพร่องประมาทเลินเล่อลืมลงบัญชีอายัดนั้น ต้องรับผิดใช่ค่าเสียหายแก่ผู้รับซื้อฝาก และกรมที่ดินก็ต้องรับผิดร่วมด้วยตาม ป.ม.แพ่งฯมาตรา 76
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 312/2497
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานที่ดินประมาทเลินเล่อละเลยการลงบัญชีอายัดที่ดิน ทำให้เกิดนิติกรรมขายฝากที่ไม่สมบูรณ์ ผู้รับซื้อฝากและกรมที่ดินต้องรับผิด
มีผู้ลักโฉนดที่ดินเขาไปเจ้าของจึงไปแจ้งอายัดไว้แต่เจ้าพนักงานที่ดินผู้ได้รับคำสั่งอายัดมาดำเนินการต่อไปนั้นลืมเอาไปให้ เจ้าหน้าที่ลงบัญชีอายัดไว้จึงได้มีการขายฝากที่ดินนั้นแก่ผู้อื่นไปเจ้าของเดิมจึงฟ้องขอให้เพิกถอนทำลายนิติกรรมเจ้าพนักงานที่ดินก็ร้องต่อศาลขอให้เพิกถอนรายการจดทะเบียนสัญญาขายฝากเสียตาม พ.ร.บ.ออกโฉนดที่ดิน ฉบับที่ 2 มาตรา 7 จนศาลมีคำสั่งและพิพากษาให้เพิกถอนดังนี้ เจ้าพนักงานที่ดินผู้รับคำสั่งอายัดแล้ว บกพร่องประมาทเลินเล่อลืมลงบัญชีอายัดนั้น ต้องรับผิดใช้ค่าเสียหายแก่ผู้รับซื้อฝากและกรมที่ดินก็ต้องรับผิดร่วมด้วยตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 76
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 97/2497 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องค่าทำศพตามข้อบังคับสมาคม ผู้จัดการศพมีสิทธิได้รับเงิน แม้ไม่ใช่ทายาท
กรรมการของสมคมณาปนกิจสั่งจ่ายเงินค่าทำศพให้แก่ทายาทของผู้ตายไปโดยฝ่ายืนข้อบังคับของสมาคมที่ว่าให้จ่ายเงินให้ผู้จัดการอันสมควรของสมาชิกผู้วายชนม์ ผู้จัดการศพของผู้วายชนม์จึงมาฟ้องสมาคมเรียกเงินค่าทำศพ จนศาลพิพากษาให้สมาคมรับผิดจ่ายเงินค่าทำศพแก่ผุ้จัดการศพของผู้วายชนม์ไปแล้ว สมาคมย่อมมีสิทธิฟ้องกรรมการที่เกี่ยวข้องในการสั่งจ่ายเงินค่าทำศพแก่ผู้จัดการศพของผู้วายชนม์ไปแล้ว สมาคมย่อมมีสิทธิฟ้องกรรมการที่เกี่ยวข้องในการสั่งจ่ายเงินค่าทำศพดังกล่าวแก่ทายาทไปและฟ้องผู้รับเงิน หรือทายาทของผู้รับเงืนให้ร่วมกัน รับผิดคืนเงินที่รับไปแก่สมาคมได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 97/2497
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของกรรมการและผู้รับเงินค่าทำศพที่ขัดต่อข้อบังคับสมาคม
กรรมการของสมาคมฌาปนกิจสั่งจ่ายเงินค่าทำศพให้แก่ทายาทของผู้ตายไป โดยฝ่าฝืนข้อบังคับของสมาคมที่ว่าให้จ่ายเงินให้ผู้จัดการอันสมควรของสมาชิกผู้วายชนม์ ผู้จัดการศพของผู้วายชนม์จึงมาฟ้องสมาคมเรียกเงินค่าทำศพจนศาลพิพากษาให้สมาคมรับผิดจ่ายเงินค่าทำศพแก่ผู้จัดการศพของผู้วายชนม์ไปแล้ว สมาคมย่อมมีสิทธิฟ้องกรรมการที่เกี่ยวข้องในการสั่งจ่ายเงินค่าทำศพดังกล่าวแก่ทายาทไป และฟ้องผู้รับเงิน หรือทายาทของผู้รับเงินให้ร่วมกันรับผิดคืนเงินที่รับไปแก่สมาคมได้