พบผลลัพธ์ทั้งหมด 391 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4503/2530 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลลงโทษฐานรับของโจร แม้ฟ้องฐานปล้นทรัพย์ - ข้อเท็จจริงไม่แตกต่างในสาระสำคัญ
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยกับพวกร่วมกันปล้นทรัพย์แม้ข้อเท็จจริงที่ปรากฏในการพิจารณาฟังได้ว่า จำเลยกระทำความผิดฐานรับของโจรก็ไม่ถือว่าข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในการพิจารณาแตกต่างกับข้อเท็จจริงดังที่ กล่าวในฟ้องในสาระสำคัญอันเป็นเหตุให้ศาลยกฟ้อง เมื่อจำเลยมิได้หลงข้อต่อสู้ศาลมีอำนาจลงโทษจำเลยในความผิดฐานรับของโจรตามที่พิจารณาได้ความได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192 วรรคสาม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3447/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีฉ้อโกงประชาชนและอั้งยี่: รัฐเป็นผู้เสียหายโดยตรง
ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน มิใช่กระทำโดยเฉพาะเจาะจงแก่บุคคลใดเป็นส่วนตัว รัฐเท่านั้นเป็นผู้เสียหายโดยตรง
พระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน เป็นบทบัญญัติที่มีลักษณะพิเศษแตกต่างไปจากความผิดฐานฉ้อโกง ตามประมวลกฎหมายอาญาดังจะเห็นได้ว่าบทบัญญัติและเจตนารมณ์ของพระราชกำหนดนี้ ตาม มาตรา 4 มาตรา 5 มาตรา 7 และมาตรา 8 บัญญัติถึงวิธีการและลักษณะของการกู้ยืมในกรณีเช่นนี้ไว้ และบัญญัติถึงการที่จะปราบปรามการกระทำที่เป็นการฉ้อโกงประชาชนกับวางมาตรการเพื่อคุ้มครองประโยชน์ของประชาชนที่ได้รับความเสียหายจากการถูกหลอกลวง และรักษาความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยได้กำหนดมาตรการต่าง ๆ ไว้ เพื่อคุ้มครองประชาชนเป็นส่วนรวม และให้พนักงานเจ้าหน้าที่ของรัฐเท่านั้นมีอำนาจใช้มาตรการดังกล่าวนั้นได้ ทั้งนี้เพื่อให้กรณีเสร็จเด็ดขาดไปทันทีดังนั้น ความผิดตามพระราชกำหนดนี้ รัฐเท่านั้นเป็นผู้มีอำนาจฟ้องคดีได้.
(วรรคสองวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 5/2530)
พระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน เป็นบทบัญญัติที่มีลักษณะพิเศษแตกต่างไปจากความผิดฐานฉ้อโกง ตามประมวลกฎหมายอาญาดังจะเห็นได้ว่าบทบัญญัติและเจตนารมณ์ของพระราชกำหนดนี้ ตาม มาตรา 4 มาตรา 5 มาตรา 7 และมาตรา 8 บัญญัติถึงวิธีการและลักษณะของการกู้ยืมในกรณีเช่นนี้ไว้ และบัญญัติถึงการที่จะปราบปรามการกระทำที่เป็นการฉ้อโกงประชาชนกับวางมาตรการเพื่อคุ้มครองประโยชน์ของประชาชนที่ได้รับความเสียหายจากการถูกหลอกลวง และรักษาความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยได้กำหนดมาตรการต่าง ๆ ไว้ เพื่อคุ้มครองประชาชนเป็นส่วนรวม และให้พนักงานเจ้าหน้าที่ของรัฐเท่านั้นมีอำนาจใช้มาตรการดังกล่าวนั้นได้ ทั้งนี้เพื่อให้กรณีเสร็จเด็ดขาดไปทันทีดังนั้น ความผิดตามพระราชกำหนดนี้ รัฐเท่านั้นเป็นผู้มีอำนาจฟ้องคดีได้.
(วรรคสองวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 5/2530)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3447/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีฉ้อโกงประชาชนและการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกง: รัฐเป็นผู้เสียหายแต่เพียงผู้เดียว
ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน มิใช่กระทำโดยเฉพาะเจาะจงแก่บุคคลใดเป็นส่วนตัว รัฐเท่านั้นเป็นผู้เสียหายโดยตรง
พระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน เป็นบทบัญญัติที่มีลักษณะพิเศษแตกต่างไปจากความผิดฐานฉ้อโกง ตามประมวลกฎหมายอาญาดังจะเห็นได้ว่าบทบัญญัติและเจตนารมณ์ของพระราชกำหนดนี้ ตาม มาตรา 4 มาตรา 5 มาตรา 7 และมาตรา 8 บัญญัติถึงวิธีการและลักษณะของการกู้ยืมในกรณีเช่นนี้ไว้ และบัญญัติถึงการที่จะปราบปรามการกระทำที่เป็นการฉ้อโกงประชาชนกับวางมาตรการเพื่อคุ้มครองประโยชน์ของประชาชนที่ได้รับความเสียหายจากการถูกหลอกลวง และรักษาความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยได้กำหนดมาตรการต่าง ๆ ไว้ เพื่อคุ้มครองประชาชนเป็นส่วนรวม และให้พนักงานเจ้าหน้าที่ของรัฐเท่านั้นมีอำนาจใช้มาตรการดังกล่าวนั้นได้ ทั้งนี้เพื่อให้กรณีเสร็จเด็ดขาดไปทันทีดังนั้น ความผิดตามพระราชกำหนดนี้ รัฐเท่านั้นเป็นผู้มีอำนาจฟ้องคดีได้. (วรรคสองวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่5/2530)
พระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน เป็นบทบัญญัติที่มีลักษณะพิเศษแตกต่างไปจากความผิดฐานฉ้อโกง ตามประมวลกฎหมายอาญาดังจะเห็นได้ว่าบทบัญญัติและเจตนารมณ์ของพระราชกำหนดนี้ ตาม มาตรา 4 มาตรา 5 มาตรา 7 และมาตรา 8 บัญญัติถึงวิธีการและลักษณะของการกู้ยืมในกรณีเช่นนี้ไว้ และบัญญัติถึงการที่จะปราบปรามการกระทำที่เป็นการฉ้อโกงประชาชนกับวางมาตรการเพื่อคุ้มครองประโยชน์ของประชาชนที่ได้รับความเสียหายจากการถูกหลอกลวง และรักษาความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยได้กำหนดมาตรการต่าง ๆ ไว้ เพื่อคุ้มครองประชาชนเป็นส่วนรวม และให้พนักงานเจ้าหน้าที่ของรัฐเท่านั้นมีอำนาจใช้มาตรการดังกล่าวนั้นได้ ทั้งนี้เพื่อให้กรณีเสร็จเด็ดขาดไปทันทีดังนั้น ความผิดตามพระราชกำหนดนี้ รัฐเท่านั้นเป็นผู้มีอำนาจฟ้องคดีได้. (วรรคสองวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่5/2530)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3354/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานฆ่าข่มขืน ลักทรัพย์ และรับราชการทหารแทนผู้อื่น โดยพิจารณาความผิดหลายกระทงและเจตนาในการกระทำ
การที่พนักงานสอบสวนมิได้แจ้งฝ่ายทหารให้มาฟังการสอบสวนผู้ต้องหาซึ่งเป็นทหารตามข้อตกลงระหว่างกระทรวงกลาโหมกับกระทรวงมหาดไทยนั้น กฎหมายมิได้บัญญัติว่าเป็นการสอบสวนที่ไม่ชอบ พวกของจำเลยมีและใช้อาวุธมีดปลายแหลมในการกระทำผิดแต่ไม่ปรากฏว่าจำเลยมีอาวุธ ดังนั้น การที่พวกของจำเลยมีและใช้อาวุธมีดปลายแหลมดังกล่าว จะถือว่าจำเลยร่วมกับพวกพกพาอาวุธมีดปลายแหลมนั้นไปในทางสาธารณะ ในหมู่บ้านด้วย หาได้ไม่ จำเลยทำร้ายและฆ่าผู้ตายโดยเจตนาให้พวกของจำเลยข่มขืนกระทำชำเราผู้ตาย ดังนี้ การที่จำเลยกับพวกปลดเอาทรัพย์ของผู้ตายก่อนหลบหนีเห็นได้ว่าเป็นการกระทำโดยเจตนาที่เกิดขึ้นในขณะนั้น จึงเป็นความผิดฐานลักทรัพย์ มิใช่ฐานปล้นทรัพย์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3354/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกระทำความผิดฐานข่มขืนฆ่าและลักทรัพย์ ความรับผิดทางอาญาและอัตราโทษ
การที่พนักงานสอบสวนมิได้แจ้งฝ่ายทหารให้มาฟังการสอบสวนผู้ต้องหาซึ่งเป็นทหารตามข้อตกลงระหว่างกระทรวงกลาโหมกับกระทรวงมหาดไทยนั้น กฎหมายมิได้บัญญัติว่าเป็นการสอบสวนที่ไม่ชอบ
พวกของจำเลยมีและใช้อาวุธมีดปลายแหลมในการกระทำผิดแต่ไม่ปรากฏว่าจำเลยมีอาวุธ ดังนั้น การที่พวกของจำเลยมีและใช้อาวุธมีดปลายแหลมดังกล่าว จะถือว่าจำเลยร่วมกับพวกพกพาอาวุธมีดปลายแหลมนั้นไปในทางสาธารณะ ในหมู่บ้านด้วย หาได้ไม่
จำเลยทำร้ายและฆ่าผู้ตายโดยเจตนาให้พวกของจำเลยข่มขืนกระทำชำเราผู้ตาย ดังนี้ การที่จำเลยกับพวกปลดเอาทรัพย์ของผู้ตายก่อนหลบหนี เห็นได้ว่าเป็นการกระทำโดยเจตนาที่เกิดขึ้นในขณะนั้น จึงเป็นความผิดฐานลักทรัพย์ มิใช่ฐานปล้นทรัพย์.(ที่มา-ส่งเสริม)
พวกของจำเลยมีและใช้อาวุธมีดปลายแหลมในการกระทำผิดแต่ไม่ปรากฏว่าจำเลยมีอาวุธ ดังนั้น การที่พวกของจำเลยมีและใช้อาวุธมีดปลายแหลมดังกล่าว จะถือว่าจำเลยร่วมกับพวกพกพาอาวุธมีดปลายแหลมนั้นไปในทางสาธารณะ ในหมู่บ้านด้วย หาได้ไม่
จำเลยทำร้ายและฆ่าผู้ตายโดยเจตนาให้พวกของจำเลยข่มขืนกระทำชำเราผู้ตาย ดังนี้ การที่จำเลยกับพวกปลดเอาทรัพย์ของผู้ตายก่อนหลบหนี เห็นได้ว่าเป็นการกระทำโดยเจตนาที่เกิดขึ้นในขณะนั้น จึงเป็นความผิดฐานลักทรัพย์ มิใช่ฐานปล้นทรัพย์.(ที่มา-ส่งเสริม)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2076/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงข้อหาจากปล้นทรัพย์เป็นทำร้ายร่างกาย ศาลมีอำนาจลงโทษตามบรรยายฟ้อง
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยฐานปล้นทรัพย์ โดยบรรยายฟ้องมาด้วยว่าจำเลยกับพวกได้ร่วมกันใช้ไม้ตีและชกต่อยผู้เสียหายจนได้รับอันตรายแก่กาย เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่าจำเลยไม่ได้กระทำผิดฐานปล้นทรัพย์ แต่จำเลยมีความผิดฐานร่วมกันทำร้ายผู้เสียหายเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 295 ศาลย่อมมีอำนาจลงโทษจำเลยในความผิดฐานนี้ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 192 วรรคท้าย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2076/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงข้อหาจากปล้นทรัพย์เป็นทำร้ายร่างกาย แม้บรรยายฟ้องผิดฐาน ศาลลงโทษตามพฤติการณ์ที่พิสูจน์ได้
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยฐานปล้นทรัพย์ โดยบรรยายฟ้องมาด้วยว่าจำเลยกับพวกได้ร่วมกันใช้ไม้ตีและชกต่อยผู้เสียหายจนได้รับอันตรายแก่กาย เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่าจำเลยไม่ได้กระทำผิดฐานปล้นทรัพย์ แต่จำเลยมีความผิดฐานร่วมกันทำร้ายผู้เสียหายเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 295 ศาลย่อมมีอำนาจลงโทษจำเลยในความผิดฐานนี้ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 192 วรรคท้าย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1827/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงข้อหาจากปล้นทรัพย์เป็นชิงทรัพย์ และการพิจารณาความผิดฐานทำร้ายร่างกายควบคู่กัน
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยทั้งสองฐานร่วมกันปล้นทรัพย์ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 340 ศาลชั้นต้นพิพากษาว่าจำเลยทั้งสองมีความผิดฐานชิงทรัพย์ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 339 วรรคสอง โจทก์และจำเลยทั้งสองอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นว่ายกฟ้องสำหรับจำเลยที่ 1 และลงโทษจำเลยที่ 2 ฐานทำร้ายร่างกายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 391 จึงมีผลเท่ากับว่าศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์พิพากษายกฟ้องโจทก์ในข้อหาปล้นทรัพย์โดยอาศัยข้อเท็จจริงโจทก์จึงฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงขอให้ลงโทษจำเลยทั้งสองสำหรับข้อหาปล้นทรัพย์ไม่ได้คงฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงได้เฉพาะข้อหาชิงทรัพย์ ที่ศาลล่างทั้งสองพิพากษากลับกันมาเท่านั้น และที่โจทก์ฎีกาขอให้ลงโทษจำเลยทั้งสองฐานปล้นทรัพย์นั้น ถือได้ว่าเป็นฎีกาขอให้ลงโทษจำเลยทั้งสองในข้อหาชิงทรัพย์ด้วยแล้ว เพราะการกระทำผิดฐานชิงทรัพย์เป็นส่วนหนึ่งของความผิดฐานปล้นทรัพย์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1827/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงข้อหาจากปล้นทรัพย์เป็นชิงทรัพย์ และการพิจารณาโทษจำเลยทั้งสอง
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยทั้งสองฐานร่วมกันปล้นทรัพย์ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 340 ศาลชั้นต้นพิพากษาว่าจำเลยทั้งสองมีความผิดฐานชิงทรัพย์ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 339 วรรคสอง โจทก์และจำเลยทั้งสองอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นว่ายกฟ้องสำหรับจำเลยที่ 1 และลงโทษจำเลยที่ 2 ฐานทำร้ายร่างกายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 391 จึงมีผลเท่ากับว่าศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์พิพากษายกฟ้องโจทก์ในข้อหาปล้นทรัพย์โดยอาศัยข้อเท็จจริงโจทก์จึงฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงขอให้ลงโทษจำเลยทั้งสองสำหรับข้อหาปล้นทรัพย์ไม่ได้คงฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงได้เฉพาะข้อหาชิงทรัพย์ ที่ศาลล่างทั้งสองพิพากษากลับกันมาเท่านั้น และที่โจทก์ฎีกาขอให้ลงโทษจำเลยทั้งสองฐานปล้นทรัพย์นั้น ถือได้ว่าเป็นฎีกาขอให้ลงโทษจำเลยทั้งสองในข้อหาชิงทรัพย์ด้วยแล้ว เพราะการกระทำผิดฐานชิงทรัพย์เป็นส่วนหนึ่งของความผิดฐานปล้นทรัพย์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1814/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกำหนดมาตรากฎหมายที่ถูกต้องสำหรับความผิดฐานปล้นทรัพย์โดยมีอาวุธ
จำเลยกระทำผิดฐานปล้นทรัพย์โดยมีอาวุธปืน แต่ศาลล่างทั้งสองพิพากษาว่า จำเลยมีความผิดตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 340 ประกอบด้วยมาตรา 340 ตรี โดยไม่ระบุมาตรา 340 วรรคใดนั้น ไม่ถูกต้องศาลฎีกาพิพากษาแก้ให้ถูกต้องเป็นว่า จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 340 วรรคสอง ประกอบด้วยมาตรา 340 ตรี.