พบผลลัพธ์ทั้งหมด 306 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1086/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าช่วง: สิทธิการเรียกร้องค่าเช่า แม้มีข้อตกลงสละสิทธิในการบังคับคดี
โจทก์ฟ้องขอให้ศาลพิพากษาบังคับให้จำเลยที่ 1 และบริวารออกจากห้องแถวพิพาทซึ่งโจทก์เช่ามาจากจำเลยที่ 2 ที่ 3 ผู้เป็นเจ้าของ โดยโจทก์มีสิทธิให้เช่าช่วงได้ และได้ให้จำเลยที่ 1 เช่าช่วง ก่อนคดีนี้จำเลยที่ 2 ที่ 3 ได้ฟ้องขับไล่โจทก์จากห้องเลขที่ 21-23 ตามสำนวนคดีแพ่งหมายเลขแดงที่ 192/2504 ของศาลชั้นต้นศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นให้ขับไล่ คดีอยู่ระหว่างฎีกา ดังนี้ การที่จะวินิจฉัยว่าระหว่างที่ศาลฎีกายังไม่ได้พิพากษา โจทก์จะมีสิทธิเรียกค่าเช่าที่ค้างจากจำเลยที่ 1 ได้หรือไม่ ต้องพิจารณาว่าโจทก์จะมีสิทธิเรียกร้องต่อจำเลยเพียงใด การที่ศาลอุทธรณ์พิจารณาถึงสิทธิการเช่าระหว่างโจทก์กับเจ้าของห้องพิพาท โดยฟังข้อเท็จจริงตามคำพิพากษาศาลฎีกาในคดีแพ่งแดงที่ 192/2504 ของศาลชั้นต้น ก็เพื่อนำมาวินิจฉัยประเด็นที่ว่า ระหว่างที่ศาลฎีกายังไม่ได้พิพากษา โจทก์จะมีสิทธิเรียกค่าเช่าที่ค้างจากจำเลยที่ 1 ได้หรือไม่ จึงไม่เป็นการนอกประเด็น และขาดพยานหลักฐานสนับสนุนในท้องสำนวน
เมื่อผู้ให้เช่าให้ผู้เช่าได้ใช้หรือได้รับประโยชน์ในทรัพย์สินที่เช่าตามสัญญา แม้ผู้เช่าจะไม่ใช่เจ้าของทรัพย์สินนั้น ผู้เช่าก็มีหน้าที่ชำระค่าเช่า
ศาลอุทธรณ์ฟังข้อเท็จจริงว่า เมื่อสัญญาเช่าระหว่างโจทก์กับซ.ครบกำหนดแล้วซ. ได้บอกเลิกสัญญาเช่ากับโจทก์ ซึ่งข้อเท็จจริงนี้คู่ความมิได้รับกัน และไม่มีพยานหลักฐานสนับสนุน เป็นแต่จำเลยยกขึ้นอ้างในคำให้การ ซึ่งจำเลยมีภาระการพิสูจน์ แต่เมื่อโจทก์จำเลยสละข้อพิพาทในประเด็นอื่น นอกจากเรื่องค่าเช่าและค่าเสียหาย และไม่ติดใจสืบพยาน คดีไม่มีทางรับฟังตามข้ออ้างของจำเลย ฉะนั้น การที่ศาลอุทธรณ์ฟังข้อเท็จจริงดังกล่าวจึงผิดกฎหมายศาลฎีกามีอำนาจฟังข้อเท็จจริงข้อนี้ใหม่ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 247,243
คู่กรณีทำสัญญาเช่าต่อกัน 2 ฉบับ ฉบับหนึ่งเป็นสัญญาระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 2,3 โดยโจทก์เช่าห้อง 12 ห้อง รวมทั้งห้องพิพาทจากจำเลยที่ 2,3 อีกฉบับหนึ่งเป็นสัญญาระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 เป็นผู้เช่าช่วงห้องพิพาทจากโจทก์ สัญญา 2 ฉบับนี้ไม่เกี่ยวพันกัน เพราะเป็นหนี้คนละราย แม้จำเลยที่ 2,3 บอกเลิกสัญญากับโจทก์เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2502 อันจะมีผลทำให้สัญญาระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 2,3เลิกกันตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2503 ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 566 ก็ตาม แต่สัญญาเช่าระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ก็ยังผูกพันกันอยู่ เพราะไม่มีกรณีที่ทำให้สัญญาฉบับนี้เลิกกันไม่ว่าโดยข้อสัญญาหรือโดยกฎหมาย แม้สัญญาสิ้นกำหนด แต่จำเลยที่ 1 ยังครองทรัพย์สินที่เช่าต่อมาโดยโจทก์ไม่ทักท้วง ก็ต้องถือว่าโจทก์กับจำเลยที่ 1 ทำสัญญาใหม่ต่อไปโดยไม่มีกำหนดเวลา ตราบใดที่โจทก์ยังให้จำเลยที่ 1 ใช้หรือได้รับประโยชน์จากทรัพย์สินที่เช่าได้แล้ว จำเลยที่ 1 ก็ต้องชำระค่าเช่าให้โจทก์
เมื่อจำเลยที่ 2,3 ซึ่งเป็นเจ้าของห้องพิพาทบอกเลิกสัญญาเช่ากับโจทก์แล้ว โจทก์ไม่ยอมออก จำเลยที่ 2,3 จึงฟ้องขับไล่โจทก์ออกจากห้องเลขที่ 21-23 ที่โจทก์ทำเป็นโรงแรม อันเป็นส่วนหนึ่งของห้องที่โจทก์เช่าจากจำเลยทั้งหมด แต่หาได้ฟ้องขับไล่โจทก์หรือห้ามโจทก์มิให้เกี่ยวข้องกับห้องพิพาทด้วยไม่ ตามคำพิพากษาฎีกาที่พิพากษาขับไล่โจทก์ออกจากห้องเลขที่ 21-23 ได้ให้โจทก์ใช้ค่าเสียหายเดือนละ 360 บาท นับแต่วันฟ้องจนกว่าจะออกจากห้อง ค่าเสียหายนี้เท่ากับจำนวนค่าเช่าที่โจทก์เช่าจากจำเลยที่ 2,3 รวมทั้งห้องพิพาท ส่วนจำเลยที่ 1 ได้ใช้ห้องพิพาทมาแต่ต้นโดยอาศัยสิทธิตามสัญญาเช่ากับโจทก์ และคงใช้ห้องพิพาทตลอดมา โดยมีสัญญาเช่าผูกพันกันอยู่ จึงถือว่าจำเลยที่ 1 ใช้ห้องพิพาทโดยอาศัยสิทธิตามสัญญาเช่าเดิม จำเลยที่ 1 จึงต้องชำระค่าเช่าให้โจทก์ตามอัตราในสัญญา คือเดือนละ 37.50บาท ตลอดเวลาที่ใช้ห้องพิพาทตามสัญญาเช่า
โจทก์ฎีกาขอให้จำเลยที่ 1 ใช้ค่าเสียหายให้โจทก์เทียบอัตราค่าเช่าเดือนละ 37.50 บาท นับแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2503 จนกว่าโจทก์จะออกจากห้องเช่า เมื่อพิจารณาประกอบคำขอท้ายฟ้อง ก็เห็นว่าโจทก์หมายถึงค่าเช่าด้วย ฉะนั้น ศาลย่อมพิพากษาให้ชำระค่าเช่าให้โจทก์ได้
แต่ที่โจทก์ขอให้ชำระตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2503 จนกว่าโจทก์จะออกจากห้องเช่านั้น ปรากฏตามคำแถลงของโจทก์ในรายงานกระบวนพิจารณาว่าถ้าคดีแดงที่ 192/2504 ของศาลชั้นต้นถึงที่สุด โดยศาลพิพากษาขับไล่โจทก์ โจทก์สละสิทธิไม่ขอให้ศาลบังคับขับไล่จำเลยที่ 1 แต่ขอให้วินิจฉัยประการเดียวว่าระหว่างนี้โจทก์มีสิทธิจะเรียกค่าเช่าที่ค้างชำระและค่าเสียหายจากจำเลยที่ 1 หรือไม่คำแถลงของโจทก์ดังนี้มีความหมายว่า ถ้าศาลพิพากษาถึงที่สุดให้ขับไล่โจทก์ โจทก์ก็เป็นอันสละสิทธิไม่ถือว่าที่จำเลยที่ 1 อยู่ในห้องพิพาทต่อมานับแต่วันโจทก์ฟ้องนั้นเป็นการอยู่โดยผิดสัญญาต่อไป เพราะสละสิทธิที่ขอให้บังคับตามฟ้องในข้อนี้เสียแล้ว คงสงวนสิทธิแต่จะเรียกค่าเช่าและค่าเสียหายในระหว่างนั้นเท่านั้น ศาลฎีกาจึงเห็นว่าควรบังคับให้จำเลยที่ 1 ชำระค่าเช่าให้โจทก์เพียงแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2503 จนถึงวันฟ้อง
เมื่อผู้ให้เช่าให้ผู้เช่าได้ใช้หรือได้รับประโยชน์ในทรัพย์สินที่เช่าตามสัญญา แม้ผู้เช่าจะไม่ใช่เจ้าของทรัพย์สินนั้น ผู้เช่าก็มีหน้าที่ชำระค่าเช่า
ศาลอุทธรณ์ฟังข้อเท็จจริงว่า เมื่อสัญญาเช่าระหว่างโจทก์กับซ.ครบกำหนดแล้วซ. ได้บอกเลิกสัญญาเช่ากับโจทก์ ซึ่งข้อเท็จจริงนี้คู่ความมิได้รับกัน และไม่มีพยานหลักฐานสนับสนุน เป็นแต่จำเลยยกขึ้นอ้างในคำให้การ ซึ่งจำเลยมีภาระการพิสูจน์ แต่เมื่อโจทก์จำเลยสละข้อพิพาทในประเด็นอื่น นอกจากเรื่องค่าเช่าและค่าเสียหาย และไม่ติดใจสืบพยาน คดีไม่มีทางรับฟังตามข้ออ้างของจำเลย ฉะนั้น การที่ศาลอุทธรณ์ฟังข้อเท็จจริงดังกล่าวจึงผิดกฎหมายศาลฎีกามีอำนาจฟังข้อเท็จจริงข้อนี้ใหม่ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 247,243
คู่กรณีทำสัญญาเช่าต่อกัน 2 ฉบับ ฉบับหนึ่งเป็นสัญญาระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 2,3 โดยโจทก์เช่าห้อง 12 ห้อง รวมทั้งห้องพิพาทจากจำเลยที่ 2,3 อีกฉบับหนึ่งเป็นสัญญาระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 เป็นผู้เช่าช่วงห้องพิพาทจากโจทก์ สัญญา 2 ฉบับนี้ไม่เกี่ยวพันกัน เพราะเป็นหนี้คนละราย แม้จำเลยที่ 2,3 บอกเลิกสัญญากับโจทก์เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2502 อันจะมีผลทำให้สัญญาระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 2,3เลิกกันตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2503 ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 566 ก็ตาม แต่สัญญาเช่าระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ก็ยังผูกพันกันอยู่ เพราะไม่มีกรณีที่ทำให้สัญญาฉบับนี้เลิกกันไม่ว่าโดยข้อสัญญาหรือโดยกฎหมาย แม้สัญญาสิ้นกำหนด แต่จำเลยที่ 1 ยังครองทรัพย์สินที่เช่าต่อมาโดยโจทก์ไม่ทักท้วง ก็ต้องถือว่าโจทก์กับจำเลยที่ 1 ทำสัญญาใหม่ต่อไปโดยไม่มีกำหนดเวลา ตราบใดที่โจทก์ยังให้จำเลยที่ 1 ใช้หรือได้รับประโยชน์จากทรัพย์สินที่เช่าได้แล้ว จำเลยที่ 1 ก็ต้องชำระค่าเช่าให้โจทก์
เมื่อจำเลยที่ 2,3 ซึ่งเป็นเจ้าของห้องพิพาทบอกเลิกสัญญาเช่ากับโจทก์แล้ว โจทก์ไม่ยอมออก จำเลยที่ 2,3 จึงฟ้องขับไล่โจทก์ออกจากห้องเลขที่ 21-23 ที่โจทก์ทำเป็นโรงแรม อันเป็นส่วนหนึ่งของห้องที่โจทก์เช่าจากจำเลยทั้งหมด แต่หาได้ฟ้องขับไล่โจทก์หรือห้ามโจทก์มิให้เกี่ยวข้องกับห้องพิพาทด้วยไม่ ตามคำพิพากษาฎีกาที่พิพากษาขับไล่โจทก์ออกจากห้องเลขที่ 21-23 ได้ให้โจทก์ใช้ค่าเสียหายเดือนละ 360 บาท นับแต่วันฟ้องจนกว่าจะออกจากห้อง ค่าเสียหายนี้เท่ากับจำนวนค่าเช่าที่โจทก์เช่าจากจำเลยที่ 2,3 รวมทั้งห้องพิพาท ส่วนจำเลยที่ 1 ได้ใช้ห้องพิพาทมาแต่ต้นโดยอาศัยสิทธิตามสัญญาเช่ากับโจทก์ และคงใช้ห้องพิพาทตลอดมา โดยมีสัญญาเช่าผูกพันกันอยู่ จึงถือว่าจำเลยที่ 1 ใช้ห้องพิพาทโดยอาศัยสิทธิตามสัญญาเช่าเดิม จำเลยที่ 1 จึงต้องชำระค่าเช่าให้โจทก์ตามอัตราในสัญญา คือเดือนละ 37.50บาท ตลอดเวลาที่ใช้ห้องพิพาทตามสัญญาเช่า
โจทก์ฎีกาขอให้จำเลยที่ 1 ใช้ค่าเสียหายให้โจทก์เทียบอัตราค่าเช่าเดือนละ 37.50 บาท นับแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2503 จนกว่าโจทก์จะออกจากห้องเช่า เมื่อพิจารณาประกอบคำขอท้ายฟ้อง ก็เห็นว่าโจทก์หมายถึงค่าเช่าด้วย ฉะนั้น ศาลย่อมพิพากษาให้ชำระค่าเช่าให้โจทก์ได้
แต่ที่โจทก์ขอให้ชำระตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2503 จนกว่าโจทก์จะออกจากห้องเช่านั้น ปรากฏตามคำแถลงของโจทก์ในรายงานกระบวนพิจารณาว่าถ้าคดีแดงที่ 192/2504 ของศาลชั้นต้นถึงที่สุด โดยศาลพิพากษาขับไล่โจทก์ โจทก์สละสิทธิไม่ขอให้ศาลบังคับขับไล่จำเลยที่ 1 แต่ขอให้วินิจฉัยประการเดียวว่าระหว่างนี้โจทก์มีสิทธิจะเรียกค่าเช่าที่ค้างชำระและค่าเสียหายจากจำเลยที่ 1 หรือไม่คำแถลงของโจทก์ดังนี้มีความหมายว่า ถ้าศาลพิพากษาถึงที่สุดให้ขับไล่โจทก์ โจทก์ก็เป็นอันสละสิทธิไม่ถือว่าที่จำเลยที่ 1 อยู่ในห้องพิพาทต่อมานับแต่วันโจทก์ฟ้องนั้นเป็นการอยู่โดยผิดสัญญาต่อไป เพราะสละสิทธิที่ขอให้บังคับตามฟ้องในข้อนี้เสียแล้ว คงสงวนสิทธิแต่จะเรียกค่าเช่าและค่าเสียหายในระหว่างนั้นเท่านั้น ศาลฎีกาจึงเห็นว่าควรบังคับให้จำเลยที่ 1 ชำระค่าเช่าให้โจทก์เพียงแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2503 จนถึงวันฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 851/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจการจัดการที่ดินของมิซซังโรมันคาทอลิก: การมอบอำนาจและผลผูกพันตามสัญญาเช่า
มิซซังโรมันคาธอลิคกรุงเทพฯมีฐานะเป็นนิติบุคคลและถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินได้(เพียง 2 อย่าง คือ ที่ดินที่ใช้เป็นวัดโรงเรือนตึกรามวัดบาดหลวงและที่ดินเพื่อทำประโยชน์ให้แก่มิซซัง)
ลักษณะสายการปกครองของมิซซัง ได้กำหนดไว้เป็นชั้นๆ ให้มีอำนาจปกครองลดหลั่นกันมาภายในขอบเขตที่กำหนดโดยมีสังฆราชมิซซังโรมันคาธอลิคกรุงเทพฯผู้ได้รับแต่งตั้งจากโป๊ปเป็นใหญ่ควบคุมทั้งหมดสังฆราชมอบอำนาจให้บิชอพภาคจันทบุรี บิชอพภาคจันทบุรีตั้งเจ้าอาวาสวัดบางปลาสร้อยให้มีอำนาจดูแลที่ดินของวัดได้การที่เจ้าอาวาสวัดบางปลาสร้อยทำสัญญาให้จำเลยเช่าที่ดินของวัด จึงเป็นการทำแทนสังฆราชมิซซังโรมันคาธอลิคกรุงเทพฯ รวมตลอดถึงการบอกเลิกสัญญาเช่าด้วย
ลักษณะสายการปกครองของมิซซัง ได้กำหนดไว้เป็นชั้นๆ ให้มีอำนาจปกครองลดหลั่นกันมาภายในขอบเขตที่กำหนดโดยมีสังฆราชมิซซังโรมันคาธอลิคกรุงเทพฯผู้ได้รับแต่งตั้งจากโป๊ปเป็นใหญ่ควบคุมทั้งหมดสังฆราชมอบอำนาจให้บิชอพภาคจันทบุรี บิชอพภาคจันทบุรีตั้งเจ้าอาวาสวัดบางปลาสร้อยให้มีอำนาจดูแลที่ดินของวัดได้การที่เจ้าอาวาสวัดบางปลาสร้อยทำสัญญาให้จำเลยเช่าที่ดินของวัด จึงเป็นการทำแทนสังฆราชมิซซังโรมันคาธอลิคกรุงเทพฯ รวมตลอดถึงการบอกเลิกสัญญาเช่าด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 851/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจปกครองมิซซังและการมอบอำนาจสัญญาเช่าที่ดิน: สิทธิของมิซซังในการฟ้องคดี
มิซซังโรมันคาธอลิคกรุงเทพฯมีฐานะเป็นนิติบุคคลและถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินได้(เพียง 2 อย่าง คือ ที่ดินที่ใช้เป็นวัดโรงเรือนตึกรามวัดบาดหลวง และที่ดินเพื่อทำประโยชน์ให้แก่มิซซัง)
ลักษณะสายการปกครองของมิซซัง ได้กำหนดไว้เป็นชั้นๆ ให้มีอำนาจปกครองลดหลั่นกันมาภายในขอบเขตที่กำหนด โดยมีสังฆราชมิซซังโรมันคาธอลิคกรุงเทพ ฯ ผู้ได้รับแต่งตั้งจากโป๊ปเป็นใหญ่ควบคุมทั้งหมด สังฆราชมอบอำนาจให้บิชอพภาคจันทบุรี บิชอพภาคจันทบุรีตั้งเจ้าอาวาสวัดบางปลาสร้อยให้มีอำนาจดูแลที่ดินของวัดได้ การที่เจ้าอาวาสวัดบางปลาสร้อยทำสัญญาให้จำเลยเช่าที่ดินของวัด จึงเป็นการทำแทนสังฆราชมิซซังโรมันคาธอลิคกรุงเทพฯ รวมตลอดถึงการบอกเลิกสัญญาเช่าด้วย
ลักษณะสายการปกครองของมิซซัง ได้กำหนดไว้เป็นชั้นๆ ให้มีอำนาจปกครองลดหลั่นกันมาภายในขอบเขตที่กำหนด โดยมีสังฆราชมิซซังโรมันคาธอลิคกรุงเทพ ฯ ผู้ได้รับแต่งตั้งจากโป๊ปเป็นใหญ่ควบคุมทั้งหมด สังฆราชมอบอำนาจให้บิชอพภาคจันทบุรี บิชอพภาคจันทบุรีตั้งเจ้าอาวาสวัดบางปลาสร้อยให้มีอำนาจดูแลที่ดินของวัดได้ การที่เจ้าอาวาสวัดบางปลาสร้อยทำสัญญาให้จำเลยเช่าที่ดินของวัด จึงเป็นการทำแทนสังฆราชมิซซังโรมันคาธอลิคกรุงเทพฯ รวมตลอดถึงการบอกเลิกสัญญาเช่าด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 851/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจการจัดการที่ดินของมิซซังโรมันคาทอลิก และการมอบอำนาจตามสายการปกครอง
มิซซังโรมันคาธอลิคกรุงเทพฯมีฐานะเป็นนิติบุคคลและถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินได้(เพียง 2 อย่าง คือ ที่ดินที่ใช้เป็นวัดโรงเรือนตึกรามวัดบาดหลวง. และที่ดินเพื่อทำประโยชน์ให้แก่มิซซัง).
ลักษณะสายการปกครองของมิซซัง ได้กำหนดไว้เป็นชั้นๆ ให้มีอำนาจปกครองลดหลั่นกันมาภายในขอบเขตที่กำหนด. โดยมีสังฆราชมิซซังโรมันคาธอลิคกรุงเทพฯผู้ได้รับแต่งตั้งจากโป๊ปเป็นใหญ่ควบคุมทั้งหมด. สังฆราชมอบอำนาจให้บิชอพภาคจันทบุรี บิชอพภาคจันทบุรีตั้งเจ้าอาวาสวัดบางปลาสร้อยให้มีอำนาจดูแลที่ดินของวัดได้. การที่เจ้าอาวาสวัดบางปลาสร้อยทำสัญญาให้จำเลยเช่าที่ดินของวัด. จึงเป็นการทำแทนสังฆราชมิซซังโรมันคาธอลิคกรุงเทพฯ รวมตลอดถึงการบอกเลิกสัญญาเช่าด้วย.
ลักษณะสายการปกครองของมิซซัง ได้กำหนดไว้เป็นชั้นๆ ให้มีอำนาจปกครองลดหลั่นกันมาภายในขอบเขตที่กำหนด. โดยมีสังฆราชมิซซังโรมันคาธอลิคกรุงเทพฯผู้ได้รับแต่งตั้งจากโป๊ปเป็นใหญ่ควบคุมทั้งหมด. สังฆราชมอบอำนาจให้บิชอพภาคจันทบุรี บิชอพภาคจันทบุรีตั้งเจ้าอาวาสวัดบางปลาสร้อยให้มีอำนาจดูแลที่ดินของวัดได้. การที่เจ้าอาวาสวัดบางปลาสร้อยทำสัญญาให้จำเลยเช่าที่ดินของวัด. จึงเป็นการทำแทนสังฆราชมิซซังโรมันคาธอลิคกรุงเทพฯ รวมตลอดถึงการบอกเลิกสัญญาเช่าด้วย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 379/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าและการสิ้นสุดของสัญญาต่างตอบแทน: การเช่าต่อหลังสัญญาต่างตอบแทนหมดอายุ
คดีฟ้องขับไล่ที่ต้องห้ามอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริงนั้น เมื่อผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณาคดีได้รับรองให้อุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริง และศาลอุทธรณ์ได้วินิจฉัยให้ จำเลยฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงได้
จำเลยช่วยออกเงินค่าก่อสร้างให้แก่โจทก์และโจทก์ยอมให้จำเลยเช่ามีกำหนด 6 ปีนั้น เป็นสัญญาต่างตอบแทนเมื่อหมดอายุสัญญาเช่านั้นแล้ว จำเลยได้เช่าต่อมาสัญญาเช่าใหม่นี้เป็นสัญญาเช่าธรรมดา หาใช่สัญญาต่างตอบแทนชนิดพิเศษนอกเหนือจากสัญญาเช่าไม่
จำเลยส่งค่าเช่าไปชำระภายหลังโจทก์บอกเลิกไปแล้วหาทำให้สัญญาที่โจทก์บอกเลิกไปแล้วมีผลให้ต้องผูกพันโจทก์แต่ประการใดไม่
จำเลยช่วยออกเงินค่าก่อสร้างให้แก่โจทก์และโจทก์ยอมให้จำเลยเช่ามีกำหนด 6 ปีนั้น เป็นสัญญาต่างตอบแทนเมื่อหมดอายุสัญญาเช่านั้นแล้ว จำเลยได้เช่าต่อมาสัญญาเช่าใหม่นี้เป็นสัญญาเช่าธรรมดา หาใช่สัญญาต่างตอบแทนชนิดพิเศษนอกเหนือจากสัญญาเช่าไม่
จำเลยส่งค่าเช่าไปชำระภายหลังโจทก์บอกเลิกไปแล้วหาทำให้สัญญาที่โจทก์บอกเลิกไปแล้วมีผลให้ต้องผูกพันโจทก์แต่ประการใดไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 379/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่า, สัญญาต่างตอบแทน, การบอกเลิกสัญญา, ค่าเสียหาย, สิทธิการเช่า
คดีฟ้องขับไล่ที่ต้องห้ามอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริงนั้น เมื่อผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณาคดีได้รับรองให้อุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริงและศาลอุทธรณ์ได้วินิจฉัยให้ จำเลยฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงได้
จำเลยช่วยออกเงินค่าก่อสร้างให้แก่โจทก์และโจทก์ยอมให้จำเลยเช่ามีกำหนด 6 ปีนั้น เป็นสัญญาต่างตอบแทนเมื่อหมดอายุสัญญาเช่านั้นแล้ว จำเลยได้เช่าต่อมาสัญญาเช่าใหม่นี้เป็นสัญญาเช่าธรรมดาหาใช่สัญญาต่างตอบแทนชนิดพิเศษนอกเหนือจากสัญญาเช่าไม่
จำเลยส่งค่าเช่าไปชำระภายหลังโจทก์บอกเลิกไปแล้วหาทำให้สัญญาที่โจทก์บอกเลิกไปแล้วมีผลให้ต้องผูกพันโจทก์แต่ประการใดไม่
จำเลยช่วยออกเงินค่าก่อสร้างให้แก่โจทก์และโจทก์ยอมให้จำเลยเช่ามีกำหนด 6 ปีนั้น เป็นสัญญาต่างตอบแทนเมื่อหมดอายุสัญญาเช่านั้นแล้ว จำเลยได้เช่าต่อมาสัญญาเช่าใหม่นี้เป็นสัญญาเช่าธรรมดาหาใช่สัญญาต่างตอบแทนชนิดพิเศษนอกเหนือจากสัญญาเช่าไม่
จำเลยส่งค่าเช่าไปชำระภายหลังโจทก์บอกเลิกไปแล้วหาทำให้สัญญาที่โจทก์บอกเลิกไปแล้วมีผลให้ต้องผูกพันโจทก์แต่ประการใดไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 379/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าและการสิ้นสุดของสัญญาต่างตอบแทน กรณีช่วยเหลือค่าก่อสร้าง
คดีฟ้องขับไล่ที่ต้องห้ามอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริงนั้น. เมื่อผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณาคดีได้รับรองให้อุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริง. และศาลอุทธรณ์ได้วินิจฉัยให้. จำเลยฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงได้.
จำเลยช่วยออกเงินค่าก่อสร้างให้แก่โจทก์และโจทก์ยอมให้จำเลยเช่ามีกำหนด 6 ปีนั้น. เป็นสัญญาต่างตอบแทน.เมื่อหมดอายุสัญญาเช่านั้นแล้ว. จำเลยได้เช่าต่อมาสัญญาเช่าใหม่นี้เป็นสัญญาเช่าธรรมดา. หาใช่สัญญาต่างตอบแทนชนิดพิเศษนอกเหนือจากสัญญาเช่าไม่.
จำเลยส่งค่าเช่าไปชำระภายหลังโจทก์บอกเลิกไปแล้ว.หาทำให้สัญญาที่โจทก์บอกเลิกไปแล้วมีผลให้ต้องผูกพันโจทก์แต่ประการใดไม่.
จำเลยช่วยออกเงินค่าก่อสร้างให้แก่โจทก์และโจทก์ยอมให้จำเลยเช่ามีกำหนด 6 ปีนั้น. เป็นสัญญาต่างตอบแทน.เมื่อหมดอายุสัญญาเช่านั้นแล้ว. จำเลยได้เช่าต่อมาสัญญาเช่าใหม่นี้เป็นสัญญาเช่าธรรมดา. หาใช่สัญญาต่างตอบแทนชนิดพิเศษนอกเหนือจากสัญญาเช่าไม่.
จำเลยส่งค่าเช่าไปชำระภายหลังโจทก์บอกเลิกไปแล้ว.หาทำให้สัญญาที่โจทก์บอกเลิกไปแล้วมีผลให้ต้องผูกพันโจทก์แต่ประการใดไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 177/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในที่ดินเช่า, การบอกเลิกสัญญาเช่า, และการฟ้องขับไล่เมื่อครบกำหนดสัญญา
ที่พิพาทเป็นของโจทก์ แม้จะมีข้อจำกัดกรรมสิทธิ์บางส่วนตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พ.ศ.2485. โจทก์ก็มีสิทธิให้จำเลยเช่าได้. และโจทก์มีสิทธิฟ้องขับไล่จำเลยได้.
จำเลยทำสัญญาเช่าที่รายพิพาทจากโจทก์ เมื่อวันที่ 1เมษายน 2492 มีกำหนด 3 ปี. เมื่อสิ้นกำหนดเวลาเช่าแล้ว จำเลยครองที่พิพาทอยู่. จำเลยได้ชำระค่าเช่าให้โจทก์เรื่อยมา. โจทก์เพิ่งบอกเลิกสัญญาเช่าเมื่อเดือนมกราคม2504. โจทก์ย่อมฟ้องขับไล่จำเลยได้. คดีไม่ขาดอายุความ.
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายถึงวันฟ้อง. เมื่อศาลเห็นสมควรศาลย่อมพิพากษาให้จำเลยใช้ค่าเสียหายจนถึงวันที่จำเลยรื้อถอนโรงเรือนออกไปจากที่ดินของโจทก์ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(4).
จำเลยทำสัญญาเช่าที่รายพิพาทจากโจทก์ เมื่อวันที่ 1เมษายน 2492 มีกำหนด 3 ปี. เมื่อสิ้นกำหนดเวลาเช่าแล้ว จำเลยครองที่พิพาทอยู่. จำเลยได้ชำระค่าเช่าให้โจทก์เรื่อยมา. โจทก์เพิ่งบอกเลิกสัญญาเช่าเมื่อเดือนมกราคม2504. โจทก์ย่อมฟ้องขับไล่จำเลยได้. คดีไม่ขาดอายุความ.
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายถึงวันฟ้อง. เมื่อศาลเห็นสมควรศาลย่อมพิพากษาให้จำเลยใช้ค่าเสียหายจนถึงวันที่จำเลยรื้อถอนโรงเรือนออกไปจากที่ดินของโจทก์ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(4).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 177/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการเช่าและขับไล่: แม้มีข้อจำกัดกรรมสิทธิ์ โจทก์มีสิทธิฟ้องขับไล่จำเลยได้หากสัญญาเช่าสิ้นสุด
ที่พิพาทเป็นของโจทก์ แม้จะมีข้อจำกัดกรรมสิทธิ์บางส่วนตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พ.ศ.2485 โจทก์ก็มีสิทธิให้จำเลยเช่าได้ และโจทก์มีสิทธิฟ้องขับไล่จำเลยได้
จำเลยทำสัญญาเช่าที่รายพิพาทจากโจทก์ เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2492 มีกำหนด 3 ปี เมื่อสิ้นกำหนดเวลาเช่าแล้ว จำเลยครองที่พิพาทอยู่ จำเลยได้ชำระค่าเช่าให้โจทก์เรื่อยมาโจทก์เพิ่งบอกเลิกสัญญาเช่าเมื่อเดือนมกราคม 2504 โจทก์ย่อมฟ้องขับไล่จำเลยได้ คดีไม่ขาดอายุความ
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายถึงวันฟ้องเมื่อศาลเห็นสมควรศาลย่อมพิพากษาให้จำเลยใช้ค่าเสียหายจนถึงวันที่จำเลยรื้อถอนโรงเรือนออกไปจากที่ดินของโจทก์ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(4)
จำเลยทำสัญญาเช่าที่รายพิพาทจากโจทก์ เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2492 มีกำหนด 3 ปี เมื่อสิ้นกำหนดเวลาเช่าแล้ว จำเลยครองที่พิพาทอยู่ จำเลยได้ชำระค่าเช่าให้โจทก์เรื่อยมาโจทก์เพิ่งบอกเลิกสัญญาเช่าเมื่อเดือนมกราคม 2504 โจทก์ย่อมฟ้องขับไล่จำเลยได้ คดีไม่ขาดอายุความ
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายถึงวันฟ้องเมื่อศาลเห็นสมควรศาลย่อมพิพากษาให้จำเลยใช้ค่าเสียหายจนถึงวันที่จำเลยรื้อถอนโรงเรือนออกไปจากที่ดินของโจทก์ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(4)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 177/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการเช่าและขับไล่: แม้มีข้อจำกัดกรรมสิทธิ์ โจทก์มีสิทธิฟ้องขับไล่จำเลยได้หากสัญญาเช่าสิ้นสุดและจำเลยยังครอบครอง
ที่พิพาทเป็นของโจทก์ แม้จะมีข้อจำกัดกรรมสิทธิ์บางส่วนตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พ.ศ. 2485 โจทก์ก็มีสิทธิให้จำเลยเช่าได้ และโจทก์มีสิทธิฟ้องขับไล่จำเลยได้
จำเลยทำสัญญาเช่าที่รายพิพาทจากโจทก์ เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2492 มีกำหนด 3 ปี เมื่อสิ้นกำหนดเวลาเช่าแล้ว จำเลยครองที่พิพาทอยู่ จำเลยได้ชำระค่าเช่าให้โจทก์เรื่อยมา โจทก์เพิ่งบอกเลิกสัญญาเช่าเมื่อเดือนมกราคม 2504 โจทก์ย่อมฟ้องขับไล่จำเลยได้ คดีไม่ขาดอายุความ
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายถึงวันฟ้อง เมื่อศาลเห็นสมควรย่อมพิพากษาให้จำเลยใช้ค่าเสียหายจนถึงวันที่จำเลยรื้อถอนโรงเรือนออกไปจากที่ดินของโจทก์ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142 (4)
จำเลยทำสัญญาเช่าที่รายพิพาทจากโจทก์ เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2492 มีกำหนด 3 ปี เมื่อสิ้นกำหนดเวลาเช่าแล้ว จำเลยครองที่พิพาทอยู่ จำเลยได้ชำระค่าเช่าให้โจทก์เรื่อยมา โจทก์เพิ่งบอกเลิกสัญญาเช่าเมื่อเดือนมกราคม 2504 โจทก์ย่อมฟ้องขับไล่จำเลยได้ คดีไม่ขาดอายุความ
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายถึงวันฟ้อง เมื่อศาลเห็นสมควรย่อมพิพากษาให้จำเลยใช้ค่าเสียหายจนถึงวันที่จำเลยรื้อถอนโรงเรือนออกไปจากที่ดินของโจทก์ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142 (4)