พบผลลัพธ์ทั้งหมด 196 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7591/2542
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดร่วมของผู้ขนส่งและผู้รับประกันภัยทางทะเล กรณีสินค้าเสียหาย
พ.ร.บ. การรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534 มาตรา 54 บัญญัติว่า ผู้ขนส่งไม่ต้องรับผิดเพื่อการสูญหาย เสียหายหรือส่งมอบชักช้า อันเป็นผลจากการใช้มาตรการต่าง ๆ ที่พึงกระทำเพื่อระงับอัคคีภัยหรือหลีกเลี่ยงหรือบรรเทาผลเสียหายจากอัคคีภัย เว้นแต่ผู้ใช้สิทธิเรียกร้องจะพิสูจน์ได้ว่า เป็นความผิดหรือประมาทเลินเล่อของ ผู้ขนส่ง? ในการใช้มาตรการดังกล่าว ดังนั้น ผู้ขนส่งจึงมีภาระการพิสูจน์ในเบื้องต้นว่า ได้ใช้มาตรการต่าง ๆ ที่พึงกระทำเพื่อระงับอัคคีภัยหรือหลีกเลี่ยงหรือบรรเทาผลเสียหายจากอัคคีภัย เพื่อเป็นเหตุให้ไม่ต้องรับผิดใน ความเสียหายของสินค้า
จำเลยที่ 1 เป็นเจ้าของเรือเดินทะเลชื่อ ช. ประกอบกิจการรับขนของทางทะเลโดยมีบำเหน็จเป็นทางการค้าปกติเช่นเดียวกับจำเลยที่ 2 บริษัท ด. ได้ว่าจ้างจำเลยทั้งสองทำการขนส่งสินค้าทางทะเลโดยเรือ ช. แม้จำเลยที่ 2 จะเป็นผู้ออกใบตราส่งสินค้าพิพาทแต่เพียงผู้เดียวก็ตาม แต่เมื่อฟังได้ว่าจำเลยที่ 1 ได้เข้ามาเกี่ยวข้องในการขนส่งสินค้าพิพาททางทะเลร่วมกับจำเลยที่ 2 ผู้ขนส่ง โดยได้รับมอบหมายจากจำเลยที่ 2 ผู้ขนส่งให้ทำการขนส่งสินค้าพิพาทจากเมืองฮูสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา มายังกรุงเทพมหานครย่อมถือว่าจำเลยที่ 1 เป็นผู้ขนส่งอื่นตามความหมายใน มาตรา 3 แห่ง พ.ร.บ. การรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534 จำเลยที่ 1 จึงต้องร่วมรับผิดกับจำเลยที่ 2 ต่อโจทก์ตาม มาตรา 3 และ มาตรา 43 ถึง 45 แห่ง พ.ร.บ. ดังกล่าว
โจทก์ผู้รับประกันภัยสินค้าพิพาทได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เอาประกันแล้วจึงได้รับช่วงสิทธิในค่าเสียหายโดยชอบที่จะฟ้องคดีนี้และมีสิทธิคิดดอกเบี้ยตั้งแต่วันที่โจทก์ได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เอาประกันภัยโดยมิต้องบอกกล่าวจำเลยที่ 1 และที่ 2
จำเลยที่ 1 เป็นเจ้าของเรือเดินทะเลชื่อ ช. ประกอบกิจการรับขนของทางทะเลโดยมีบำเหน็จเป็นทางการค้าปกติเช่นเดียวกับจำเลยที่ 2 บริษัท ด. ได้ว่าจ้างจำเลยทั้งสองทำการขนส่งสินค้าทางทะเลโดยเรือ ช. แม้จำเลยที่ 2 จะเป็นผู้ออกใบตราส่งสินค้าพิพาทแต่เพียงผู้เดียวก็ตาม แต่เมื่อฟังได้ว่าจำเลยที่ 1 ได้เข้ามาเกี่ยวข้องในการขนส่งสินค้าพิพาททางทะเลร่วมกับจำเลยที่ 2 ผู้ขนส่ง โดยได้รับมอบหมายจากจำเลยที่ 2 ผู้ขนส่งให้ทำการขนส่งสินค้าพิพาทจากเมืองฮูสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา มายังกรุงเทพมหานครย่อมถือว่าจำเลยที่ 1 เป็นผู้ขนส่งอื่นตามความหมายใน มาตรา 3 แห่ง พ.ร.บ. การรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534 จำเลยที่ 1 จึงต้องร่วมรับผิดกับจำเลยที่ 2 ต่อโจทก์ตาม มาตรา 3 และ มาตรา 43 ถึง 45 แห่ง พ.ร.บ. ดังกล่าว
โจทก์ผู้รับประกันภัยสินค้าพิพาทได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เอาประกันแล้วจึงได้รับช่วงสิทธิในค่าเสียหายโดยชอบที่จะฟ้องคดีนี้และมีสิทธิคิดดอกเบี้ยตั้งแต่วันที่โจทก์ได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เอาประกันภัยโดยมิต้องบอกกล่าวจำเลยที่ 1 และที่ 2
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7561/2542 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาคดีอาญาต้องเปิดเผยต่อจำเลย หากจำเลยหลบหนี ศาลไม่อาจดำเนินกระบวนการลับหลังได้
ในคดีอาญา การพิจารณาและสืบพยานไม่ว่าในชั้นสืบพยานโจทก์หรือพยานจำเลยจะต้องทำโดยเปิดเผยต่อหน้าจำเลย เว้นแต่ศาลจะอนุญาตให้จำเลยไม่มาฟังการพิจารณาและการสืบพยานนั้นได้ตาม ป.วิ.อ.มาตรา 172 ทวิ
เมื่อศาลชั้นต้นเห็นว่าจำเลยไม่มาศาลในวันนัดสืบพยานจำเลยโดยไม่แจ้งเหตุขัดข้อง ถือว่าจำเลยมีพฤติการณ์หลบหนี และให้ออกหมายจับจำเลยแล้วศาลชั้นต้นก็ไม่อาจดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างหนึ่งอย่างใดลับหลังจำเลยได้อีกต่อไปการที่ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาต่อไปโดยให้ถือว่าจำเลยไม่ติดใจสืบพยานและเป็นอันหมดพยานจำเลย คดีเสร็จการพิจารณาและนัดฟังคำพิพากษา กับได้มีคำพิพากษาคดีไป จึงเป็นการไม่ชอบด้วย ป.วิ.อ.มาตรา 172 วรรคหนึ่ง ปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย แม้คู่ความมิได้ฎีกาขึ้นมาศาลฎีกาก็มีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยเองได้ ตาม ป.วิ.อ.มาตรา 195 ประกอบมาตรา225 ศาลฎีกาพิพากษายกคำพิพากษาของศาลล่างทั้งสอง ให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาในขั้นตอนการสืบพยานจำเลยแล้วมีคำพิพากษาใหม่ตามรูปคดี
เมื่อศาลชั้นต้นเห็นว่าจำเลยไม่มาศาลในวันนัดสืบพยานจำเลยโดยไม่แจ้งเหตุขัดข้อง ถือว่าจำเลยมีพฤติการณ์หลบหนี และให้ออกหมายจับจำเลยแล้วศาลชั้นต้นก็ไม่อาจดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างหนึ่งอย่างใดลับหลังจำเลยได้อีกต่อไปการที่ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาต่อไปโดยให้ถือว่าจำเลยไม่ติดใจสืบพยานและเป็นอันหมดพยานจำเลย คดีเสร็จการพิจารณาและนัดฟังคำพิพากษา กับได้มีคำพิพากษาคดีไป จึงเป็นการไม่ชอบด้วย ป.วิ.อ.มาตรา 172 วรรคหนึ่ง ปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย แม้คู่ความมิได้ฎีกาขึ้นมาศาลฎีกาก็มีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยเองได้ ตาม ป.วิ.อ.มาตรา 195 ประกอบมาตรา225 ศาลฎีกาพิพากษายกคำพิพากษาของศาลล่างทั้งสอง ให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาในขั้นตอนการสืบพยานจำเลยแล้วมีคำพิพากษาใหม่ตามรูปคดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7561/2542
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาคดีอาญาต้องกระทำต่อหน้าจำเลย การดำเนินกระบวนพิจารณาลับหลังจำเลยที่ไม่ได้รับอนุญาตเป็นโมฆะ
ในคดีอาญา การพิจารณาและสืบพยานไม่ว่าในชั้นสืบพยานโจทก์หรือพยานจำเลยจะต้องทำโดยเปิดเผยต่อหน้าจำเลย เว้นแต่ศาลจะอนุญาตให้จำเลยไม่มาฟังการพิจารณาและการสืบพยานนั้นได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 172 ทวิ
เมื่อศาลชั้นต้นเห็นว่าจำเลยไม่มาศาลในวันนัดสืบพยานจำเลยโดยไม่แจ้งเหตุขัดข้อง ถือว่าจำเลยมีพฤติการณ์หลบหนี และให้ออกหมายจับจำเลยแล้วศาลชั้นต้นก็ไม่อาจดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างหนึ่งอย่างใดลับหลังจำเลยได้อีกต่อไปการที่ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาต่อไปโดยให้ถือว่าจำเลยไม่ติดใจสืบพยานและเป็นอันหมดพยานจำเลย คดีเสร็จการพิจารณาและนัดฟังคำพิพากษากับได้มีคำพิพากษาคดีไป จึงเป็นการไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 172 วรรคหนึ่ง ปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยแม้คู่ความมิได้ฎีกาขึ้นมาศาลฎีกาก็มีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยเองได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 195 ประกอบมาตรา 225 ศาลฎีกาพิพากษายกคำพิพากษาของศาลล่างทั้งสอง ให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาในขั้นตอนการสืบพยานจำเลยแล้วมีคำพิพากษาใหม่ตามรูปคดี
เมื่อศาลชั้นต้นเห็นว่าจำเลยไม่มาศาลในวันนัดสืบพยานจำเลยโดยไม่แจ้งเหตุขัดข้อง ถือว่าจำเลยมีพฤติการณ์หลบหนี และให้ออกหมายจับจำเลยแล้วศาลชั้นต้นก็ไม่อาจดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างหนึ่งอย่างใดลับหลังจำเลยได้อีกต่อไปการที่ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาต่อไปโดยให้ถือว่าจำเลยไม่ติดใจสืบพยานและเป็นอันหมดพยานจำเลย คดีเสร็จการพิจารณาและนัดฟังคำพิพากษากับได้มีคำพิพากษาคดีไป จึงเป็นการไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 172 วรรคหนึ่ง ปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยแม้คู่ความมิได้ฎีกาขึ้นมาศาลฎีกาก็มีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยเองได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 195 ประกอบมาตรา 225 ศาลฎีกาพิพากษายกคำพิพากษาของศาลล่างทั้งสอง ให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาในขั้นตอนการสืบพยานจำเลยแล้วมีคำพิพากษาใหม่ตามรูปคดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7444/2542 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ระยะเวลาการยื่นคำขอให้พิจารณาใหม่หลังการส่งคำบังคับตามคำพิพากษา
พนักงานเดินหมายได้ส่งคำบังคับตามคำพิพากษาให้จำเลยโดยวิธีปิดหมายเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2540 การส่งคำบังคับดังกล่าวมีผลใช้ได้เมื่อกำหนดเวลา 15 วัน ได้ล่วงพ้นไปแล้วตาม ป.วิ.พ.มาตรา 79 วรรคสอง ดังนั้น คำบังคับที่ส่งให้แก่จำเลย จึงมีผลในวันที่ 18 กันยายน 2540 จำเลยอาจยื่นคำขอให้พิจารณาใหม่ได้ภายใน 15 วัน นับจากวันที่การส่งคำบังคับตามคำพิพากษามีผล จึงครบกำหนดในวันที่ 2 ตุลาคม 2540 จำเลยยื่นคำขอให้พิจารณาใหม่ในวันที่ 27 ตุลาคม2540 ล่วงเลยระยะเวลา 15 วัน ตามที่กฎหมายกำหนดไว้ จำเลยจึงขอให้พิจารณาใหม่ไม่ได้
ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 208 บัญญัติไว้แต่เพียงว่า คำขอให้พิจารณาใหม่นั้น ให้ยื่นต่อศาลภายใน 15 วันนับจากวันที่ได้ส่งคำบังคับตามคำพิพากษา หาได้บัญญัติให้นับจากวันที่พ้นกำหนดระยะเวลาที่ต้องปฏิบัติตามคำบังคับเข้าไว้ด้วยไม่
ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 208 บัญญัติไว้แต่เพียงว่า คำขอให้พิจารณาใหม่นั้น ให้ยื่นต่อศาลภายใน 15 วันนับจากวันที่ได้ส่งคำบังคับตามคำพิพากษา หาได้บัญญัติให้นับจากวันที่พ้นกำหนดระยะเวลาที่ต้องปฏิบัติตามคำบังคับเข้าไว้ด้วยไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7444/2542
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กำหนดเวลาการยื่นคำขอให้พิจารณาใหม่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ต้องนับจากวันที่ส่งคำบังคับ ไม่ใช่วันที่พ้นกำหนดปฏิบัติตามคำบังคับ
พนักงานเดินหมายได้ส่งคำบังคับตามคำพิพากษาให้จำเลยโดยวิธีปิดหมายเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2540 การส่งคำบังคับดังกล่าวมีผลใช้ได้เมื่อกำหนดเวลา 15 วันได้ล่วงพ้นไปแล้วตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 79 วรรคสองดังนั้น คำบังคับที่ส่งให้แก่จำเลย จึงมีผลในวันที่ 18 กันยายน 2540 จำเลยยื่นคำขอให้พิจารณาใหม่ได้ภายใน 15 วัน นับจากวันที่การส่งคำบังคับตามคำพิพากษามีผล จึงครบกำหนดในวันที่ 2 ตุลาคม 2540จำเลยยื่นคำขอให้พิจารณาใหม่ในวันที่ 27 ตุลาคม 2540 ล่วงระยะเวลา 15 วัน ตามที่กฎหมายกำหนดไว้ จำเลยจึงขอให้พิจารณาใหม่ไม่ได้
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 208 บัญญัติไว้แต่เพียงว่าคำขอให้พิจารณาใหม่นั้น ให้ยื่นต่อศาลภายใน 15 วันนับจากวันที่ได้ส่งคำบังคับตามคำพิพากษา หาได้บัญญัติให้นับจากวันที่พ้นกำหนดระยะเวลาที่ต้องปฏิบัติตามคำบังคับเข้าไว้ด้วยไม่
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 208 บัญญัติไว้แต่เพียงว่าคำขอให้พิจารณาใหม่นั้น ให้ยื่นต่อศาลภายใน 15 วันนับจากวันที่ได้ส่งคำบังคับตามคำพิพากษา หาได้บัญญัติให้นับจากวันที่พ้นกำหนดระยะเวลาที่ต้องปฏิบัติตามคำบังคับเข้าไว้ด้วยไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7341/2542 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเก็บกินรวมถึงสิ่งปลูกสร้างบนที่ดิน เจ้าของสิทธิเก็บกินมีอำนาจขับไล่ผู้เช่าหลังสัญญาหมดอายุ
แม้ตามรายการจดทะเบียนเพียงแต่จดทะเบียนให้โจทก์มีสิทธิเก็บกินเฉพาะที่ดินโฉนดเลขที่ 3350 ตามฟ้อง โดยไม่ได้ระบุถึงตึกแถวพิพาทซึ่งปลูกอยู่บนที่ดินพิพาทซึ่งจำเลยเป็นผู้ทำสัญญาเช่าจากเจ้าของกรรมสิทธิ์รวมในที่ดินก็ตามแต่โจทก์ก็เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ร่วมกับผู้มีชื่อในที่ดินโฉนดเลขที่ 3350 ตามฟ้อง และผู้มีชื่อซึ่งเจ้าของกรรมสิทธิ์รวมได้จดทะเบียนให้โจทก์มีสิทธิเก็บกินในที่ดินเฉพาะส่วนตลอดชีวิต ดังนี้ ข้อความที่จดทะเบียนสิทธิเก็บกินนั้น ย่อมหมายรวมถึงสิ่งปลูกสร้างใด ๆบนที่ดิน คือ ห้องแถวพิพาทซึ่งเป็นส่วนควบของที่ดินที่โจทก์มีสิทธิเก็บกินด้วย และการจดทะเบียนสิทธิเก็บกินก็ไม่ได้ระบุจำกัดว่าให้โจทก์มีสิทธิถือเอาประโยชน์แต่เฉพาะในที่ดินโดยแยกออกเป็นส่วนหนึ่งต่างหากจากตึกแถวพิพาทที่ปลูกอยู่บนที่ดินที่จำเลยเช่าอยู่นั้นและแม้โจทก์จะมิใช่เป็นผู้ทำสัญญาให้จำเลยเช่าตึกแถวพิพาทในฐานะเป็นผู้ให้เช่าก็ไม่เป็นเหตุให้โจทก์ในฐานะผู้ทรงสิทธิเก็บกินหมดสิทธิในการจัดการให้จำเลยออกไปจากตึกแถวพิพาทซึ่งเป็นการจัดการทรัพย์สินหรือถือเอาประโยชน์แห่งทรัพย์สินในที่ดินนั้นจนตลอดชีวิตของโจทก์ตามที่จดทะเบียนสิทธิเก็บกินไว้ดังกล่าวตาม ป.พ.พ.มาตรา1417 และเมื่อสัญญาเช่าตึกแถวพิพาทได้สิ้นอายุการเช่าแล้ว และโจทก์ไม่ประสงค์ให้จำเลยอยู่ในตึกแถวพิพาทต่อไป และมีหนังสือบอกกล่าวให้ออกไป จำเลยย่อมไม่มีสิทธิอยู่ในตึกแถวพิพาทต่อไป โจทก์จึงมีอำนาจฟ้องขับไล่จำเลยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7341/2542 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเก็บกินครอบคลุมสิ่งปลูกสร้างบนที่ดิน ผู้ทรงสิทธิเก็บกินมีอำนาจขับไล่ผู้เช่าเมื่อสัญญาเช่าสิ้นสุด
แม้ตามรายการจดทะเบียนเพียงแต่จดทะเบียนให้โจทก์มีสิทธิเก็บกินเฉพาะที่ดินโฉนดเลขที่ 3350 ตามฟ้อง โดยไม่ได้ระบุถึงตึกแถวพิพาทซึ่งปลูกอยู่บนที่ดินพิพาทซึ่งจำเลยเป็นผู้ทำสัญญาเช่าจากเจ้าของกรรมสิทธิ์รวมในที่ดินก็ตาม แต่โจทก์ก็เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ร่วมกับผู้มีชื่อในที่ดินโฉนดเลขที่ 3350 ตามฟ้อง และผู้มีชื่อซึ่งเจ้าของกรรมสิทธิ์รวมได้จดทะเบียนให้โจทก์มีสิทธิเก็บกินในที่ดินเฉพาะส่วนตลอดชีวิต ดังนี้ ข้อความที่จดทะเบียนสิทธิเก็บกินนั้น ย่อมหมายรวมถึงสิ่งปลูกสร้างใด ๆ บนที่ดิน คือ ห้องแถวพิพาทซึ่งเป็นส่วนควบของที่ดินที่โจทก์มีสิทธิเก็บกินด้วย และการจดทะเบียนสิทธิเก็บกินก็ไม่ได้ระบุจำกัดว่าให้โจทก์มีสิทธิถือเอาประโยชน์แต่เฉพาะในที่ดินโดยแยกออกเป็นส่วนหนึ่งต่างหากจากตึกแถวพิพาทที่ปลูกอยู่บนที่ดินที่จำเลยเช่าอยู่นั้น และแม้โจทก์จะมิใช่เป็นผู้ทำสัญญาให้จำเลยเช่าตึกแถวพิพาทในฐานะเป็นผู้ให้เช่าก็ไม่เป็นเหตุให้โจทก์ในฐานะผู้ทรงสิทธิเก็บกินหมดสิทธิในการจัดการให้จำเลยออกไปจากตึกแถวพิพาทซึ่งเป็นการจัดการทรัพย์สินหรือถือเอาประโยชน์แห่งทรัพย์สินในที่ดินนั้นจนตลอดชีวิตของโจทก์ตามที่จดทะเบียนสิทธิเก็บกินไว้ดังกล่าวตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1417 และเมื่อสัญญาเช่าตึกแถวพิพาทได้สิ้นอายุการเช่าแล้ว และโจทก์ไม่ประสงค์ให้จำเลยอยู่ในตึกแถวพิพาทต่อไป และมีหนังสือบอกกล่าวให้ออกไป จำเลยย่อมไม่มีสิทธิอยู่ในตึกแถวพิพาทต่อไป โจทก์จึงมีอำนาจฟ้องขับไล่จำเลยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7341/2542
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเก็บกินรวมถึงสิ่งปลูกสร้าง ผู้ทรงสิทธิเก็บกินมีอำนาจฟ้องขับไล่ผู้เช่าเมื่อสัญญาเช่าสิ้นสุด
สิทธิเก็บกินในที่ดินเฉพาะส่วนย่อมหมายถึงสิ่งปลูกสร้างใด ๆ ซึ่งเป็นส่วนควบของที่ดินนั้นด้วย
เมื่อสัญญาเช่าตึกแถวพิพาทสิ้นอายุการเช่าแล้ว โจทก์ผู้ทรงสิทธิเก็บกินย่อมมีอำนาจฟ้องขับไล่จำเลยซึ่งเป็นผู้เช่าได้ แม้โจทก์จะมิใช่ผู้ทำสัญญาในฐานะผู้ให้เช่า ก็ไม่เป็นเหตุให้โจทก์ในฐานะผู้ทรงสิทธิเก็บกินหมดสิทธิจัดการทรัพย์สินหรือถือเอาประโยชน์แห่งทรัพย์สินในที่ดินนั้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1417
เมื่อสัญญาเช่าตึกแถวพิพาทสิ้นอายุการเช่าแล้ว โจทก์ผู้ทรงสิทธิเก็บกินย่อมมีอำนาจฟ้องขับไล่จำเลยซึ่งเป็นผู้เช่าได้ แม้โจทก์จะมิใช่ผู้ทำสัญญาในฐานะผู้ให้เช่า ก็ไม่เป็นเหตุให้โจทก์ในฐานะผู้ทรงสิทธิเก็บกินหมดสิทธิจัดการทรัพย์สินหรือถือเอาประโยชน์แห่งทรัพย์สินในที่ดินนั้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1417
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6666/2542 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การทำลายรั้วไม้ไผ่: พิจารณาความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ มิใช่ฐานวางเพลิง
จำเลยมีเจตนาจะทำลายรั้วไม้ไผ่ที่ปักติดเป็นแผงของผู้เสียหายโดยนำไปเผาให้ใช้การไม่ได้เท่านั้น การที่จำเลยดึงรั้วไม้ไผ่ของผู้เสียหายจำนวน2 แผง แล้วนำไปเผาทำลายใกล้บริเวณรั้วนั้น จำเลยจึงมีความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ตาม ป.อ.มาตรา 358 เพียงบทเดียว มิใช่กระทำผิดหลายบท การเผาแผงไม้ไผ่เป็นการทำลายทรัพย์ของผู้เสียหายให้เสียหาย มิใช่จำเลยวางเพลิงเผารั้วบ้านของผู้เสียหายในขณะที่มีสภาพเป็นรั้วบ้านกั้นขอบเขตเป็นที่อยู่อาศัย จึงไม่เป็นความผิดตาม ป.อ.มาตรา 217 อีกกระทงหนึ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6666/2542 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การทำให้เสียทรัพย์จากการเผารั้วไม้ไผ่: ความผิดฐานเดียวตาม ม.358 ไม่ใช่ความผิดหลายกระทง
จำเลยมีเจตนาจะทำลายรั้วไม้ไผ่ที่ปักติดเป็นแผงของผู้เสียหายโดยนำไปเผาให้ใช้การไม่ได้เท่านั้น การที่จำเลยดึงรั้วไม้ไผ่ของผู้เสียหายจำนวน 2 แผง แล้วนำไปเผาทำลายใกล้บริเวณรั้วนั้น จำเลยจึงมีความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 358 เพียงบทเดียว มิใช่กระทำผิดหลายบท การเผาแผงไม้ไผ่เป็นการทำลายทรัพย์ของผู้เสียหายให้เสียหาย มิใช่จำเลยวางเพลิงเผารั้วบ้านของผู้เสียหายในขณะที่มีสภาพเป็นรั้วบ้านกั้นขอบเขตเป็นที่อยู่อาศัย จึงไม่เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 217 อีกกระทงหนึ่ง