พบผลลัพธ์ทั้งหมด 171 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 582/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การส่งหมายเรียกและภูมิลำเนา การครอบครองที่ดิน และสิทธิเหนือที่ดินสาธารณสมบัติ
(1) เดิมจำเลยทำงานอยู่ที่แห่งหนึ่งในจังหวัดสระบุรี และโจทก์ได้ฟ้องอ้างถิ่นที่อยู่แห่งนี้และเจ้าพนักงานศาลก็นำหมายเรียกและสำเนาฟ้องส่งแก่จำเลย ณ ที่นี้ และพบจำเลย ๆ ไม่ยอมรับ เจ้าพนักงานจึงวางหมายไว้ ถือว่าได้ส่งหมายเรียกและสำเนาฟ้องโดยชอบแล้ว ถึงแม้จะปรากฏว่าจำเลยได้ย้ายไปทำงานอยู่อีกแห่งหนึ่งในจังหวัดลพบุรี ยังคงกินอยู่หลับนอนอยู่ที่เดิม
(2) ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 199 นั้น จำเลยไม่มีสิทธิอ้างพยานเอกสารมาสืบ
(3) ถึงแม้จะปรากฏว่าที่พิพาทเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินดังจำเลยว่าก็ตาม แต่เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าโจทก์ครอบครองที่พิพาทอยู่ โจทก์ย่อมมีสิทธิดีกว่าจำเลย เพราะเป็นความสัมพันธ์ระหว่างราษฎรด้วยกัน
(2) ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 199 นั้น จำเลยไม่มีสิทธิอ้างพยานเอกสารมาสืบ
(3) ถึงแม้จะปรากฏว่าที่พิพาทเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินดังจำเลยว่าก็ตาม แต่เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าโจทก์ครอบครองที่พิพาทอยู่ โจทก์ย่อมมีสิทธิดีกว่าจำเลย เพราะเป็นความสัมพันธ์ระหว่างราษฎรด้วยกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 582/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การส่งหมายเรียกที่ชอบด้วยกฎหมาย และสิทธิการครอบครองที่ดินระหว่างราษฎร
(1) เดิมจำเลยทำงานอยู่ที่แห่งหนึ่งในจังหวัดสระบุรี และโจทก์ได้ฟ้องอ้างถิ่นที่อยู่แห่งนี้และเจ้าพนักงานศาลก็นำหมายเรียกและสำเนาฟ้องส่งแก่จำเลย ณ ที่นี้และพบจำเลยๆ ไม่ยอมรับเจ้าพนักงานจึงวางหมายไว้ถือว่าได้ส่งหมายเรียกและสำเนาฟ้องโดยชอบแล้ว ถึงแม้จะปรากฏว่าจำเลยได้ย้ายไปทำงานอยู่อีกแห่งหนึ่งในจังหวัดลพบุรีแต่จำเลยหาได้ย้ายทะเบียนและครอบครัวไปไม่ ยังคงกินอยู่หลับนอนอยู่ที่เดิม
(2) ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 199 นั้นจำเลยไม่มีสิทธิอ้างพยานเอกสารมาสืบ
(3) ถึงแม้จะปรากฏว่าที่พิพาทเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินดังจำเลยว่าก็ตามแต่เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าโจทก์ครอบครองที่พิพาทอยู่ โจทก์ย่อมมีสิทธิดีกว่าจำเลยเพราะเป็นความสัมพันธ์ระหว่างราษฎรด้วยกัน
(2) ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 199 นั้นจำเลยไม่มีสิทธิอ้างพยานเอกสารมาสืบ
(3) ถึงแม้จะปรากฏว่าที่พิพาทเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินดังจำเลยว่าก็ตามแต่เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าโจทก์ครอบครองที่พิพาทอยู่ โจทก์ย่อมมีสิทธิดีกว่าจำเลยเพราะเป็นความสัมพันธ์ระหว่างราษฎรด้วยกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 371/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดนัดพิจารณา ไม่ตัดสิทธิการนำสืบพยาน หากจำเลยได้ยื่นคำให้การสู้คดีไว้แล้ว
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 199 วรรค 2 บัญญัติห้ามมิให้จำเลยเรียกพยานเข้าสืบเฉพาะกรณีที่ขาดนัดยื่นคำให้การเท่านั้น ฉะนั้น เมื่อจำเลยเพียงแต่ขัดนัดพิจารณาแต่มิได้ขาดนัดยื่นคำให้การ จำเลยจึงหาหมดสิทธิที่จะนำพยานหลักฐานของตนเข้าสืบไม่
การขัดนัดพิจารณาในนัดหนึ่งนัดใด ถ้าคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งนำพยานหลักฐานเข้าสืบยังไม่หมด นัดต่อไปคู่ความที่ขาดนัดมาศาลก็ย่อมมีสิทธิที่จะถามค้านได้เพราะไม่ใช่เป็นพยานที่ได้สืบไปแล้ว
การที่คู่ความแถลงร่วมกันขอให้ศาลตั้งผู้เชี่ยวชาญแล้ว แม้ต่อมาจะไม่ตกลงกันในเรื่องค่าใช้จ่าย และในที่สุดฝ่ายหนึ่งได้ขอให้ศาลตั้งผู้เชี่ยวชาญไปฝ่ายเดียว ดังนี้อีกฝ่ายหนึ่งจะกลับมาคัดค้านภายหลังหาได้ไม่
การขออ้างพยานเพิ่ม แม้จะล่วงเวลาหลังจากสืบพยานฝ่ายตรงข้ามแล้ว ถ้าศาลเห็นมีเหตุสมควร ก็มีอำนาจอนุญาตได้
การขัดนัดพิจารณาในนัดหนึ่งนัดใด ถ้าคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งนำพยานหลักฐานเข้าสืบยังไม่หมด นัดต่อไปคู่ความที่ขาดนัดมาศาลก็ย่อมมีสิทธิที่จะถามค้านได้เพราะไม่ใช่เป็นพยานที่ได้สืบไปแล้ว
การที่คู่ความแถลงร่วมกันขอให้ศาลตั้งผู้เชี่ยวชาญแล้ว แม้ต่อมาจะไม่ตกลงกันในเรื่องค่าใช้จ่าย และในที่สุดฝ่ายหนึ่งได้ขอให้ศาลตั้งผู้เชี่ยวชาญไปฝ่ายเดียว ดังนี้อีกฝ่ายหนึ่งจะกลับมาคัดค้านภายหลังหาได้ไม่
การขออ้างพยานเพิ่ม แม้จะล่วงเวลาหลังจากสืบพยานฝ่ายตรงข้ามแล้ว ถ้าศาลเห็นมีเหตุสมควร ก็มีอำนาจอนุญาตได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 371/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดนัดพิจารณาไม่ตัดสิทธิจำเลยในการนำสืบพยาน และการขอตั้งผู้เชี่ยวชาญร่วมกันย่อมมีผลผูกพัน
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 199 วรรค 2 บัญญัติห้ามมิให้จำเลยเรียกพยานเข้าสืบเฉพาะกรณีที่ขาดนัดยื่นคำให้การเท่านั้นฉะนั้นเมื่อจำเลยเพียงแต่ขาดนัดพิจารณาแต่มิได้ขาดนัดยื่นคำให้การจำเลยจึงหาหมดสิทธิที่จะนำพยานหลักฐานของตนเข้าสืบไม่
การขาดนัดพิจารณาในนัดหนึ่งนัดใด ถ้าคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งนำพยานหลักฐานเข้าสืบยังไม่หมด นัดต่อไปคู่ความที่ขาดนัดมาศาลก็ย่อมมีสิทธิที่จะถามค้านได้ เพราะไม่ใช่เป็นพยานที่ได้สืบไปแล้ว
การที่คู่ความแถลงร่วมกันขอให้ศาลตั้งผู้เชียวชาญแล้วแม้ต่อมาจะไม่ตกลงกันในเรื่องค่าใช้จ่ายและในที่สุดฝ่ายหนึ่งได้ขอให้ศาลตั้งผู้เชี่ยวชาญไปฝ่ายเดียว ดังนี้ อีกฝ่ายหนึ่งจะกลับมาคัดค้านภายหลังหาได้ไม่
การขออ้างพยานเพิ่มเติม แม้จะล่วงเวลาหลังจากสืบพยานฝ่ายตรงข้ามแล้วถ้าศาลเห็นมีเหตุสมควร ก็มีอำนาจอนุญาตได้
การขาดนัดพิจารณาในนัดหนึ่งนัดใด ถ้าคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งนำพยานหลักฐานเข้าสืบยังไม่หมด นัดต่อไปคู่ความที่ขาดนัดมาศาลก็ย่อมมีสิทธิที่จะถามค้านได้ เพราะไม่ใช่เป็นพยานที่ได้สืบไปแล้ว
การที่คู่ความแถลงร่วมกันขอให้ศาลตั้งผู้เชียวชาญแล้วแม้ต่อมาจะไม่ตกลงกันในเรื่องค่าใช้จ่ายและในที่สุดฝ่ายหนึ่งได้ขอให้ศาลตั้งผู้เชี่ยวชาญไปฝ่ายเดียว ดังนี้ อีกฝ่ายหนึ่งจะกลับมาคัดค้านภายหลังหาได้ไม่
การขออ้างพยานเพิ่มเติม แม้จะล่วงเวลาหลังจากสืบพยานฝ่ายตรงข้ามแล้วถ้าศาลเห็นมีเหตุสมควร ก็มีอำนาจอนุญาตได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 268/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดนัดยื่นคำให้การและการจงใจขาดนัด ความรับผิดชอบของผู้ถูกฟ้อง
จำเลยยื่นคำให้การพ้นกำหนดไป 1 วัน โดยอ้างเหตุหลงลืมนั้น ถือว่าเป็นการขาดนัดยื่นคำให้การโดยจงใจ เพราะเมื่อจำเลยถูกฟ้อง จำเลยก็มีหน้าที่จดจำและปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนด หากยอมให้จำเลยอ้างเป็นข้อแก้ตัวได้ ก็ย่อมทำให้กฎหมายที่กำหนดระยะเวลาให้จำเลยต้องปฏิบัติเป็นอันไร้ผล และการที่จำเลยยื่นคำให้การเมื่อพ้นกำหนดแล้วแสดงว่าจำเลยไม่จงใจขาดนัดยื่นคำให้การก็ไม่ได้อีกเพราะถ้าถือเช่นนั้น ก็จะบังเกิดผลว่าจำเลยยื่นคำให้การเมื่อพ้นระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 268/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยื่นคำให้การเกินกำหนด: ความรับผิดชอบของจำเลยและผลกระทบต่อการปฏิบัติตามกฎหมาย
จำเลยยื่นคำให้การพ้นกำหนดไป 1 วัน โดยอ้างเหตุหลงลืมนั้น ถือว่าเป็นการขาดนัดยื่นคำให้การโดยจงใจ เพราะเมื่อจำเลยถูกฟ้อง จำเลยก็มีหน้าที่จดจำและปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนด หากยอมให้จำเลยอ้างเป็นข้อแก้ตัวได้ก็ย่อมทำให้กฎหมายที่กำหนดระยะเวลาให้จำเลยต้องปฏิบัติตามเป็นอันไร้ผล และการที่จำเลยยื่นคำให้การเมื่อพ้นกำหนดแล้ว แสดงว่าจำเลยไม่จงใจขาดนัดยื่นคำให้การก็ไม่ได้อีก เพราะถ้าถือเช่นนั้น ก็จะบังเกิดผลว่าจำเลยยื่นคำให้การเมื่อพ้นระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 411/2504 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาคดีใหม่เมื่อจำเลยมิได้ขาดนัดโดยจงใจ และผลกระทบต่อจำเลยอื่นร่วมในคดี
จำเลยที่ 2 จงใจขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณา ส่วนจำเลยที่ 1 มิได้จงใจขาดนัด กรณีเช่นนี้จะนำประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 59 (1) มาปรับเพื่อให้จำเลยที่ 2 ได้รับประโยชน์ด้วยกับจำเลยที่ 1 หาได้ไม่ คดีต้องพิจารณาใหม่โดยให้จำเลยที่ 1 มีโอกาสให้การ แต่จำเลยที่ 2 คงถือว่าขาดนัดยื่นคำให้การเช่นเดิม ต่อจากนั้นไปจำเลยที่ 2 จะได้รับประโยชน์ในชั้นพิจารณาอย่างใดหรือไม่ ก็ต้องแล้วแต่รูปคดีเป็นอีกตอนหนึ่ง
คำสั่งของศาลชั้นต้นที่ให้พิจารณาใหม่ภายหลังเมื่อตัดสินแล้ว ไม่เป็นคำสั่งระหว่างพิจารณา คือ อุทธรณ์ฎีกาได้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 1/2504 และครั้งที่ 6/2504)
คำสั่งของศาลชั้นต้นที่ให้พิจารณาใหม่ภายหลังเมื่อตัดสินแล้ว ไม่เป็นคำสั่งระหว่างพิจารณา คือ อุทธรณ์ฎีกาได้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 1/2504 และครั้งที่ 6/2504)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 378/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับคำให้การเกินกำหนด และอำนาจศาลในการพิจารณาคำให้การที่ยื่นภายหลัง
กรณีที่จำเลยไม่ยื่นคำให้การตามกำหนดและศาลได้มีคำสั่งว่า จำเลยขาดยื่นคำให้การแล้วนั้น เมื่อถึงวันนัดสืบพยานโจทก์ จำเลยมาศาลและแถลงว่าป่วย จึงมิได้ยื่นคำให้การตามกำหนด โจทก์ไม่คัดค้าน เช่นนี้ ศาลชอบที่จะมีคำสั่ง ในรายงานพิจารณาอนุญาตให้จำเลยยื่นคำให้การได้ภายในเวลากำหนดโดยไม่จำต้องให้จำเลยทำเป็นคำร้องขอเข้ามาได้ ไม่เป็นการผิดวิธีพิจารณาอย่างใด
เมื่อจำเลยยื่นคำให้การเกินเวลาที่ศาลนัดไว้ ศาลควรพิจารณาและมีคำสั่งในการที่จำเลยยื่นคำให้การนั้นไว้เสียก่อน
เมื่อจำเลยยื่นคำให้การเกินเวลาที่ศาลนัดไว้ ศาลควรพิจารณาและมีคำสั่งในการที่จำเลยยื่นคำให้การนั้นไว้เสียก่อน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 378/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยื่นคำให้การเกินกำหนดและสิทธิในการต่อสู้คดี ศาลมีอำนาจอนุญาตยื่นได้หากไม่ใช่การจงใจขาดนัด
กรณีที่จำเลยไม่ยื่นคำให้การตามกำหนดและศาลได้มีคำสั่งว่า จำเลยขาดนัดยื่นคำให้การแล้วนั้นเมื่อถึงวันนัดสืบพยานโจทก์จำเลยมาศาลและแถลงว่าป่วย จึงมิได้ยื่นคำให้การตามกำหนด โจทก์ไม่คัดค้านเช่นนี้ ศาลชอบที่จะมีคำสั่งในรายงานพิจารณาอนุญาตให้จำเลยยื่นคำให้การได้ภายในเวลากำหนดโดยไม่จำต้องให้จำเลยทำเป็นคำร้องขอเข้ามาได้ไม่เป็นการผิดวิธีพิจารณาอย่างใด
เมื่อจำเลยยื่นคำให้การเกินเวลาที่ศาลนัดไว้ ศาลควรพิจารณาและมีคำสั่งในการที่จำเลยยื่นคำให้การนั้นไว้เสียก่อน
เมื่อจำเลยยื่นคำให้การเกินเวลาที่ศาลนัดไว้ ศาลควรพิจารณาและมีคำสั่งในการที่จำเลยยื่นคำให้การนั้นไว้เสียก่อน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 147/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งขาดนัดยื่นคำให้การเป็นคำสั่งระหว่างพิจารณา อุทธรณ์ฎีกาไม่ได้ตามกฎหมาย
คำสั่งศาลชั้นต้นที่ว่าจำเลยขาดนัดยื่นคำให้การ เป็นคำสั่งระหว่างพิจารณาจำเลยจะอุทธรณ์ฎีกามิได้เพราะต้องห้ามตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 226(1) ประกอบด้วย มาตรา 247
(อ้างฎีกาที่ 416/2488)
(อ้างฎีกาที่ 416/2488)