พบผลลัพธ์ทั้งหมด 166 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 127/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องละเมิด: การขยายอายุความเมื่อศาลยกฟ้องเนื่องจากไม่มีอำนาจพิจารณา
โจทก์รู้ถึงการละเมิดเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2527 และได้ฟ้องจำเลยในมูลละเมิดรายนี้ต่อศาลแพ่งเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน2528 ภายในอายุความ 1 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 448 ศาลแพ่งพิพากษายกฟ้องเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2529เพราะเหตุคดีไม่อยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลแพ่ง จึงเป็นกรณีอายุความฟ้องร้องดังกล่าวได้สิ้นไปในระหว่างพิจารณาของศาลแพ่งต้องขยายอายุความนั้นออกไปถึงหกเดือน ภายหลังคำพิพากษาของศาลแพ่งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 176 การที่โจทก์ฟ้องคดีนี้ต่อศาลแรงงานกลางเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2529 จึงไม่ขาดอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4542-4544/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิกรมสรรพากรขอเฉลี่ยทรัพย์ในชั้นบังคับคดี ไม่ใช่คดีพิพาทภาษีอากร ต้องดำเนินการตามวิธิพิจารณาความแพ่ง
ศาลแรงงานยึดทรัพย์สินของจำเลยไว้เพื่อบังคับคดีตามคำพิพากษาเมื่อจำเลยค้างชำระค่าภาษีอากรอันเป็นภาษีอากรค้าง กรมสรรพากรจึงมีสิทธิยื่นคำร้องขอเฉลี่ยทรัพย์ต่อศาลแรงงานได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 290 ซึ่งเป็นบทบัญญัติบังคับไว้โดยเฉพาะในชั้นบังคับคดี กรณีไม่อาจถือว่าเป็นคดีพิพาทอันเกี่ยวกับสิทธิเรียกร้องของรัฐในหนี้ค่าภาษีอากรตามมาตรา 7 (2) แห่งพระราชบัญญัติจักตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดีภาษีอากร พ.ศ.2528 ที่จะต้องให้กรมสรรพากรไปดำเนินคดีที่ศาลภาษีอากรก่อน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4542-4544/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิกรมสรรพากรขอเฉลี่ยทรัพย์ในชั้นบังคับคดีภาษีอากรค้าง ไม่ต้องฟ้องคดีภาษีอากรแยก
ศาลแรงงานยึดทรัพย์สินของจำเลยไว้เพื่อบังคับคดีตามคำพิพากษาเมื่อจำเลยค้างชำระค่าภาษีอากรอันเป็นภาษีอากรค้าง กรมสรรพากรจึงมีสิทธิยื่นคำร้องขอเฉลี่ยทรัพย์ต่อศาลแรงงานได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 290ซึ่งเป็นบทบัญญัติบังคับไว้โดยเฉพาะในชั้นบังคับคดี กรณีไม่อาจถือว่าเป็นคดีพิพาทอันเกี่ยวกับสิทธิเรียกร้องของรัฐในหนี้ค่าภาษีอากรตามมาตรา 7(2) แห่งพระราชบัญญัติจักตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดีภาษีอากร พ.ศ.2528 ที่จะต้องให้กรมสรรพากรไปดำเนินคดีที่ศาลภาษีอากรก่อน.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4212/2530 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการยื่นคำร้องในคดีแรงงานของผู้ที่อ้างกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เกี่ยวข้องกับคดี
ห้องพิพาทเป็นของโจทก์ให้จำเลยซึ่งเป็นลูกจ้างอยู่อาศัยเป็นการให้สวัสดิการแก่ลูกจ้าง ต่อมาโจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยออกจากห้องพิพาทศาลแรงงานกลางพิพากษาให้ขับไล่จำเลย และออกคำบังคับให้จำเลยปฏิบัติตามคำพิพากษาภายใน 30 วัน ในระหว่างการปิดคำบังคับ ผู้ร้องยื่นคำร้องอ้างว่าเป็นเจ้าของบ้านพิพาทโดยเป็นผู้ก่อสร้างและออกค่าใช้จ่ายปลูกสร้างในที่ดินริมคูสาธารณะ จึงมีสิทธิดีกว่าโจทก์ เป็นการกล่าวอ้างว่าผู้ร้องเป็นเจ้าของบ้านพิพาทซึ่งเป็นการโต้แย้งกรรมสิทธิ์ในบ้านพิพาทกับโจทก์โดยตรง เมื่อผู้ร้องกับโจทก์ไม่ใช่ลูกจ้างนายจ้างกันจึงไม่ต้องด้วยมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 อันจะทำให้ผู้ร้องมีสิทธิยื่นคำร้องต่อศาลแรงงานกลางได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4212/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ในบ้านพิพาท: สิทธิของผู้ก่อสร้าง vs. สิทธิของลูกจ้างที่ได้รับสวัสดิการ
ห้องพิพาทเป็นของโจทก์ให้จำเลยซึ่งเป็นลูกจ้างอยู่อาศัยเป็นการให้สวัสดิการแก่ลูกจ้าง ต่อมาโจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยออกจากห้องพิพาทศาลแรงงานกลางพิพากษาให้ขับไล่จำเลย และออกคำบังคับให้จำเลยปฏิบัติตามคำพิพากษาภายใน 30 วัน ในระหว่างการปิดคำบังคับ ผู้ร้องยื่นคำร้องอ้างว่าเป็นเจ้าของบ้านพิพาทโดยเป็นผู้ก่อสร้างและออกค่าใช้จ่ายปลูกสร้างในที่ดินริมคูสาธารณะ จึงมีสิทธิดีกว่าโจทก์ เป็นการกล่าวอ้างว่าผู้ร้องเป็นเจ้าของบ้านพิพาทซึ่งเป็นการโต้แย้งกรรมสิทธิ์ในบ้านพิพาทกับโจทก์โดยตรง เมื่อผู้ร้องกับโจทก์ไม่ใช่ลูกจ้างนายจ้างกันจึงไม่ต้องด้วยมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 อันจะทำให้ผู้ร้องมีสิทธิยื่นคำร้องต่อศาลแรงงานกลางได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4212/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในการยื่นคำร้องต่อศาลแรงงานเมื่อข้อพิพาทเรื่องกรรมสิทธิ์บ้านไม่ได้เป็นคดีแรงงาน
โจทก์ผู้เป็นนายจ้างฟ้องขับไล่จำเลยผู้เป็นลูกจ้างออกจากห้องพักคนงาน ซึ่งโจทก์ให้จำเลยอยู่อาศัยอันเป็นการให้สวัสดิการแก่ลูกจ้างศาลแรงงานกลางพิพากษาให้จำเลยและบริวารออกจากบ้านพิพาทในชั้นบังคับคดีผู้ร้องยื่นคำร้องอ้างว่าเป็นเจ้าของบ้านพิพาทโดยเป็นผู้ก่อสร้างและออกค่าใช้จ่ายปลูกสร้างในที่ดินริมคูสาธารณะจึงมีสิทธิในบ้านพิพาทดีกว่าโจทก์ เมื่อผู้ร้องกับโจทก์ไม่ใช่ลูกจ้างนายจ้างกัน กรณีของผู้ร้องจึงไม่ต้องด้วยมาตรา 8 แห่ง พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานอันจะทำให้ผู้ร้องมีสิทธิยื่นคำร้องต่อศาลแรงงานกลางได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1793/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การถอนข้อเรียกร้องบางส่วน และการเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างโดยไม่ยกเลิกผลัดการทำงาน
กฎหมายไม่ได้บังคับว่าฝ่ายที่ยื่นข้อเรียกร้องจะถอนข้อเรียกร้องทั้งหมดหรือข้อหนึ่งข้อใดไม่ได้ เมื่อสหภาพแรงงานพนักงานยาสูบ ผู้ยื่นข้อเรียกร้องได้ขอถอนข้อเรียกร้องข้อ 10 ที่ขอเปลี่ยนเวลาทำงาน แล้วนำคดีไปฟ้องต่อศาลแรงงานกลางในระหว่างไกล่เกลี่ยของพนักงานประนอมข้อพิพาทข้อเรียกร้องดังกล่าวจึงไม่มีอยู่และพนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานไม่อาจดำเนินการไกล่เกลี่ยต่อไป โจทก์ไม่จำต้องปฏิบัติตามขั้นตอนและวิธีการตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 13,21 และ 22 จึงฟ้องคดีต่อศาลแรงงานกลางได้ กรณีไม่อยู่ในบังคับของมาตรา 8 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522
โจทก์เป็นพนักงานควบคุมหม้อไอน้ำและเครื่องปรับอากาศ ยื่นข้อเรียกร้องขอให้จำเลยแก้ไขสภาพการจ้างโจทก์จากพนักงานประจำรายชั่วโมงเป็นพนักงานประจำรายเดือน แต่ยังคงยืนยันขอให้จำเลยแบ่งพนักงานเข้าทำงานเป็น 2 ผลัด โดยกำหนดเวลาทำงานของแต่ละผลัดไว้ จำเลยยินยอมตามข้อเรียกร้องนี้โจทก์จึงเป็นพนักงานประจำรายเดือนที่ต้องปฏิบัติงานเป็นผลัดต่อไปตามสภาพการจ้างเดิมการที่ต่อมาโรงงานยาสูบได้มีคำสั่งที่ ท.352/2522 ให้ลดเวลาทำงานของพนักงานยาสูบลงเหลือวันละ 8 ชั่วโมงโดยให้บังคับแก่โจทก์ด้วยนั้น มิได้เป็นการยกเลิกการปฏิบัติงานเป็นผลัดของโจทก์ด้วย กำหนดเวลาปฏิบัติงานตามคำสั่งนี้ซึ่งกำหนดเวลาทำงานตั้งแต่ 8.00 นาฬิกา ถึง 17.00 นาฬิกา เวลาพักระหว่าง 12.00 นาฬิกา ถึง 13.00 นาฬิกา จำเลยมุ่งประสงค์จะให้ใช้บังคับแก่พนักงานประจำรายเดือนทั่ว ๆ ไปเท่านั้น และโจทก์ก็ได้ปฏิบัติงานเป็นผลัดดังกล่าวตลอดมาโดยมิได้โต้แย้งคัดค้านโจทก์จะเรียกร้องขอปฏิบัติงานตามกำหนดเวลาในคำสั่งที่ ท.352/2522ไม่ได้.
โจทก์เป็นพนักงานควบคุมหม้อไอน้ำและเครื่องปรับอากาศ ยื่นข้อเรียกร้องขอให้จำเลยแก้ไขสภาพการจ้างโจทก์จากพนักงานประจำรายชั่วโมงเป็นพนักงานประจำรายเดือน แต่ยังคงยืนยันขอให้จำเลยแบ่งพนักงานเข้าทำงานเป็น 2 ผลัด โดยกำหนดเวลาทำงานของแต่ละผลัดไว้ จำเลยยินยอมตามข้อเรียกร้องนี้โจทก์จึงเป็นพนักงานประจำรายเดือนที่ต้องปฏิบัติงานเป็นผลัดต่อไปตามสภาพการจ้างเดิมการที่ต่อมาโรงงานยาสูบได้มีคำสั่งที่ ท.352/2522 ให้ลดเวลาทำงานของพนักงานยาสูบลงเหลือวันละ 8 ชั่วโมงโดยให้บังคับแก่โจทก์ด้วยนั้น มิได้เป็นการยกเลิกการปฏิบัติงานเป็นผลัดของโจทก์ด้วย กำหนดเวลาปฏิบัติงานตามคำสั่งนี้ซึ่งกำหนดเวลาทำงานตั้งแต่ 8.00 นาฬิกา ถึง 17.00 นาฬิกา เวลาพักระหว่าง 12.00 นาฬิกา ถึง 13.00 นาฬิกา จำเลยมุ่งประสงค์จะให้ใช้บังคับแก่พนักงานประจำรายเดือนทั่ว ๆ ไปเท่านั้น และโจทก์ก็ได้ปฏิบัติงานเป็นผลัดดังกล่าวตลอดมาโดยมิได้โต้แย้งคัดค้านโจทก์จะเรียกร้องขอปฏิบัติงานตามกำหนดเวลาในคำสั่งที่ ท.352/2522ไม่ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1411/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งให้ลูกจ้างปฏิบัติงานแม้ในวันหยุดชอบด้วยกฎหมาย หากประมาททำให้ทรัพย์สินเสียหาย ลูกจ้างต้องรับผิด
ผู้บังคับบัญชามีคำสั่งให้โจทก์มาปฏิบัติหน้าที่ในวันหยุดประจำสัปดาห์ เป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายที่จำเลยผู้เป็นนายจ้างจะสั่งได้ จึงเป็นเรื่องการปฏิบัติงานตามสัญญาจ้างแรงงาน เมื่อโจทก์ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความประมาทเลินเล่อเป็นเหตุให้ทรัพย์สินของจำเลยเสียหาย โจทก์ต้องรับผิดต่อจำเลยเป็นคดีพิพาทเกี่ยวด้วยสิทธิหรือหน้าที่ตามสัญญาจ้างแรงงานหรือตามข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 8(1) โจทก์มีอำนาจฟ้องจำเลยต่อศาลแรงงานกลางได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1411/2530 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งให้ลูกจ้างทำงานนอกหน้าที่และประมาทเลินเล่อทำให้ทรัพย์สินเสียหาย ถือเป็นคดีพิพาทตามสัญญาจ้างแรงงาน
ผู้บังคับบัญชามีคำสั่งให้โจทก์มาปฏิบัติหน้าที่ในวันหยุดประจำสัปดาห์ เป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายที่จำเลยผู้เป็นนายจ้างจะสั่งได้ จึงเป็นเรื่องการปฏิบัติงานตามสัญญาจ้างแรงงาน เมื่อโจทก์ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความประมาทเลินเล่อเป็นเหตุให้ทรัพย์สินของจำเลยเสียหาย โจทก์ต้องรับผิดต่อจำเลยเป็นคดีพิพาทเกี่ยวด้วยสิทธิหรือหน้าที่ตามสัญญาจ้างแรงงานหรือตามข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 8 (1) โจทก์มีอำนาจฟ้องจำเลยต่อศาลแรงงานกลางได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1411/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีแรงงานของลูกจ้างต่อศาลแรงงาน กรณีจำเลยเป็นกระทรวงการคลัง และการพิพาทเกี่ยวกับสัญญาจ้าง
กิจการโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลังมิใช่ราชการส่วนกลางอันต้องด้วยข้อยกเว้นตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน ข้อ 1(1) โจทก์ทั้งสองเป็นลูกจ้างของโรงงานยาสูบ เมื่อผู้บังคับบัญชาของโจทก์ทั้งสองซึ่งเป็นตัวแทนของจำเลยได้มีคำสั่งให้โจทก์ทั้งสองไปปฏิบัติหน้าที่โดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบแบบแผนและเป็นการปฏิบัติงานให้แก่จำเลยตามสิทธิของนายจ้างที่จะมีคำสั่งได้ระหว่างนั้นทรัพย์สินของจำเลยได้รับความเสียหาย จึงเป็นคดีพิพาทเกี่ยวด้วยสิทธิและหน้าที่ตามสัญญาจ้างแรงงานหรือตามข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างโจทก์มีอำนาจฟ้องต่อศาลแรงงานได้.