พบผลลัพธ์ทั้งหมด 76 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2289/2515 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สถานะ 'พนักงาน' ตาม พ.ร.บ.ความผิดของพนักงานฯ ต้องได้รับการบรรจุเป็นเงินเดือน การได้รับค่าจ้างรายวันถือเป็นช่วงทดลองงาน
จำเลยเข้าทำงานในองค์การผลิตอาหารสำเร็จรูปในตำแหน่งเสมียนหน่วยการเงิน ได้รับค่าจ้างเป็นรายวัน จำเลยจะทำงานอะไรแล้วแต่หัวหน้าหน่วยจะสั่งให้ทำในเรื่องเกี่ยวกับ การเงิน เมื่อจำเลยปฏิบัติงานมาไม่ต่ำกว่า 3 เดือนหรือกว่านั้น ถ้าองค์การพิจารณาเห็นสมควร จึงจะรับบรรจุเป็นเงินเดือน ดังนี้ เมื่อจำเลยอยู่ในระหว่างทดลองให้ปฏิบัติงานชั่วคราวโดยได้รับค่าจ้างเป็นรายวัน จึงถือไม่ได้ว่าจำเลยเป็นพนักงานตามความหมายแห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2502
มาตรา 20 แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การผลิตอาหารสำเร็จรูปพ.ศ.2498. ให้ผู้อำนวยการมีอำนาจและหน้าที่จัดการและดำเนินกิจการของ อสร. ให้เป็นไปตามนโยบายและข้อบังคับที่คณะกรรมการได้วางไว้และมีอำนาจบังคับบัญชาพนักงานทุกตำแหน่ง ทั้งต้องรับผิดชอบต่อคณะกรรมการในการจัดการและดำเนินกิจการของ อสร.ซึ่งเป็นนิติบุคคล ผู้อำนวยการย่อมมีอำนาจที่จะสั่งให้ดำเนินคดีมีอำนาจแจ้งความหรือร้องทุกข์ หรือสั่งให้บุคคลอื่นไปแจ้งความหรือร้องทุกข์แทน ขอให้ดำเนินคดีกับจำเลย ที่เบียดบังยักยอกเอาเงินของอสร. ไปได้
มาตรา 20 แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การผลิตอาหารสำเร็จรูปพ.ศ.2498. ให้ผู้อำนวยการมีอำนาจและหน้าที่จัดการและดำเนินกิจการของ อสร. ให้เป็นไปตามนโยบายและข้อบังคับที่คณะกรรมการได้วางไว้และมีอำนาจบังคับบัญชาพนักงานทุกตำแหน่ง ทั้งต้องรับผิดชอบต่อคณะกรรมการในการจัดการและดำเนินกิจการของ อสร.ซึ่งเป็นนิติบุคคล ผู้อำนวยการย่อมมีอำนาจที่จะสั่งให้ดำเนินคดีมีอำนาจแจ้งความหรือร้องทุกข์ หรือสั่งให้บุคคลอื่นไปแจ้งความหรือร้องทุกข์แทน ขอให้ดำเนินคดีกับจำเลย ที่เบียดบังยักยอกเอาเงินของอสร. ไปได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2289/2515
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สถานะ 'พนักงาน' ตาม พ.ร.บ.ความผิดพนักงานฯ ต้องได้รับการบรรจุเป็นเงินเดือน ไม่ใช่แค่ค่าจ้างรายวัน
จำเลยเข้าทำงานในองค์การผลิตอาหารสำเร็จรูปในตำแหน่งเสมียนหน่วยการเงิน ได้รับค่าจ้างเป็นรายวัน จำเลยจะทำงานอะไรแล้วแต่หัวหน้าหน่วยจะสั่งให้ทำในเรื่องเกี่ยวกับการเงิน เมื่อจำเลยปฏิบัติงานมาไม่ต่ำกว่า 3 เดือนหรือกว่านั้น ถ้าองค์การพิจารณาเห็นสมควร จึงจะรับบรรจุเป็นเงินเดือน ดังนี้ เมื่อจำเลยอยู่ในระหว่างทดลองให้ปฏิบัติงานชั่วคราวโดยได้รับค่าจ้างเป็นรายวัน จึงถือไม่ได้ว่าจำเลยเป็นพนักงานตามความหมายแห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2502
มาตรา 20 แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การผลิตอาหารสำเร็จรูปพ.ศ.2498. ให้ผู้อำนวยการมีอำนาจและหน้าที่จัดการและดำเนินกิจการของ อสร. ให้เป็นไปตามนโยบายและข้อบังคับที่คณะกรรมการได้วางไว้ และมีอำนาจบังคับบัญชาพนักงานทุกตำแหน่ง ทั้งต้องรับผิดชอบต่อคณะกรรมการในการจัดการและดำเนินกิจการของ อสร. ซึ่งเป็นนิติบุคคล ผู้อำนวยการย่อมมีอำนาจที่จะสั่งให้ดำเนินคดี มีอำนาจแจ้งความหรือร้องทุกข์ หรือสั่งให้บุคคลอื่นไปแจ้งความหรือร้องทุกข์แทน ขอให้ดำเนินคดีกับจำเลย ที่เบียดบังยักยอกเอาเงินของอสร. ไปได้
มาตรา 20 แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การผลิตอาหารสำเร็จรูปพ.ศ.2498. ให้ผู้อำนวยการมีอำนาจและหน้าที่จัดการและดำเนินกิจการของ อสร. ให้เป็นไปตามนโยบายและข้อบังคับที่คณะกรรมการได้วางไว้ และมีอำนาจบังคับบัญชาพนักงานทุกตำแหน่ง ทั้งต้องรับผิดชอบต่อคณะกรรมการในการจัดการและดำเนินกิจการของ อสร. ซึ่งเป็นนิติบุคคล ผู้อำนวยการย่อมมีอำนาจที่จะสั่งให้ดำเนินคดี มีอำนาจแจ้งความหรือร้องทุกข์ หรือสั่งให้บุคคลอื่นไปแจ้งความหรือร้องทุกข์แทน ขอให้ดำเนินคดีกับจำเลย ที่เบียดบังยักยอกเอาเงินของอสร. ไปได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1073/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีอาญาเกี่ยวกับทรัพย์สินของมัสยิด: ผู้มีอำนาจจัดการคือกรรมการมัสยิด ไม่ใช่สัปบุรุษ
ตามคำฟ้องกล่าวหาว่าจำเลยทุกคนซึ่งเป็นกรรมการของมัสยิดกุฎีหลวงได้สมคบกับยักยอกทรัพย์สินของมัสยิดซึ่งเป็นนิติบุคคล ฉะนั้น ผู้เสียหายในคดีนี้ก็คือมัสยิดกุฎีหลวงและผู้ที่มีอำนาจจัดการแทนได้ก็ต้องเป็นกรรมการของมัสยิดตามพระราชบัญญัติมัสยิดอิสลาม พ.ศ. 2490 มาตรา 7 โจทก์มีฐานะเป็นแต่เพียงสัปบุรุษและผู้รับมอบอำนาจจากสัปบุรุษเท่านั้น ไม่มีหน้าที่จัดการในกิจการและทรัพย์สินของมัสยิดแต่ประการใด จึงไม่มีอำนาจจัดการแทนผู้เสียหายตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 5 (3) ไม่มีอำนาจฟ้อง
การที่โจทก์กล่าวหาว่ากรรมการมัสยิดทั้งชุดสมคบกันทำให้มัสยิดเสียหายถึงหากจะเป็นความจริง ก็มีทางแก้ได้โดยให้คณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดถอดถอนกรรมการมัสยิดเสียตามมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติมัสยิดอิสลาม พ.ศ. 2490 แต่จะฟ้องเองโดยลำพังไม่ได้
การที่โจทก์กล่าวหาว่ากรรมการมัสยิดทั้งชุดสมคบกันทำให้มัสยิดเสียหายถึงหากจะเป็นความจริง ก็มีทางแก้ได้โดยให้คณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดถอดถอนกรรมการมัสยิดเสียตามมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติมัสยิดอิสลาม พ.ศ. 2490 แต่จะฟ้องเองโดยลำพังไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1073/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีอาญา: ผู้มีหน้าที่จัดการทรัพย์สินมัสยิดเท่านั้นที่มีอำนาจฟ้องแทน
ตามคำฟ้องกล่าวหาว่าจำเลยทุกคนซึ่งเป็นกรรมการของมัสยิดกุฎีหลวงได้สมคบกันยักยอกทรัพย์สินของมัสยิดซึ่งเป็นนิติบุคคล ฉะนั้น ผู้เสียหายในคดีนี้ก็คือมัสยิดกุฎีหลวงและผู้ที่มีอำนาจจัดการแทนได้ก็ต้องเป็นกรรมการของมัสยิดตามพระราชบัญญัติมัสยิดอิสลาม พ.ศ.2490 มาตรา 7 โจทก์มีฐานะเป็นแต่เพียงสัปบุรุษและผู้รับมอบอำนาจจากสัปบุรุษเท่านั้น ไม่มีหน้าที่จัดการในกิจการและทรัพย์สินของมัสยิดแต่ประการใด จึงไม่มีอำนาจจัดการแทนผู้เสียหายตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 5(3) ไม่มีอำนาจฟ้อง
การที่โจทก์กล่าวหาว่ากรรมการมัสยิดทั้งชุดสมคบกันทำให้มัสยิดเสียหายถึงหากจะเป็นความจริง ก็มีทางแก้ได้โดยให้คณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดถอดถอนกรรมการมัสยิดเสียตามมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติมัสยิดอิสลาม พ.ศ.2490 แต่จะฟ้องเองโดยลำพังไม่ได้
การที่โจทก์กล่าวหาว่ากรรมการมัสยิดทั้งชุดสมคบกันทำให้มัสยิดเสียหายถึงหากจะเป็นความจริง ก็มีทางแก้ได้โดยให้คณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดถอดถอนกรรมการมัสยิดเสียตามมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติมัสยิดอิสลาม พ.ศ.2490 แต่จะฟ้องเองโดยลำพังไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1073/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีอาญา: ผู้มีหน้าที่จัดการทรัพย์สินมัสยิดเท่านั้นที่มีอำนาจฟ้อง ยักยอกทรัพย์
ตามคำฟ้องกล่าวหาว่าจำเลยทุกคนซึ่งเป็นกรรมการของมัสยิดกุฎีหลวงได้สมคบกันยักยอกทรัพย์สินของมัสยิดซึ่งเป็นนิติบุคคล. ฉะนั้น ผู้เสียหายในคดีนี้ก็คือมัสยิดกุฎีหลวงและผู้ที่มีอำนาจจัดการแทนได้ก็ต้องเป็นกรรมการของมัสยิดตามพระราชบัญญัติมัสยิดอิสลาม พ.ศ.2490 มาตรา 7. โจทก์มีฐานะเป็นแต่เพียงสัปบุรุษและผู้รับมอบอำนาจจากสัปบุรุษเท่านั้น. ไม่มีหน้าที่จัดการในกิจการและทรัพย์สินของมัสยิดแต่ประการใด. จึงไม่มีอำนาจจัดการแทนผู้เสียหายตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 5(3) ไม่มีอำนาจฟ้อง.
การที่โจทก์กล่าวหาว่ากรรมการมัสยิดทั้งชุดสมคบกันทำให้มัสยิดเสียหายถึงหากจะเป็นความจริง. ก็มีทางแก้ได้โดยให้คณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดถอดถอนกรรมการมัสยิดเสียตามมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติมัสยิดอิสลาม พ.ศ.2490. แต่จะฟ้องเองโดยลำพังไม่ได้.
การที่โจทก์กล่าวหาว่ากรรมการมัสยิดทั้งชุดสมคบกันทำให้มัสยิดเสียหายถึงหากจะเป็นความจริง. ก็มีทางแก้ได้โดยให้คณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดถอดถอนกรรมการมัสยิดเสียตามมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติมัสยิดอิสลาม พ.ศ.2490. แต่จะฟ้องเองโดยลำพังไม่ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 665/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจการร้องทุกข์ของเลขานุการสำนักงานอาคารสงเคราะห์ และการเริ่มนับระยะเวลาการร้องทุกข์ในคดีความผิดฐานยักยอก
เลขานุการสำนักงานอาคารสงเคราะห์ได้รับมอบหมายจากกรรมการสองนายของสำนักงานฯ ให้มีอำนาจลงนามในเอกสารผูกพันสำนักงานได้ในการดำเนินงานในอำนาจและหน้าที่ของสำนักงานอาคารสงเคราะห์ ฉะนั้นเลขานุการฯ จึงมีอำนาจร้องทุกข์แทนสำนักงานอาคารสงเคราะห์ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 5(3)
การร้องทุกข์เกี่ยวกับความผิดฐานยักยอก ซึ่งต้องร้องทุกข์ภายใน 3 เดือนนับแต่วันที่รู้เรื่องความผิด และรู้ตัวผู้กระทำผิดนั้น ต้องถือว่าสำนักงานอาคารสงเคราะห์เพิ่งทราบการกระทำผิดของจำเลยเมื่อวันที่คณะกรรมการสอบสวนรายงานผลให้เลขานุการของสำนักงานทราบ เพราะเลขานุการเป็นผู้มีอำนาจดำเนินการแทนสำนักงานอาคารสงเคราะห์ได้ จะนับแต่วันทราบของเจ้าหน้าที่สำนักงานซึ่งไม่มีอำนาจดำเนินการแทนสำนักงานอาคารสงเคราะห์ไม่ได้.
การร้องทุกข์เกี่ยวกับความผิดฐานยักยอก ซึ่งต้องร้องทุกข์ภายใน 3 เดือนนับแต่วันที่รู้เรื่องความผิด และรู้ตัวผู้กระทำผิดนั้น ต้องถือว่าสำนักงานอาคารสงเคราะห์เพิ่งทราบการกระทำผิดของจำเลยเมื่อวันที่คณะกรรมการสอบสวนรายงานผลให้เลขานุการของสำนักงานทราบ เพราะเลขานุการเป็นผู้มีอำนาจดำเนินการแทนสำนักงานอาคารสงเคราะห์ได้ จะนับแต่วันทราบของเจ้าหน้าที่สำนักงานซึ่งไม่มีอำนาจดำเนินการแทนสำนักงานอาคารสงเคราะห์ไม่ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 665/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจร้องทุกข์ของเลขานุการสำนักงานอาคารสงเคราะห์ และการเริ่มนับระยะเวลาการร้องทุกข์ในคดีอาญา
เลขานุการสำนักงานอาคารสงเคราะห์ได้รับมอบหมายจากกรรมการสองนายของสำนักงานฯ ให้มีอำนาจลงนามในเอกสารผูกพันสำนักงานได้ในการดำเนินงานในอำนาจและหน้าที่ของสำนักงานอาคารสงเคราะห์ ฉะนั้นเลขานุการฯ จึงมีอำนาจร้องทุกข์แทนสำนักงานอาคารสงเคราะห์ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 5(3)
การร้องทุกข์เกี่ยวกับความผิดฐานยักยอก ซึ่งต้องร้องทุกข์ภายใน 3 เดือนนับแต่วันรู้เรื่องความผิด และรู้ตัวผู้กระทำผิดนั้น ต้องถือว่าสำนักงานอาคารสงเคราะห์เพิ่งทราบการกระทำผิดของจำเลยเมื่อวันที่คณะกรรมการสอบสวนรายงานผลให้เลขานุการของสำนักงานทราบ เพราะเลขานุการเป็นผู้มีอำนาจดำเนินการแทนสำนักงานอาคารสงเคราะห์ได้จะนับแต่วันทราบของเจ้าหน้าที่สำนักงานซึ่งไม่มีอำนาจดำเนินการแทนสำนักงานอาคารสงเคราะห์ไม่ได้
การร้องทุกข์เกี่ยวกับความผิดฐานยักยอก ซึ่งต้องร้องทุกข์ภายใน 3 เดือนนับแต่วันรู้เรื่องความผิด และรู้ตัวผู้กระทำผิดนั้น ต้องถือว่าสำนักงานอาคารสงเคราะห์เพิ่งทราบการกระทำผิดของจำเลยเมื่อวันที่คณะกรรมการสอบสวนรายงานผลให้เลขานุการของสำนักงานทราบ เพราะเลขานุการเป็นผู้มีอำนาจดำเนินการแทนสำนักงานอาคารสงเคราะห์ได้จะนับแต่วันทราบของเจ้าหน้าที่สำนักงานซึ่งไม่มีอำนาจดำเนินการแทนสำนักงานอาคารสงเคราะห์ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 175/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีอาญาของผู้ถือหุ้น และการวินิจฉัยข้อกฎหมายหลังฟังข้อเท็จจริงไม่สมฟ้อง
โจทก์ฟ้องหาว่าจำเลยยักยอกเงินของบริษัท แต่ขณะที่ฟ้องนี้โจทก์เป็นเพียงผู้ถือหุ้น โดยถ้อยคำและความหมายย่อมชัดเจนอยู่ว่าไม่ใช่ผู้จัดการหรือผู้แทนอื่น ๆ ของบริษัทอันจะฟ้องความหรือจัดการแทนบริษัทในคดีอาญาได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 5 (3) จะขอให้นำบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาบังคับก็ไม่มีทางจะอนุโลมได้ และประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1169 ที่โจทก์อ้างมาก็เป็นเรื่องฟ้องเรียกเอาสินไหมทดแทนแก่กรรมการอันเป็นเรื่องทางแพ่ง
ศาลไม่จำเป็นจะต้องวินิจฉัยปัญหาทุกข้อ เมื่อข้อเท็จจริงฟังไม่ได้ว่าจำเลยทำผิดจริงตามฟ้องแล้ว จะไม่วินิจฉัยข้อกฎหมายเรื่องอำนาจฟ้องก็ได้
ศาลไม่จำเป็นจะต้องวินิจฉัยปัญหาทุกข้อ เมื่อข้อเท็จจริงฟังไม่ได้ว่าจำเลยทำผิดจริงตามฟ้องแล้ว จะไม่วินิจฉัยข้อกฎหมายเรื่องอำนาจฟ้องก็ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 175/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีอาญา: ผู้ถือหุ้นฟ้องแทนบริษัทต้องเป็นไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 5(3) และต้องมีหลักฐานการกระทำความผิด
โจทก์ฟ้องหาว่าจำเลยยักยอกเงินของบริษัท แต่ขณะที่ฟ้องนี้โจทก์เป็นเพียงผู้ถือหุ้น โดยถ้อยคำและความหมายย่อมชัดเจนอยู่ว่าไม่ใช่ผู้จัดการหรือผู้แทนอื่นๆ ของบริษัท อันจะฟ้องความหรือจัดการแทนบริษัทในคดีอาญาได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 5(3) จะขอให้นำบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาบังคับก็ไม่มีทางจะอนุโลมได้ และประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1169 ที่โจทก์อ้างมาก็เป็นเรื่องฟ้องเรียกเอาสินไหมทดแทนแก่กรรมการอันเป็นเรื่องทางแพ่ง
ศาลไม่จำเป็นจะต้องวินิจฉัยปัญหาทุกข้อ เมื่อข้อเท็จจริงฟังไม่ได้ว่าจำเลยทำผิดจริงตามฟ้องแล้ว จะไม่วินิจฉัยข้อกฎหมายเรื่องอำนาจฟ้องก็ได้
ศาลไม่จำเป็นจะต้องวินิจฉัยปัญหาทุกข้อ เมื่อข้อเท็จจริงฟังไม่ได้ว่าจำเลยทำผิดจริงตามฟ้องแล้ว จะไม่วินิจฉัยข้อกฎหมายเรื่องอำนาจฟ้องก็ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1742/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิผู้ถือหุ้นฟ้องคดีอาญาแทนบริษัทเมื่อกรรมการฉ้อโกง และหลักการฟ้องซ้ำในคดีอาญา
ในกรณีที่กรรมการบริษัทจำกัดฉ้อโกงบริษัท และบริษัทนั้นไม่ยอมดำเนินคดีกับกรรมการที่ฉ้อโกง ผู้ถือหุ้นย่อมเป็นผู้เสียหายมีอำนาจฟ้องคดีทางอาญาขอให้ลงโทษกรรมการผู้นั้นได้
เมื่อได้มีคำพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดที่หาว่าจำเลยได้กระทำขึ้นเกี่ยวกับเงินจำนวนใดแล้ว จะฟ้องจำเลยนี้ในจำนวนเงินเดียวกันนั้นอีก แม้จะอ้างความผิดคนละฐานกับคดีเดิมก็ตาม จะกระทำมิได้ เป็นฟ้องซ้ำเพราะสิทธินำคดีมาฟ้องระงับไปแล้ว
อุทธรณ์บางข้อที่ศาลอุทธรณ์ยังมิได้วินิจฉัย ศาลฎีกามีอำนาจวินิจฉัยเสียเองได้ ไม่ต้องย้อนสำนวนไป ถ้าเห็นเป็นการสมควร (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 28/2503)
เมื่อได้มีคำพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดที่หาว่าจำเลยได้กระทำขึ้นเกี่ยวกับเงินจำนวนใดแล้ว จะฟ้องจำเลยนี้ในจำนวนเงินเดียวกันนั้นอีก แม้จะอ้างความผิดคนละฐานกับคดีเดิมก็ตาม จะกระทำมิได้ เป็นฟ้องซ้ำเพราะสิทธินำคดีมาฟ้องระงับไปแล้ว
อุทธรณ์บางข้อที่ศาลอุทธรณ์ยังมิได้วินิจฉัย ศาลฎีกามีอำนาจวินิจฉัยเสียเองได้ ไม่ต้องย้อนสำนวนไป ถ้าเห็นเป็นการสมควร (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 28/2503)