พบผลลัพธ์ทั้งหมด 201 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 134/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฉ้อโกงประชาชนจัดส่งคนงานต่างประเทศ: จำเลยมีความผิดฐานฉ้อโกงตามมาตรา 343 ไม่ต้องปรับบทมาตรา 341
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยฐานฉ้อโกงประชาชนโดยอ้างประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 341,343 ดังนี้ เมื่อศาลลงโทษจำเลยตามมาตรา 343 แล้ว ก็ไม่ต้องปรับบทลงโทษตามมาตรา 341 อีก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4260-4262/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปิดสาขาธุรกิจเงินทุนโดยไม่ได้รับอนุญาต และความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน: ศาลฎีกาแก้ไขการลงโทษกระทงความผิด
นับตั้งแต่วันที่ประกาศกระทรวงการคลัง ฉบับลงวันที่ 19 กันยายน 2519 เรื่อง กำหนดกิจการที่ต้องขออนุญาตตามข้อ 5 (7) แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 58 และประกาศกระทรวงการคลังฉบับลงวันที่ 19 กันยายน 2519 เรื่องกำหนดเงื่อนไขในการอนุญาตให้ประกอบกิจการที่ต้องขออนุญาต ฯ ใช้บังคับ บริษัทที่ประกอบธุรกิจเงินทุนจะต้องยื่นคำขอรับอนุญาตภายใน 60 วัน และจะมีสาขาไม่ได้เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังถ้าบริษัทใดมีสาขาอยู่แล้วและประสงค์จะมีสาขานั้นต่อไปก็ให้ยื่นคำขอรับอนุญาตไปพร้อมกันด้วย บริษัทจำเลยที่ 2 เปิดสาขาหลังจากวันที่ประกาศดังกล่าวใช้บังคับแล้วโดยไม่ได้รับอนุญาต จึงมีความผิดตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 58 ข้อ 5 (7), 16
การที่โจทก์ร่วมและผู้มีชื่อเป็นผู้ช่วยผู้จัดการและผู้จัดการสาขาของบริษัทจำเลยที่ 2 หลงเชื่อในคำหลอกลวงของจำเลยจึงได้ร่วมกันเปิดกิจการสาขาของบริษัทจำเลยที่ 2 และชักชวนให้ประชาชนนำเงินมาฝากบริษัทจำเลยที่ 2 ยังถือไม่ได้ว่าโจทก์ร่วม ผู้มีชื่อ และประชาชนผู้นำเงินมาฝากมีส่วนร่วมกระทำความผิดและไม่ใช่ผู้เสียหาย
จำเลยฎีกาว่า การที่ผู้เสียหายนำเงินมาฝากเพราะเชื่อถือในบริษัทจำเลยที่ 2 จึงหาใช่มูลกรณีอันจะเป็นความผิดทางอาญาไม่ และบริษัทจำเลยที่ 2 ประกอบธุรกิจด้วยความบริสุทธิ์ มิได้หลอกลวงประชาชนจึงไม่มีความผิดเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงเมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษายืนให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกินคนละ 5 ปีฎีกาของจำเลยจึงต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218 ที่ศาลชั้นต้นรับฎีกาของจำเลยข้อนี้ไว้จึงไม่ชอบศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
ความผิดตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 58 ข้อ 5 (7), 16 ย่อมสำเร็จเมื่อจำเลยเปิดสาขาประกอบธุรกิจเงินทุนโดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นคนละกรรมต่างหากจากความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน แม้โจทก์ไม่อุทธรณ์ฎีกาศาลฎีกาก็มีอำนาจแก้ไขเฉพาะการปรับบทเรียงกระทงให้ถูกต้องได้เพราะเป็นปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย
การที่โจทก์ร่วมและผู้มีชื่อเป็นผู้ช่วยผู้จัดการและผู้จัดการสาขาของบริษัทจำเลยที่ 2 หลงเชื่อในคำหลอกลวงของจำเลยจึงได้ร่วมกันเปิดกิจการสาขาของบริษัทจำเลยที่ 2 และชักชวนให้ประชาชนนำเงินมาฝากบริษัทจำเลยที่ 2 ยังถือไม่ได้ว่าโจทก์ร่วม ผู้มีชื่อ และประชาชนผู้นำเงินมาฝากมีส่วนร่วมกระทำความผิดและไม่ใช่ผู้เสียหาย
จำเลยฎีกาว่า การที่ผู้เสียหายนำเงินมาฝากเพราะเชื่อถือในบริษัทจำเลยที่ 2 จึงหาใช่มูลกรณีอันจะเป็นความผิดทางอาญาไม่ และบริษัทจำเลยที่ 2 ประกอบธุรกิจด้วยความบริสุทธิ์ มิได้หลอกลวงประชาชนจึงไม่มีความผิดเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงเมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษายืนให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกินคนละ 5 ปีฎีกาของจำเลยจึงต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218 ที่ศาลชั้นต้นรับฎีกาของจำเลยข้อนี้ไว้จึงไม่ชอบศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
ความผิดตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 58 ข้อ 5 (7), 16 ย่อมสำเร็จเมื่อจำเลยเปิดสาขาประกอบธุรกิจเงินทุนโดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นคนละกรรมต่างหากจากความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน แม้โจทก์ไม่อุทธรณ์ฎีกาศาลฎีกาก็มีอำนาจแก้ไขเฉพาะการปรับบทเรียงกระทงให้ถูกต้องได้เพราะเป็นปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4260-4262/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปิดสาขาธุรกิจเงินทุนโดยไม่ได้รับอนุญาต และความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน
นับตั้งแต่วันที่ประกาศกระทรวงการคลัง ฉบับลงวันที่ 19 กันยายน2519 เรื่อง กำหนดกิจการที่ต้องขออนุญาตตามข้อ 5(7) แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 58 และประกาศกระทรวงการคลังฉบับลงวันที่ 19 กันยายน 2519เรื่องกำหนดเงื่อนไขในการอนุญาตให้ประกอบกิจการที่ต้องขออนุญาต ฯ ใช้บังคับ บริษัทที่ประกอบธุรกิจเงินทุนจะต้องยื่นคำขอรับอนุญาตภายใน 60 วัน และจะมีสาขาไม่ได้เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังถ้าบริษัทใดมีสาขาอยู่แล้วและประสงค์จะมีสาขานั้นต่อไปก็ให้ยื่นคำขอรับอนุญาตไปพร้อมกันด้วย บริษัทจำเลยที่ 2 เปิดสาขาหลังจากวันที่ประกาศดังกล่าวใช้บังคับแล้วโดยไม่ได้รับอนุญาต จึงมีความผิดตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 58 ข้อ 5(7),16
การที่โจทก์ร่วมและผู้มีชื่อเป็นผู้ช่วยผู้จัดการและผู้จัดการสาขาของบริษัทจำเลยที่ 2 หลงเชื่อในคำหลอกลวงของจำเลยจึงได้ร่วมกันเปิดกิจการสาขาของบริษัทจำเลยที่ 2 และชักชวนให้ประชาชนนำเงินมาฝากบริษัทจำเลยที่ 2 ยังถือไม่ได้ว่าโจทก์ร่วม ผู้มีชื่อ และประชาชนผู้นำเงินมาฝากมีส่วนร่วมกระทำความผิดและไม่ใช่ผู้เสียหาย
จำเลยฎีกาว่า การที่ผู้เสียหายนำเงินมาฝากเพราะเชื่อถือในบริษัทจำเลยที่ 2 จึงหาใช่มูลกรณีอันจะเป็นความผิดทางอาญาไม่ และบริษัทจำเลยที่ 2 ประกอบธุรกิจด้วยความบริสุทธิ์ มิได้หลอกลวงประชาชน จึงไม่มีความผิดเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงเมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษายืนให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกินคนละ 5 ปีฎีกาของจำเลยจึงต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218 ที่ศาลชั้นต้นรับฎีกาของจำเลยข้อนี้ไว้จึงไม่ชอบศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
ความผิดตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 58 ข้อ 5(7),16 ย่อมสำเร็จเมื่อจำเลยเปิดสาขาประกอบธุรกิจเงินทุนโดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นคนละกรรมต่างหากจากความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน แม้โจทก์ไม่อุทธรณ์ฎีกา ศาลฎีกาก็มีอำนาจแก้ไขเฉพาะการปรับบทเรียงกระทงให้ถูกต้องได้ เพราะเป็นปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย
การที่โจทก์ร่วมและผู้มีชื่อเป็นผู้ช่วยผู้จัดการและผู้จัดการสาขาของบริษัทจำเลยที่ 2 หลงเชื่อในคำหลอกลวงของจำเลยจึงได้ร่วมกันเปิดกิจการสาขาของบริษัทจำเลยที่ 2 และชักชวนให้ประชาชนนำเงินมาฝากบริษัทจำเลยที่ 2 ยังถือไม่ได้ว่าโจทก์ร่วม ผู้มีชื่อ และประชาชนผู้นำเงินมาฝากมีส่วนร่วมกระทำความผิดและไม่ใช่ผู้เสียหาย
จำเลยฎีกาว่า การที่ผู้เสียหายนำเงินมาฝากเพราะเชื่อถือในบริษัทจำเลยที่ 2 จึงหาใช่มูลกรณีอันจะเป็นความผิดทางอาญาไม่ และบริษัทจำเลยที่ 2 ประกอบธุรกิจด้วยความบริสุทธิ์ มิได้หลอกลวงประชาชน จึงไม่มีความผิดเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงเมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษายืนให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกินคนละ 5 ปีฎีกาของจำเลยจึงต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218 ที่ศาลชั้นต้นรับฎีกาของจำเลยข้อนี้ไว้จึงไม่ชอบศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
ความผิดตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 58 ข้อ 5(7),16 ย่อมสำเร็จเมื่อจำเลยเปิดสาขาประกอบธุรกิจเงินทุนโดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นคนละกรรมต่างหากจากความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน แม้โจทก์ไม่อุทธรณ์ฎีกา ศาลฎีกาก็มีอำนาจแก้ไขเฉพาะการปรับบทเรียงกระทงให้ถูกต้องได้ เพราะเป็นปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3447/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีฉ้อโกงประชาชนและการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกง: รัฐเป็นผู้เสียหายแต่เพียงผู้เดียว
ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน มิใช่กระทำโดยเฉพาะเจาะจงแก่บุคคลใดเป็นส่วนตัว รัฐเท่านั้นเป็นผู้เสียหายโดยตรง
พระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน เป็นบทบัญญัติที่มีลักษณะพิเศษแตกต่างไปจากความผิดฐานฉ้อโกง ตามประมวลกฎหมายอาญาดังจะเห็นได้ว่าบทบัญญัติและเจตนารมณ์ของพระราชกำหนดนี้ ตาม มาตรา 4 มาตรา 5 มาตรา 7 และมาตรา 8 บัญญัติถึงวิธีการและลักษณะของการกู้ยืมในกรณีเช่นนี้ไว้ และบัญญัติถึงการที่จะปราบปรามการกระทำที่เป็นการฉ้อโกงประชาชนกับวางมาตรการเพื่อคุ้มครองประโยชน์ของประชาชนที่ได้รับความเสียหายจากการถูกหลอกลวง และรักษาความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยได้กำหนดมาตรการต่าง ๆ ไว้ เพื่อคุ้มครองประชาชนเป็นส่วนรวม และให้พนักงานเจ้าหน้าที่ของรัฐเท่านั้นมีอำนาจใช้มาตรการดังกล่าวนั้นได้ ทั้งนี้เพื่อให้กรณีเสร็จเด็ดขาดไปทันทีดังนั้น ความผิดตามพระราชกำหนดนี้ รัฐเท่านั้นเป็นผู้มีอำนาจฟ้องคดีได้. (วรรคสองวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่5/2530)
พระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน เป็นบทบัญญัติที่มีลักษณะพิเศษแตกต่างไปจากความผิดฐานฉ้อโกง ตามประมวลกฎหมายอาญาดังจะเห็นได้ว่าบทบัญญัติและเจตนารมณ์ของพระราชกำหนดนี้ ตาม มาตรา 4 มาตรา 5 มาตรา 7 และมาตรา 8 บัญญัติถึงวิธีการและลักษณะของการกู้ยืมในกรณีเช่นนี้ไว้ และบัญญัติถึงการที่จะปราบปรามการกระทำที่เป็นการฉ้อโกงประชาชนกับวางมาตรการเพื่อคุ้มครองประโยชน์ของประชาชนที่ได้รับความเสียหายจากการถูกหลอกลวง และรักษาความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยได้กำหนดมาตรการต่าง ๆ ไว้ เพื่อคุ้มครองประชาชนเป็นส่วนรวม และให้พนักงานเจ้าหน้าที่ของรัฐเท่านั้นมีอำนาจใช้มาตรการดังกล่าวนั้นได้ ทั้งนี้เพื่อให้กรณีเสร็จเด็ดขาดไปทันทีดังนั้น ความผิดตามพระราชกำหนดนี้ รัฐเท่านั้นเป็นผู้มีอำนาจฟ้องคดีได้. (วรรคสองวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่5/2530)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3447/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีฉ้อโกงประชาชนและอั้งยี่: รัฐเป็นผู้เสียหายโดยตรง
ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน มิใช่กระทำโดยเฉพาะเจาะจงแก่บุคคลใดเป็นส่วนตัว รัฐเท่านั้นเป็นผู้เสียหายโดยตรง
พระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน เป็นบทบัญญัติที่มีลักษณะพิเศษแตกต่างไปจากความผิดฐานฉ้อโกง ตามประมวลกฎหมายอาญาดังจะเห็นได้ว่าบทบัญญัติและเจตนารมณ์ของพระราชกำหนดนี้ ตาม มาตรา 4 มาตรา 5 มาตรา 7 และมาตรา 8 บัญญัติถึงวิธีการและลักษณะของการกู้ยืมในกรณีเช่นนี้ไว้ และบัญญัติถึงการที่จะปราบปรามการกระทำที่เป็นการฉ้อโกงประชาชนกับวางมาตรการเพื่อคุ้มครองประโยชน์ของประชาชนที่ได้รับความเสียหายจากการถูกหลอกลวง และรักษาความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยได้กำหนดมาตรการต่าง ๆ ไว้ เพื่อคุ้มครองประชาชนเป็นส่วนรวม และให้พนักงานเจ้าหน้าที่ของรัฐเท่านั้นมีอำนาจใช้มาตรการดังกล่าวนั้นได้ ทั้งนี้เพื่อให้กรณีเสร็จเด็ดขาดไปทันทีดังนั้น ความผิดตามพระราชกำหนดนี้ รัฐเท่านั้นเป็นผู้มีอำนาจฟ้องคดีได้.
(วรรคสองวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 5/2530)
พระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน เป็นบทบัญญัติที่มีลักษณะพิเศษแตกต่างไปจากความผิดฐานฉ้อโกง ตามประมวลกฎหมายอาญาดังจะเห็นได้ว่าบทบัญญัติและเจตนารมณ์ของพระราชกำหนดนี้ ตาม มาตรา 4 มาตรา 5 มาตรา 7 และมาตรา 8 บัญญัติถึงวิธีการและลักษณะของการกู้ยืมในกรณีเช่นนี้ไว้ และบัญญัติถึงการที่จะปราบปรามการกระทำที่เป็นการฉ้อโกงประชาชนกับวางมาตรการเพื่อคุ้มครองประโยชน์ของประชาชนที่ได้รับความเสียหายจากการถูกหลอกลวง และรักษาความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยได้กำหนดมาตรการต่าง ๆ ไว้ เพื่อคุ้มครองประชาชนเป็นส่วนรวม และให้พนักงานเจ้าหน้าที่ของรัฐเท่านั้นมีอำนาจใช้มาตรการดังกล่าวนั้นได้ ทั้งนี้เพื่อให้กรณีเสร็จเด็ดขาดไปทันทีดังนั้น ความผิดตามพระราชกำหนดนี้ รัฐเท่านั้นเป็นผู้มีอำนาจฟ้องคดีได้.
(วรรคสองวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 5/2530)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2898/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาเรื่องฟ้องซ้อนความผิดจัดหางาน-ฉ้อโกง, ข้อจำกัดการฎีกาในคดีจำคุกไม่เกิน 5 ปี
ฎีกาว่าข้อนำสืบของโจทก์ฟังไม่ได้ว่าจำเลยที่ 1 เป็นผู้ชักชวนผู้เสียหายหรือโฆษณาต่อประชาชนให้ไปทำงานในประเทศตะวันออกกลาง และไม่นำสืบว่าจำเลยที่ 1 ไม่ตั้งใจส่งผู้เสียหายไปทำงานยังต่างประเทศเพื่อแสดงว่าจำเลยที่ 1 มีเจตนาฉ้อโกงมาแต่ต้น การกระทำของจำเลยที่ 1 จึงไม่เป็นความผิดทางอาญาแต่เป็นความรับผิดทางแพ่ง เป็นฎีกาโต้เถียงข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์รับฟังมาเพื่อนำไปสู่การวินิจฉัยในปัญหาข้อกฎหมาย จึงเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงเมื่อศาลชั้นต้นลงโทษจำคุกจำเลยในความผิดแต่ละกระทงไม่เกิน 5 ปี และศาลอุทธรณ์พิพากษายืน จึงต้องห้ามฎีกาตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
แม้ว่าวันเกิดเหตุของคดีความผิดฐานฉ้อโกงในคดีนี้จะคาบเกี่ยวกันกับคดีแรก แต่ผู้เสียหายเป็นคนละชุดกัน ถูกหลอกลวงต่างวันหรือต่างเวลากัน เงินที่ถูกหลอกลวงก็เป็นคนละจำนวนกัน จึงเป็นการกระทำต่างกรรมต่างวาระกัน ฟ้องโจทก์คดีนี้จึงไม่ซ้ำซ้อนกับคดีแรก
ปัญหาที่ว่ามีการกระทำผิดฐานจัดหางานโดยมิได้รับอนุญาตหลายกรรมหรือไม่ต้องพิจารณาว่าการจัดหางานนั้นได้กระทำต่อเนื่องเป็นคราวเดียวกันหรือไม่ มิใช่พิจารณาว่าเป็นการจัดหางานให้แต่ละคนหรือแต่ละช่วงเวลาตามแต่จะกำหนดเป็นสำคัญ เมื่อได้ความว่าจำเลยทั้งสามได้ออกอุบายตั้งสำนักงานจัดหางานให้แก่ประชาชนทั่วไป ทั้งการกระทำผิดในคดีนี้เกิดขึ้นในระยะเวลาคาบเกี่ยวต่อเนื่องกับคดีแรกโดยไม่ปรากฏว่ามีการหยุดดำเนินกิจการในช่วงระยะเวลาดังกล่าวเห็นได้ว่าจำเลยที่ 1 กับพวกมีเจตนาดำเนินการในการจัดหางานคราวเดียวกันการกระทำความผิดของจำเลยที่ 1 ทั้งสองคดีในความผิดฐานนี้จึงเป็นกรรมเดียวกัน ฟ้องโจทก์ในความผิดฐานจัดหางาน ฯ จึงซ้อนกับคดีแรก ต้องห้ามตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 173 ประกอบด้วย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15
ฎีกาที่ว่าฟ้องโจทก์เป็นฟ้องซ้อนนั้นเป็นฎีกาปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยแม้มิได้ว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้น ศาลฎีกาก็มีอำนาจวินิจฉัย
เมื่อฟ้องโจทก์บางฐานความผิดเป็นฟ้องซ้อน ถือได้ว่าเป็นเหตุอยู่ในส่วนลักษณะคดี ศาลฎีกามีอำนาจพิพากษาไปถึงจำเลยที่มิได้ฎีกาให้มิต้องรับโทษในฐานความผิดที่เป็นฟ้องซ้อนด้วย.
แม้ว่าวันเกิดเหตุของคดีความผิดฐานฉ้อโกงในคดีนี้จะคาบเกี่ยวกันกับคดีแรก แต่ผู้เสียหายเป็นคนละชุดกัน ถูกหลอกลวงต่างวันหรือต่างเวลากัน เงินที่ถูกหลอกลวงก็เป็นคนละจำนวนกัน จึงเป็นการกระทำต่างกรรมต่างวาระกัน ฟ้องโจทก์คดีนี้จึงไม่ซ้ำซ้อนกับคดีแรก
ปัญหาที่ว่ามีการกระทำผิดฐานจัดหางานโดยมิได้รับอนุญาตหลายกรรมหรือไม่ต้องพิจารณาว่าการจัดหางานนั้นได้กระทำต่อเนื่องเป็นคราวเดียวกันหรือไม่ มิใช่พิจารณาว่าเป็นการจัดหางานให้แต่ละคนหรือแต่ละช่วงเวลาตามแต่จะกำหนดเป็นสำคัญ เมื่อได้ความว่าจำเลยทั้งสามได้ออกอุบายตั้งสำนักงานจัดหางานให้แก่ประชาชนทั่วไป ทั้งการกระทำผิดในคดีนี้เกิดขึ้นในระยะเวลาคาบเกี่ยวต่อเนื่องกับคดีแรกโดยไม่ปรากฏว่ามีการหยุดดำเนินกิจการในช่วงระยะเวลาดังกล่าวเห็นได้ว่าจำเลยที่ 1 กับพวกมีเจตนาดำเนินการในการจัดหางานคราวเดียวกันการกระทำความผิดของจำเลยที่ 1 ทั้งสองคดีในความผิดฐานนี้จึงเป็นกรรมเดียวกัน ฟ้องโจทก์ในความผิดฐานจัดหางาน ฯ จึงซ้อนกับคดีแรก ต้องห้ามตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 173 ประกอบด้วย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15
ฎีกาที่ว่าฟ้องโจทก์เป็นฟ้องซ้อนนั้นเป็นฎีกาปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยแม้มิได้ว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้น ศาลฎีกาก็มีอำนาจวินิจฉัย
เมื่อฟ้องโจทก์บางฐานความผิดเป็นฟ้องซ้อน ถือได้ว่าเป็นเหตุอยู่ในส่วนลักษณะคดี ศาลฎีกามีอำนาจพิพากษาไปถึงจำเลยที่มิได้ฎีกาให้มิต้องรับโทษในฐานความผิดที่เป็นฟ้องซ้อนด้วย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2898/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้อน-กรรมเดียว: จัดหางาน, ฉ้อโกง, ข้อจำกัดการฎีกา, อำนาจศาล
ฎีกาว่าข้อนำสืบของโจทก์ฟังไม่ได้ว่าจำเลยที่ 1 เป็นผู้ชักชวนผู้เสียหายหรือโฆษณาต่อประชาชนให้ไปทำงานในประเทศตะวันออกกลาง และไม่นำสืบว่าจำเลยที่ 1 ไม่ตั้งใจส่งผู้เสียหายไปทำงานยังต่างประเทศเพื่อแสดงว่าจำเลยที่ 1 มีเจตนาฉ้อโกงมาแต่ต้น การกระทำของจำเลยที่ 1 จึงไม่เป็นความผิดทางอาญาแต่เป็นความรับผิดทางแพ่ง เป็นฎีกาโต้เถียงข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์รับฟังมาเพื่อนำไปสู่การวินิจฉัยในปัญหาข้อกฎหมาย จึงเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงเมื่อศาลชั้นต้นลงโทษจำคุกจำเลยในความผิดแต่ละกระทงไม่เกิน 5 ปี และศาลอุทธรณ์พิพากษายืน จึงต้องห้ามฎีกาตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
แม้ว่าวันเกิดเหตุของคดีความผิดฐานฉ้อโกงในคดีนี้จะคาบเกี่ยวกันกับคดีแรก แต่ผู้เสียหายเป็นคนละชุดกัน ถูกหลอกลวงต่างวันหรือต่างเวลากัน เงินที่ถูกหลอกลวงก็เป็นคนละจำนวนกัน จึงเป็นการกระทำต่างกรรมต่างวาระกัน ฟ้องโจทก์คดีนี้จึงไม่ซ้ำซ้อนกับคดีแรก
ปัญหาที่ว่ามีการกระทำผิดฐานจัดหางานโดยมิได้รับอนุญาตหลายกรรมหรือไม่ต้องพิจารณาว่าการจัดหางานนั้นได้กระทำต่อเนื่องเป็นคราวเดียวกันหรือไม่ มิใช่พิจารณาว่าเป็นการจัดหางานให้แต่ละคนหรือแต่ละช่วงเวลาตามแต่จะกำหนดเป็นสำคัญ เมื่อได้ความว่าจำเลยทั้งสามได้ออกอุบายตั้งสำนักงานจัดหางานให้แก่ประชาชนทั่วไป ทั้งการกระทำผิดในคดีนี้เกิดขึ้นในระยะเวลาคาบเกี่ยวต่อเนื่องกับคดีแรกโดยไม่ปรากฏว่ามีการหยุดดำเนินกิจการในช่วงระยะเวลาดังกล่าวเห็นได้ว่าจำเลยที่ 1 กับพวกมีเจตนาดำเนินการในการจัดหางานคราวเดียวกันการกระทำความผิดของจำเลยที่ 1 ทั้งสองคดีในความผิดฐานนี้จึงเป็นกรรมเดียวกัน ฟ้องโจทก์ในความผิดฐานจัดหางาน ฯ จึงซ้อนกับคดีแรก ต้องห้ามตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 173ประกอบด้วย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15
ฎีกาที่ว่าฟ้องโจทก์เป็นฟ้องซ้อนนั้นเป็นฎีกาปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยแม้มิได้ว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้น ศาลฎีกาก็มีอำนาจวินิจฉัย
เมื่อฟ้องโจทก์บางฐานความผิดเป็นฟ้องซ้อน ถือได้ว่าเป็นเหตุอยู่ในส่วนลักษณะคดี ศาลฎีกามีอำนาจพิพากษาไปถึงจำเลยที่มิได้ฎีกาให้มิต้องรับโทษในฐานความผิดที่เป็นฟ้องซ้อนด้วย.
แม้ว่าวันเกิดเหตุของคดีความผิดฐานฉ้อโกงในคดีนี้จะคาบเกี่ยวกันกับคดีแรก แต่ผู้เสียหายเป็นคนละชุดกัน ถูกหลอกลวงต่างวันหรือต่างเวลากัน เงินที่ถูกหลอกลวงก็เป็นคนละจำนวนกัน จึงเป็นการกระทำต่างกรรมต่างวาระกัน ฟ้องโจทก์คดีนี้จึงไม่ซ้ำซ้อนกับคดีแรก
ปัญหาที่ว่ามีการกระทำผิดฐานจัดหางานโดยมิได้รับอนุญาตหลายกรรมหรือไม่ต้องพิจารณาว่าการจัดหางานนั้นได้กระทำต่อเนื่องเป็นคราวเดียวกันหรือไม่ มิใช่พิจารณาว่าเป็นการจัดหางานให้แต่ละคนหรือแต่ละช่วงเวลาตามแต่จะกำหนดเป็นสำคัญ เมื่อได้ความว่าจำเลยทั้งสามได้ออกอุบายตั้งสำนักงานจัดหางานให้แก่ประชาชนทั่วไป ทั้งการกระทำผิดในคดีนี้เกิดขึ้นในระยะเวลาคาบเกี่ยวต่อเนื่องกับคดีแรกโดยไม่ปรากฏว่ามีการหยุดดำเนินกิจการในช่วงระยะเวลาดังกล่าวเห็นได้ว่าจำเลยที่ 1 กับพวกมีเจตนาดำเนินการในการจัดหางานคราวเดียวกันการกระทำความผิดของจำเลยที่ 1 ทั้งสองคดีในความผิดฐานนี้จึงเป็นกรรมเดียวกัน ฟ้องโจทก์ในความผิดฐานจัดหางาน ฯ จึงซ้อนกับคดีแรก ต้องห้ามตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 173ประกอบด้วย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15
ฎีกาที่ว่าฟ้องโจทก์เป็นฟ้องซ้อนนั้นเป็นฎีกาปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยแม้มิได้ว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้น ศาลฎีกาก็มีอำนาจวินิจฉัย
เมื่อฟ้องโจทก์บางฐานความผิดเป็นฟ้องซ้อน ถือได้ว่าเป็นเหตุอยู่ในส่วนลักษณะคดี ศาลฎีกามีอำนาจพิพากษาไปถึงจำเลยที่มิได้ฎีกาให้มิต้องรับโทษในฐานความผิดที่เป็นฟ้องซ้อนด้วย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2746/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฉ้อโกงประชาชนด้วยการอ้างความศักดิ์สิทธิ์ของเด็กและหลอกลวงให้หลงเชื่อในน้ำมนต์เพื่อหวังผลประโยชน์
จำเลยทั้งสองหลอกลวงว่าเด็กชาย ว. บุตรของตน เทพให้มาเกิดได้รับยกย่อง ว่าเป็นอาจารย์น้อย เป็นผู้มีอิทธิฤทธิ์ รักษาโรคต่าง ๆได้ประชาชนที่ไปรับการรักษาต้องนำเงิน 12 บาทพร้อมด้วยดอกไม้ธูป เทียนใส่จานไปยื่นให้จำเลย โดยนำไปวางไว้ที่ขันน้ำจำนวน 6 ใบแล้วจำเลยที่ 1 จะจุดเทียนหยด น้ำตา เทียนในขันและบอกว่าน้ำดังกล่าวเป็นน้ำมนต์ใช้รักษาโรคได้ ซึ่งมีจำเลยที่ 2 คอยช่วย ตัก น้ำเพื่อใช้ทำน้ำมนต์ จำเลยที่ 1 จะเป็นผู้หยิบเอาดอกไม้ธูป เทียนและเงิน 12 บาทไป การกระทำของจำเลยทั้งสองเป็นการกระทำให้ปรากฏแก่สายตา ประชาชนและเป็นการร่วมกันโดยทุจริตโดยกระทำด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จต่อประชาชน เพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินจากผู้ถูกหลอกลวง มีความผิดฐานฉ้อโกงตาม ป.อ. มาตรา 343.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2744/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดร่วมกันในคดีฉ้อโกง: แม้เงินมัดจำจ่ายให้จำเลยอื่น จำเลยที่ร่วมกระทำผิดต้องรับผิดชดใช้ทั้งหมด
จำเลยทั้งสามร่วมกันกระทำผิดฐานฉ้อโกงประชาชน แม้จำเลยเพียงบางคนเป็นผู้รับเงินจากผู้เสียหาย จำเลยทุกคนก็ต้องร่วมกันรับผิดชดใช้เงินคืนแก่ผู้เสียหายทุกคน.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2744/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดร่วมกันในคดีฉ้อโกง แม้เงินไม่ได้ผ่านจำเลยโดยตรง
จำเลยทั้งสามร่วมกันกระทำผิดฐานฉ้อโกงประชาชน แม้จำเลยเพียงบางคนเป็นผู้รับเงินจากผู้เสียหาย จำเลยทุกคนก็ต้องร่วมกันรับผิดชดใช้เงินคืนแก่ผู้เสียหายทุกคน.