พบผลลัพธ์ทั้งหมด 45 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1272/2543 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองปรปักษ์ - ขอบเขตที่ดินไม่ชัดเจน ศาลยกคำร้องขอแต่ไม่ตัดสิทธิ
ผู้ร้องยื่นคำร้องขอ ขอให้ศาลมีคำสั่งว่าผู้ร้องเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในที่ดินโฉนดตราจองที่ 1022 โดยการครอบครองปรปักษ์ แต่ข้อเท็จจริงตามคำร้องขอและตามที่ผู้ร้องนำสืบไม่ทราบได้แน่ชัดว่าที่ดินโฉนดตราจองที่ 1022เป็นที่ดินบางส่วนของที่ดิน น.ส.3 ที่ผู้ร้องครอบครองอยู่ ซึ่งเป็นเหตุให้ไม่สามารถสั่งให้ผู้ร้องได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินตามคำขอท้ายคำร้องขอได้ ศาลจึงต้องยกคำร้องขอของผู้ร้องแต่ไม่ตัดสิทธิของผู้ร้องที่จะยื่นคำร้องขอใหม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7855/2542 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนคำวินิจฉัย คชก. และสิทธิในการฟ้องเรียกซื้อที่ดิน – จำเป็นต้องฟ้องเพิกถอนก่อน
คู่กรณีหรือผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่เห็นด้วยหรือไม่พอใจคำวินิจฉัยของคชก.จังหวัด จะต้องฟ้อง คชก.จังหวัด เพื่อให้เพิกถอนคำวินิจฉัยของ คชก.จังหวัดเสียก่อนตาม พ.ร.บ.การเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524 มาตรา 57วรรคหนึ่ง เพราะตราบใดที่คำวินิจฉัยของ คชก.จังหวัดยังไม่ถูกเพิกถอนต้องถือว่าคำวินิจฉัยของ คชก.จังหวัด ยังมีผลใช้บังคับได้ตามกฎหมาย หากไม่ฟ้องขอให้เพิกถอนคำวินิจฉัยของ คชก.จังหวัดภายในกำหนดเวลา คำวินิจฉัยของ คชก.จังหวัดย่อมเป็นที่สุดตามมาตรา 57 วรรคสอง ประกอบด้วยมาตรา 56
โจทก์เป็นผู้เช่านาพิพาทจากจำเลยที่ 1 ซึ่งขายนาดังกล่าวให้แก่จำเลยที่ 2 ไม่พอใจคำวินิจฉัยของ คชก.จังหวัดนนทบุรีที่วินิจฉัยว่าโจทก์ไม่มีสิทธิซื้อนาพิพาท โจทก์จึงต้องฟ้อง คชก.จังหวัดนนทบุรี เพื่อขอให้เพิกถอนคำวินิจฉัยของคชก.จังหวัดนนทบุรี เมื่อโจทก์ไม่ได้ฟ้อง คชก.จังหวัดนนทบุรี และมิได้มีการเรียกคชก.จังหวัดนนทบุรีเข้ามาเป็นคู่ความในคดีด้วย โจทก์จึงไม่มีสิทธิฟ้องขอให้ศาลบังคับจำเลยทั้งสองโดยลำพังให้ขายนาพิพาทแก่โจทก์อันแตกต่างไปจากคำวินิจฉัยของคชก.จังหวัดนนทบุรีได้
แม้ คชก.จังหวัดนนทบุรีจะมิได้มีฐานะเป็นนิติบุคคลก็ตาม โจทก์ก็ย่อมฟ้องตัวบุคคลที่ประกอบเป็นคณะกรรมการได้
การยกฟ้องโจทก์เกี่ยวกับอำนาจฟ้องโดยมิได้วินิจฉัยประเด็นข้อพิพาทที่โจทก์ยกขึ้นอาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาในการฟ้องคดีของโจทก์ว่ามีอยู่จริงหรือไม่นั้น สมควรที่จะไม่ตัดสิทธิของโจทก์ที่จะนำคำฟ้องมายื่นใหม่
โจทก์เป็นผู้เช่านาพิพาทจากจำเลยที่ 1 ซึ่งขายนาดังกล่าวให้แก่จำเลยที่ 2 ไม่พอใจคำวินิจฉัยของ คชก.จังหวัดนนทบุรีที่วินิจฉัยว่าโจทก์ไม่มีสิทธิซื้อนาพิพาท โจทก์จึงต้องฟ้อง คชก.จังหวัดนนทบุรี เพื่อขอให้เพิกถอนคำวินิจฉัยของคชก.จังหวัดนนทบุรี เมื่อโจทก์ไม่ได้ฟ้อง คชก.จังหวัดนนทบุรี และมิได้มีการเรียกคชก.จังหวัดนนทบุรีเข้ามาเป็นคู่ความในคดีด้วย โจทก์จึงไม่มีสิทธิฟ้องขอให้ศาลบังคับจำเลยทั้งสองโดยลำพังให้ขายนาพิพาทแก่โจทก์อันแตกต่างไปจากคำวินิจฉัยของคชก.จังหวัดนนทบุรีได้
แม้ คชก.จังหวัดนนทบุรีจะมิได้มีฐานะเป็นนิติบุคคลก็ตาม โจทก์ก็ย่อมฟ้องตัวบุคคลที่ประกอบเป็นคณะกรรมการได้
การยกฟ้องโจทก์เกี่ยวกับอำนาจฟ้องโดยมิได้วินิจฉัยประเด็นข้อพิพาทที่โจทก์ยกขึ้นอาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาในการฟ้องคดีของโจทก์ว่ามีอยู่จริงหรือไม่นั้น สมควรที่จะไม่ตัดสิทธิของโจทก์ที่จะนำคำฟ้องมายื่นใหม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7855/2542
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องจำเลยโดยไม่ฟ้องเพิกถอนคำวินิจฉัยของ คชก.จังหวัดก่อน ย่อมไม่มีอำนาจฟ้อง
คู่กรณีหรือผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่เห็นด้วยหรือไม่พอใจคำวินิจฉัยของ คชก. จังหวัดจะต้องฟ้อง คชก. จังหวัด เพื่อให้เพิกถอนคำวินิจฉัยของ คชก. จังหวัดเสียก่อนตามพระราชบัญญัติการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524 มาตรา 57 วรรคหนึ่งเพราะตราบใดที่คำวินิจฉัยของ คชก. จังหวัดยังไม่ถูกเพิกถอนต้องถือว่าคำวินิจฉัยของ คชก.จังหวัดยังมีผลใช้บังคับได้ตามกฎหมายหากไม่ฟ้องขอให้เพิกถอนคำวินิจฉัยของ คชก.จังหวัดภายในกำหนดเวลา คำวินิจฉัยของ คชก. จังหวัด ย่อมเป็นที่สุดตามมาตรา 57 วรรคสอง ประกอบด้วยมาตรา 56 โจทก์เป็นผู้เช่านาพิพาทจากจำเลยที่ 1 ซึ่งขายนาดังกล่าวให้แก่จำเลยที่2 ไม่พอใจคำวินิจฉัยของ คชก. จังหวัดนนทบุรีที่วินิจฉัยว่าโจทก์ไม่มีสิทธิซื้อนาพิพาท โจทก์คชก.จังหวัดนนทบุรี เมื่อโจทก์ไม่ได้ฟ้อง คชก. จึงต้องฟ้อง คชก.จังหวัดนนทบุรีเพื่อขอให้เพิกถอนคำวินิจฉัยของ จังหวัดนนทบุรี และมิได้มีการเรียก คชก.จังหวัดนนทบุรีเข้ามาเป็นคู่ความในคดีด้วยโจทก์จึงไม่มีสิทธิฟ้องขอให้ศาลบังคับจำเลยทั้งสองโดยลำพังให้ขายนาพิพาทแก่โจทก์อันแตกต่างไปจากคำวินิจฉัยของ คชก.จังหวัดนนทบุรีได้แม้ คชก. จังหวัดนนทบุรีจะมิได้มีฐานะเป็นนิติบุคคลก็ตาม โจทก์ก็ย่อมฟ้องตัวบุคคลที่ประกอบเป็นคณะกรรมการได้ การยกฟ้องโจทก์เกี่ยวกับอำนาจฟ้องโดยมิได้วินิจฉัยประเด็นข้อพิพาทที่โจทก์ยกขึ้นอาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาในการฟ้องคดีของโจทก์ว่ามีอยู่จริงหรือไม่นั้น สมควรที่จะไม่ตัดสิทธิของโจทก์ที่จะนำคำฟ้องมายื่นใหม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5704/2539 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องหนี้ตามบัญชีเดินสะพัด การคิดดอกเบี้ย และการยกข้อต่อสู้ใหม่ในชั้นอุทธรณ์
โจทก์ฟ้องให้จำเลยทั้งสองรับผิดในจำนวนหนี้ที่จำเลยทั้งสองเป็นหนี้โจทก์ตามบัญชีเดินสะพัด เมื่อบรรยายฟ้องก็กล่าวถึงเวลาขอเปิดบัญชีในวงเงินที่กำหนด และมีการเบิกจ่ายเงินและชำระหนี้กันเป็นระยะเวลาหลายปี จนถึงผลสุดท้ายก็มียอดหนี้ของจำเลยทั้งสองรวมทั้งดอกเบี้ย แม้เอกสารการ์ดบัญชีที่แสดงว่าเป็นหนี้กันอยู่จะแนบมาพร้อมฟ้องเพียงบางส่วน ก็นับว่าชัดแจ้งพอที่จะเข้าใจข้อหาและจำนวนหนี้ได้ดี ฟ้องโจทก์ไม่เคลือบคลุม
จำเลยทั้งสองมิได้ต่อสู้คดีไว้ว่าจะต้องรับผิดไม่เกิน 200,000 บาทตามสัญญาเท่านั้น เพิ่งยกขึ้นโต้แย้งในชั้นอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ไม่รับวินิจฉัย จำเลยทั้งสองมิได้โต้แย้งว่าคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในส่วนนี้ไม่ถูกต้องประการใดบ้าง กลับโต้แย้งว่าจำเลยทั้งสองไม่ต้องรับผิดเกิน 200,000 บาท จึงเป็นฎีกาที่ไม่ชัดแจ้ง
เมื่อหนี้ยังไม่ระงับจำเลยทั้งสองต้องรับผิดต่อโจทก์ทั้งเงินต้นและดอกเบี้ยตามสัญญา แต่ดอกเบี้ยที่คิดมาในฟ้อง ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่าโจทก์คิดดอกเบี้ยไม่ชอบ สมควรให้คิดใหม่โดยพิพากษาให้ยกฟ้องและไม่ตัดสิทธิโจทก์ที่จะนำคดีมาฟ้องใหม่ซึ่งเป็นอำนาจศาลอุทธรณ์ที่จะพิพากษาได้
จำเลยทั้งสองมิได้ต่อสู้คดีไว้ว่าจะต้องรับผิดไม่เกิน 200,000 บาทตามสัญญาเท่านั้น เพิ่งยกขึ้นโต้แย้งในชั้นอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ไม่รับวินิจฉัย จำเลยทั้งสองมิได้โต้แย้งว่าคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในส่วนนี้ไม่ถูกต้องประการใดบ้าง กลับโต้แย้งว่าจำเลยทั้งสองไม่ต้องรับผิดเกิน 200,000 บาท จึงเป็นฎีกาที่ไม่ชัดแจ้ง
เมื่อหนี้ยังไม่ระงับจำเลยทั้งสองต้องรับผิดต่อโจทก์ทั้งเงินต้นและดอกเบี้ยตามสัญญา แต่ดอกเบี้ยที่คิดมาในฟ้อง ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่าโจทก์คิดดอกเบี้ยไม่ชอบ สมควรให้คิดใหม่โดยพิพากษาให้ยกฟ้องและไม่ตัดสิทธิโจทก์ที่จะนำคดีมาฟ้องใหม่ซึ่งเป็นอำนาจศาลอุทธรณ์ที่จะพิพากษาได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5704/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องไม่เคลือบคลุม, หนี้ยังไม่ระงับ, ดอกเบี้ยไม่ชอบ ศาลอุทธรณ์พิพากษาถูกต้อง
โจทก์ฟ้องให้จำเลยทั้งสองรับผิดในจำนวนหนี้ที่จำเลยทั้งสองเป็นหนี้โจทก์ตามบัญชีเดินสะพัดเมื่อบรรยายฟ้องก็กล่าวถึงเวลาขอเปิดบัญชีในวงเงินที่กำหนดและมีการเบิกจ่ายเงินและชำระหนี้กันเป็นระยะเวลาหลายปีจนถึงผลสุดท้ายก็มียอดหนี้ของจำเลยทั้งสองรวมทั้งดอกเบี้ยแม้เอกสารการ์ดบัญชีที่แสดงว่าเป็นหนี้กันอยู่จะแนบมาพร้อมฟ้องเพียงบางส่วนก็นับว่าชัดแจ้งพอที่จะเข้าใจข้อหาและจำนวนหนี้ได้ดีฟ้องโจทก์ไม่เคลือบคลุม จำเลยทั้งสองมิได้ต่อสู้คดีไว้ว่าจะต้องรับผิดไม่เกิน200,000บาทตามสัญญาเท่านั้นเพิ่งยกขึ้นโต้แย้งในชั้นอุทธรณ์ศาลอุทธรณ์ไม่รับวินิจฉัยจำเลยทั้งสองมิได้โต้แย้งว่าคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในส่วนนี้ไม่ถูกต้องประการใดบ้างกลับโต้แย้งว่าจำเลยทั้งสองไม่ต้องรับผิดเกิน200,000บาทจึงเป็นฎีกาที่ไม่ชัดแจ้ง เมื่อหนี้ยังไม่ระงับจำเลยทั้งสองต้องรับผิดต่อโจทก์ทั้งเงินต้นและดอกเบี้ยตามสัญญาแต่ดอกเบี้ยที่คิดมาในฟ้องศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่าโจทก์คิดดอกเบี้ยไม่ชอบสมควรให้คิดใหม่โดยพิพากษาให้ยกฟ้องและไม่ตัดสิทธิโจทก์ที่จะนำคดีมาฟ้องใหม่ซึ่งเป็นอำนาจศาลอุทธรณ์ที่จะพิพากษาได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2808-2809/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายที่ดินพิพาท, สิทธิของเจ้าหนี้, การครอบครองปรปักษ์, และการฟ้องขับไล่ที่ไม่สุจริต
แม้ว่าตามสัญญาซื้อขายที่ดินระหว่างโจทก์ที่3และจำเลยข้อ3มีว่าหากจำเลยไม่ชำระค่าที่ดินให้โจทก์ที่3เป็นเวลา2เดือนถือว่าสละสิทธิและเงินที่ส่งมาถือเป็นค่าเช่าก็ตามแต่ตามทางปฏิบัติเมื่อชำระเงินมัดจำให้โจทก์ที่3จำนวน30,000บาทแล้วจำเลยได้ผ่อนชำระให้โจทก์ที่3เรื่อยมาแต่ไม่ติดต่อกันทุกเดือนและขาดส่งเกินกว่า2เดือนแล้วก็มีหลังจากนั้นเมื่อจำเลยชำระให้โจทก์ที่3ก็รับชำระอีกการซื้อที่ดินแปลงที่3ก็เช่นเดียวกันจำเลยได้ชำระค่าเช่าที่ดินจำนวน140,000บาทเท่านั้นแสดงให้เห็นว่าโจทก์ที่3และจำเลยต่างไม่ถือเอากำหนดระยะเวลาในสัญญาข้อ3เป็นสาระสำคัญอีกต่อไปดังนั้นการเลิกสัญญาจะต้องปฏิบัติตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา387คือโจทก์ที่3จะต้องบอกกล่าวให้จำเลยชำระหนี้ภายในเวลาอันสมควรหากจำเลยไม่ชำระหนี้โจทก์ที่3จึงจะบอกเลิกสัญญาได้แต่ไม่ปรากฏว่าโจทก์ที่3ได้บอกเลิกสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาทแก่จำเลยดังนั้นสัญญาซื้อขายที่ดินระหว่างจำเลยและโจทก์ที่3จึงยังมีผลใช้บังคับอยู่ โจทก์ที่3ได้ทำสัญญาจะขายที่ดินและโอนการจัดสรรที่ดินให้โจทก์ที่1แม้ในสัญญาดังกล่าวจะไม่ระบุถึงจำเลยหรือผู้ซื้อที่ดินรายอื่นๆว่าได้ซื้อที่ดินพิพาทจากโจทก์ที่3ก็ดีแต่ขณะที่โจทก์ที่7ทำสัญญาจะขายที่ดินให้แก่โจทก์ที่1นั้นจำเลยได้ปลูกสร้างบ้านอยู่อาศัยรวมทั้งสร้างอู่ซ่อมรถยนต์ในที่ดินพิพาทก่อนแล้วและโจทก์ที่1ได้เคยเสนอขอแลกห้องแถวสองห้องของตนกับที่ดินพิพาทของจำเลยอีกด้วยแสดงว่าโจทก์ที่1รู้อยู่แล้วในขณะทำสัญญาซื้อขายที่ดินและรับโอนการจัดสรรที่ดินซึ่งรวมถึงที่ดินพิพาทจากโจทก์ที่3ว่าจำเลยได้ซื้อที่ดินพิพาทจากโจทก์ที่3อยู่ก่อนและการที่โจทก์ที่2รับโอนที่ดินที่จัดสรรแทนโจทก์ที่1ก็ถือได้ว่าโจทก์ที่2ทราบแล้วว่าจำเลยได้ทำสัญญาซื้อขายที่ดินกับโจทก์ที่3อยู่ก่อนแล้วเพราะโจทก์ที่1เป็นกรรมการของโจทก์ที่2อยู่ด้วยเมื่อโจทก์ที่1และที่2ทราบมาก่อนแล้วว่าจำเลยได้ทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาทจากโจทก์ที่3การที่โจทก์ที่1และที่2ยังซื้อที่ดินพิพาทจากโจทก์ที่3เช่นนี้การรับโอนในส่วนที่ดินพิพาทจึงมิได้เป็นไปโดยสุจริตการที่โจทก์ที่2นำคดีมาฟ้องขับไล่จำเลยจึงเป็นการใช้สิทธิโดยไม่สุจริตโจทก์ที่2ไม่มีอำนาจฟ้องขับไล่จำเลยได้ จำเลยกับโจทก์ที่3เท่านั้นที่เป็นคู่สัญญาในการซื้อขายที่ดินพิพาทกันโจทก์ที่1และที่2มิได้เป็นคู่สัญญากับจำเลยด้วยแม้โจทก์ที่1จะเป็นผู้ซื้อที่ดินซึ่งรวมถึงที่ดินพิพาทไปจากโจทก์ที่3โดยโจทก์ที่2เป็นผู้รับโอนแทนโจทก์ที่1โดยรู้อยู่ก่อนแล้วว่าจำเลยเป็นผู้ซื้อที่ดินพิพาทจากโจทก์ก็หาได้มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดกำหนดให้นิติกรรมการซื้อขายที่ดินพิพาทระหว่างจำเลยกับโจทก์ที่3ตกติดไปอันจะมีผลทำให้โจทก์ที่1และที่2ต้องรับไปซึ่งสิทธิและหน้าที่ตามสัญญาจะซื้อขายระหว่างโจทก์ที่3กับจำเลยด้วยไม่ดังนั้นจำเลยจึงไม่มีสิทธิฟ้องขอให้บังคับจำเลยที่2แบ่งแยกที่ดินพิพาทเพื่อโอนให้แก่จำเลยได้ จำเลยทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาทจากโจทก์ที่3โดยยังชำระราคาไม่ครบถ้วนและการที่โจทก์ที่3โอนขายที่ดินรวมทั้งที่ดินพิพาทให้แก่โจทก์ที่1โดยโจทก์ที่1ให้โจทก์ที่2รับโอนแทนนั้นเป็นการโอนโดยไม่สุจริตและเป็นทางให้จำเลยซึ่งเป็นเจ้าหนี้ต้องเสียเปรียบคดีของจำเลยจึงต้องด้วยบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา237แต่จำเลยมิได้ฟ้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมการโอนระหว่างโจทก์ที่3กับโจทก์ที่2จึงไม่อาจพิพากษาให้เพิกถอนนิติกรรมการโอนดังกล่าวได้แต่ไม่ตัดสิทธิของจำเลยที่จะนำคดีมาฟ้องขอเพิกถอนนิติกรรมดังกล่าวต่อไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา148(3) ตามหนังสือสัญญาซื้อขายที่ดินระหว่างโจทก์ที่3และจำเลยระบุให้จำเลยผู้ซื้อเข้าปลูกบ้านในที่ดินพิพาทได้ทันแม้ยังอยู่ระหว่างผ่อนชำระราคาก็ตามการที่จำเลยเข้าปลูกบ้านอาศัยในที่ดินพิพาทก็โดยอาศัยสิทธิตามสัญญาซื้อขายดังกล่าวเป็นการเข้าครอบครองที่ดินพิพาทแทนโจทก์ที่3ไม่ใช่โดยอาศัยอำนาจของตนเองการครอบครองที่ดินพิพาทจึงไม่เป็นปรปักษ์จนกว่าจำเลยจะบอกกล่าวเปลี่ยนลักษณะแห่งการยึดถือให้โจทก์ที่3ทราบว่าจะยึดถือที่ดินพิพาทเพื่อตนเองเมื่อจำเลยครอบครองที่ดินพิพาทแทนโจทก์ที่3แม้จะนานเท่าใดก็ไม่ได้กรรมสิทธิ์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 8256/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้อน, สัญญาประนีประนอมยอมความ, อายุความ, อำนาจฟ้อง, สิทธิเรียกร้อง
โจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 ยื่นฟ้องจำเลยต่อศาลจังหวัดสุราษฎร์ธานีแต่ไม่ชำระค่าขึ้นศาลภายในระยะเวลาที่ศาลกำหนด ศาลจังหวัดสุราษฎร์ธานีมีคำสั่งไม่รับ โจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 ยื่นอุทธรณ์คัดค้าน คดีอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์การที่โจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 มายื่นฟ้องจำเลยคดีนี้ต่อศาลแพ่งในระหว่างที่คดีก่อนค้างพิจารณาอยู่ในศาลอุทธรณ์ จึงเป็นฟ้องซ้อนต้องห้ามมิให้ฟ้องตาม ป.วิ.พ.มาตรา 173วรรคสอง
จำเลยเป็นทายาทและผู้จัดการมรดกของ พ. ตกลงกับ ล.โจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 และ พ.เพื่อแบ่งที่พิพาทส่วนที่เป็นทรัพย์มรดกของ พ.ออกไปเพื่อจะนำไปแบ่งให้แก่ทายาท พ.ต่อไป จำเลยในฐานะผู้จัดการมรดกของ พ.จึงมีสิทธิทำสัญญาดังกล่าวได้ เมื่อคู่กรณีมีเจตนาทำสัญญาขึ้นเพื่อระงับข้อพิพาทระหว่างกันอันอาจมีขึ้นในภายหน้าให้เสร็จไป จึงเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความตาม ป.พ.พ.มาตรา 850จำเลยต้องผูกพันตามสัญญาดังกล่าวทั้งในฐานะส่วนตัวและในฐานะผู้ปกครองผู้เยาว์ทั้งสอง
โจทก์ที่ 1 ฟ้องโดยยกข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาว่าไม่ปฏิบัติตามสัญญาประนีประนอมยอมความ จึงมีอายุความ 10 ปี ตาม ป.พ.พ.มาตรา 168เดิม
แม้ พ.จะมีสิทธิได้รับส่วนแบ่งตามสัญญาประนีประนอมยอมความนั้นก็เป็นเรื่องที่ พ.จะต้องเรียกร้องจากจำเลยเอง โจทก์ที่ 1 ไม่มีสิทธิเรียกร้องแทน พ.และเมื่อฟ้องโจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 เป็นฟ้องซ้อน จึงไม่อาจบังคับให้จำเลยแบ่งทรัพย์ให้โจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 ได้
การที่ศาลยกฟ้องโจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 ในเรื่องเกี่ยวกับอำนาจฟ้องโดยมิได้วินิจฉัยประเด็นข้อพิพาทที่โจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 ยกขึ้นอ้างอาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาว่ามีอยู่จริงหรือไม่ จึงสมควรไม่ตัดสิทธิของโจทก์ที่จะฟ้องใหม่ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 148 (3)
จำเลยเป็นทายาทและผู้จัดการมรดกของ พ. ตกลงกับ ล.โจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 และ พ.เพื่อแบ่งที่พิพาทส่วนที่เป็นทรัพย์มรดกของ พ.ออกไปเพื่อจะนำไปแบ่งให้แก่ทายาท พ.ต่อไป จำเลยในฐานะผู้จัดการมรดกของ พ.จึงมีสิทธิทำสัญญาดังกล่าวได้ เมื่อคู่กรณีมีเจตนาทำสัญญาขึ้นเพื่อระงับข้อพิพาทระหว่างกันอันอาจมีขึ้นในภายหน้าให้เสร็จไป จึงเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความตาม ป.พ.พ.มาตรา 850จำเลยต้องผูกพันตามสัญญาดังกล่าวทั้งในฐานะส่วนตัวและในฐานะผู้ปกครองผู้เยาว์ทั้งสอง
โจทก์ที่ 1 ฟ้องโดยยกข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาว่าไม่ปฏิบัติตามสัญญาประนีประนอมยอมความ จึงมีอายุความ 10 ปี ตาม ป.พ.พ.มาตรา 168เดิม
แม้ พ.จะมีสิทธิได้รับส่วนแบ่งตามสัญญาประนีประนอมยอมความนั้นก็เป็นเรื่องที่ พ.จะต้องเรียกร้องจากจำเลยเอง โจทก์ที่ 1 ไม่มีสิทธิเรียกร้องแทน พ.และเมื่อฟ้องโจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 เป็นฟ้องซ้อน จึงไม่อาจบังคับให้จำเลยแบ่งทรัพย์ให้โจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 ได้
การที่ศาลยกฟ้องโจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 ในเรื่องเกี่ยวกับอำนาจฟ้องโดยมิได้วินิจฉัยประเด็นข้อพิพาทที่โจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 ยกขึ้นอ้างอาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาว่ามีอยู่จริงหรือไม่ จึงสมควรไม่ตัดสิทธิของโจทก์ที่จะฟ้องใหม่ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 148 (3)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 8252/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้อน, สัญญาประนีประนอมยอมความ, อายุความ, อำนาจฟ้อง, การเรียกร้องสิทธิ
โจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 ยื่นฟ้องจำเลยต่อศาลจังหวัดสุราษฎร์ธานีแต่ไม่ชำระค่าขึ้นศาลภายในระยะเวลาที่ศาลกำหนด ศาลจังหวัดสุราษฎร์ธานีมีคำสั่งไม่รับ โจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 ยื่นอุทธรณ์คัดค้าน คดีอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์การที่โจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 มายื่นฟ้องจำเลยคดีนี้ต่อศาลแพ่งในระหว่างที่คดีก่อนค้างพิจารณาอยู่ในศาลอุทธรณ์ จึงเป็นฟ้องซ้อนต้องห้ามมิให้ฟ้องตาม ป.วิ.พ.มาตรา 173วรรคสอง
จำเลยเป็นทายาทและผู้จัดการมรดกของ พ. ตกลงกับ ล.โจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 และ พ.เพื่อแบ่งที่พิพาทส่วนที่เป็นทรัพย์มรดกของ พ.ออกไปเพื่อจะนำไปแบ่งให้แก่ทายาท พ.ต่อไป จำเลยในฐานะผู้จัดการมรดกของ พ.จึงมีสิทธิทำสัญญาดังกล่าวได้ เมื่อคู่กรณีมีเจตนาทำสัญญาขึ้นเพื่อระงับข้อพิพาทระหว่างกันอันอาจมีขึ้นในภายหน้าให้เสร็จไป จึงเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความตาม ป.พ.พ.มาตรา 850จำเลยต้องผูกพันตามสัญญาดังกล่าวทั้งในฐานะส่วนตัวและในฐานะผู้ปกครองผู้เยาว์ทั้งสอง
โจทก์ที่ 1 ฟ้องโดยยกข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาว่าไม่ปฏิบัติตามสัญญาประนีประนอมยอมความ จึงมีอายุความ 10 ปี ตาม ป.พ.พ.มาตรา 168เดิม
แม้ พ.จะมีสิทธิได้รับส่วนแบ่งตามสัญญาประนีประนอมยอมความนั้นก็เป็นเรื่องที่ พ.จะต้องเรียกร้องจากจำเลยเอง โจทก์ที่ 1 ไม่มีสิทธิเรียกร้องแทน พ.และเมื่อฟ้องโจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 เป็นฟ้องซ้อน จึงไม่อาจบังคับให้จำเลยแบ่งทรัพย์ให้โจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 ได้
การที่ศาลยกฟ้องโจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 ในเรื่องเกี่ยวกับอำนาจฟ้องโดยมิได้วินิจฉัยประเด็นข้อพิพาทที่โจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 ยกขึ้นอ้างอาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาว่ามีอยู่จริงหรือไม่ จึงสมควรไม่ตัดสิทธิของโจทก์ที่จะฟ้องใหม่ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 148 (3)
จำเลยเป็นทายาทและผู้จัดการมรดกของ พ. ตกลงกับ ล.โจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 และ พ.เพื่อแบ่งที่พิพาทส่วนที่เป็นทรัพย์มรดกของ พ.ออกไปเพื่อจะนำไปแบ่งให้แก่ทายาท พ.ต่อไป จำเลยในฐานะผู้จัดการมรดกของ พ.จึงมีสิทธิทำสัญญาดังกล่าวได้ เมื่อคู่กรณีมีเจตนาทำสัญญาขึ้นเพื่อระงับข้อพิพาทระหว่างกันอันอาจมีขึ้นในภายหน้าให้เสร็จไป จึงเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความตาม ป.พ.พ.มาตรา 850จำเลยต้องผูกพันตามสัญญาดังกล่าวทั้งในฐานะส่วนตัวและในฐานะผู้ปกครองผู้เยาว์ทั้งสอง
โจทก์ที่ 1 ฟ้องโดยยกข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาว่าไม่ปฏิบัติตามสัญญาประนีประนอมยอมความ จึงมีอายุความ 10 ปี ตาม ป.พ.พ.มาตรา 168เดิม
แม้ พ.จะมีสิทธิได้รับส่วนแบ่งตามสัญญาประนีประนอมยอมความนั้นก็เป็นเรื่องที่ พ.จะต้องเรียกร้องจากจำเลยเอง โจทก์ที่ 1 ไม่มีสิทธิเรียกร้องแทน พ.และเมื่อฟ้องโจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 เป็นฟ้องซ้อน จึงไม่อาจบังคับให้จำเลยแบ่งทรัพย์ให้โจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 ได้
การที่ศาลยกฟ้องโจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 ในเรื่องเกี่ยวกับอำนาจฟ้องโดยมิได้วินิจฉัยประเด็นข้อพิพาทที่โจทก์ที่ 2 ถึงที่ 4 ยกขึ้นอ้างอาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาว่ามีอยู่จริงหรือไม่ จึงสมควรไม่ตัดสิทธิของโจทก์ที่จะฟ้องใหม่ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 148 (3)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 8252/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้อน สัญญาประนีประนอมยอมความ อายุความ และการแบ่งทรัพย์สินมรดก
โจทก์ที่2ถึงที่4ยื่นฟ้องจำเลยต่อศาลจังหวัดสุราษฎร์ธานีแต่ไม่ชำระค่าขึ้นศาลภายในระยะเวลาที่ศาลกำหนดศาลจังหวัดสุราษฎร์ธานีมีคำสั่งไม่รับโจทก์ที่2ถึงที่4ยื่นอุทธรณ์คัดค้านคดีอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์การที่โจทก์ที่2ถึงที่4มายื่นฟ้องจำเลยคดีนี้ต่อศาลแพ่งในระหว่างที่คดีก่อนค้างพิจารณาอยู่ในศาลอุทธรณ์จึงเป็นฟ้องซ้อนต้องห้ามมิให้ฟ้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา173วรรคสอง จำเลยเป็นทายาทและผู้จัดการมรดกของพ. ตกลงกับล.โจทก์ที่2ถึงที่4และพ. เพื่อแบ่งที่พิพาทส่วนที่เป็นทรัพย์มรดกของพ. ออกไปเพื่อจะนำไปแบ่งให้แก่ทายาทพ.ต่อไปจำเลยในฐานะผู้จัดการมรดกของพ. จึงมีสิทธิทำสัญญาดังกล่าวได้เมื่อคู่กรณีมีเจตนาทำสัญญาขึ้นเพื่อระงับข้อพิพาทระหว่างกันอันอาจมีขึ้นในภายหน้าให้เสร็จไปจึงเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา850จำเลยต้องผูกพันตามสัญญาดังกล่าวทั้งในฐานะส่วนตัวและในฐานะผู้ปกครองผู้เยาว์ทั้งสอง โจทก์ที่1ฟ้องโดยยกข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาว่าไม่ปฏิบัติตามสัญญาประนีประนอมยอมความจึงมีอายุความ10ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา168เดิม แม้พ. จะมีสิทธิได้รับส่วนแบ่งตามสัญญาประนีประนอมยอมความนั้นก็เป็นเรื่องที่พ. จะต้องเรียกร้องจากจำเลยเองโจทก์ที่1ไม่มีสิทธิเรียกร้องแทนพ. และเมื่อฟ้องโจทก์ที่2ถึงที่4เป็นฟ้องซ้อนจึงไม่อาจบังคับให้จำเลยแบ่งทรัพย์ให้โจทก์ที่2ถึงที่4ได้ การที่ศาลยกฟ้องโจทก์ที่2ถึงที่4ในเรื่องเกี่ยวกับอำนาจฟ้องโดยมิได้วินิจฉัยประเด็นข้อพิพาทที่โจทก์ที่2ถึงที่4ยกขึ้นอ้างอาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาว่ามีอยู่จริงหรือไม่จึงสมควรไม่ตัดสิทธิของโจทก์ที่จะฟ้องใหม่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา148(3)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5741/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนังสือมอบอำนาจสมบูรณ์แม้กรรมการเปลี่ยน, สัญญาค้ำประกัน, และดอกเบี้ยผิดสัญญา
ขณะทำหนังสือมอบอำนาจ ท. และ ย. มีอำนาจทำการผูกพันโจทก์จึงมีอำนาจกระทำการแทนโจทก์ได้ เมื่อ ท. กับ ย. ลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราสำคัญของโจทก์ในหนังสือมอบอำนาจ มอบอำนาจให้ ส. ฟ้องคดีแทนโจทก์ การมอบอำนาจจึงสมบูรณ์ แม้ต่อมาภายหลังจะปรากฏว่าขณะที่ ส.ผู้รับมอบอำนาจโจทก์ยื่นฟ้องคดีนี้ ท. จะพ้นจากตำแหน่งกรรมการไปแล้วก็ตามหนังสือมอบอำนาจก็ยังมีผลสมบูรณ์ใช้บังคับได้ ทั้งไม่ปรากฏว่าโจทก์ได้เพิกถอนหนังสือมอบอำนาจดังกล่าว ส. จึงยังมีอำนาจฟ้องคดีแทนโจทก์ได้
จำเลยที่ 1 ได้ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับโจทก์โดยมีจำเลยที่ 3 ถึงที่ 10 เป็นผู้ค้ำประกันและยอมรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วมกับจำเลยที่ 1 แม้กรรมการชุดใหม่ของจำเลยที่ 1 จะได้ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีใหม่กับโจทก์ ก็ถือไม่ได้ว่าเป็นการเลิกสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีที่จำเลยที่ 3 ถึงที่ 10 ซึ่งเป็นกรรมการชุดเก่าได้ทำไว้กับโจทก์
จำเลยที่ 3 ถึงที่ 10 ได้บอกเลิกสัญญาค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีของจำเลยที่ 1 ต่อโจทก์ แต่ไม่ปรากฏว่าโจทก์ได้ตกลงยินยอมด้วย และในวันที่จำเลยที่ 3 ถึงที่ 10 บอกเลิกสัญญาค้ำประกันดังกล่าวต่อโจทก์ จำเลยที่ 1ยังเป็นหนี้โจทก์อยู่ การบอกเลิกสัญญาค้ำประกันของจำเลยที่ 3 ถึงที่ 10 เป็นการบอกเลิกสัญญาค้ำประกันทั้งหมดโดยมิได้มีการชำระหนี้ที่จำเลยที่ 1 ค้างโจทก์อยู่และมิใช่เป็นการค้ำประกันเพื่อกิจการเนื่องกันไปหลายคราวไม่มีจำกัดเวลาเป็นคุณแก่เจ้าหนี้ที่จำเลยที่ 3 ถึงที่ 10 ผู้ค้ำประกันจะใช้สิทธิบอกเลิกการค้ำประกันเพื่อคราวอันเป็นอนาคตได้ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 699 สัญญาค้ำประกันจึงยังไม่ระงับจำเลยที่ 3 ถึงที่ 10 ยังไม่หลุดพ้นจากความรับผิดตามสัญญาค้ำประกัน
จำเลยที่ 1 ได้ทำสัญญาจำนองที่ดินไว้แก่โจทก์ โดยมีจำเลยที่ 3ถึงที่ 10 ทำสัญญาค้ำประกันหนี้ของจำเลยที่ 1 ต่อโจทก์ด้วย สัญญาค้ำประกันระบุว่าผู้ค้ำประกันยอมสละที่จะต่อสู้ให้โจทก์บังคับเอาชำระหนี้จากทรัพย์สินของลูกค้าก่อน ดังนั้นจำเลยที่ 3 ถึงที่ 10 จึงไม่อาจยกข้อต่อสู้ดังกล่าวขึ้นอ้างได้โจทก์จึงมีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 3 ถึงที่ 10 ได้โดยไม่ต้องฟ้องบังคับจำนองจากจำเลยที่ 1 ก่อน
โจทก์คิดดอกเบี้ยจากจำเลยที่ 1 จากยอดหนี้เงินกู้เบิกเงินเกินบัญชีตามบัญชีกระแสรายวัน โดยคิดอัตราดอกเบี้ยตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยตามสัญญาเบิกเงินเกินบัญชี แสดงว่าโจทก์ได้มีการเปลี่ยนแปลงและปรับอัตราดอกเบี้ยสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยตามข้อตกลงในสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีตลอดมาโดยไม่ปรากฏว่าจำเลยที่ 1 ตกลงให้โจทก์ปรับอัตราดอกเบี้ยให้สูงขึ้นตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยได้ และยอดหนี้ที่โจทก์ฟ้องก็เป็นยอดหนี้ที่โจทก์คิดมาจากบัญชีกระแสรายวันภายหลังที่หักทอนบัญชีกันแล้ว ยอดหนี้ดังกล่าวจึงเป็นยอดหนี้ที่คิดดอกเบี้ยมาไม่ถูกต้องตามกฎหมาย เพราะโจทก์คิดดอกเบี้ยสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยที่ได้ตกลงกันไว้ตามสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีเป็นอย่างมาก ทั้งเป็นการคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นติดต่อกันตลอดมา จำเลยที่ 1 ได้สั่งจ่ายเช็คหลายพันฉบับและโจทก์จ่ายเงินเกินบัญชีให้ไปและมีรายการที่จำเลยที่ 1 นำเงินเข้าบัญชีเพื่อหักทอนหนี้สินอีกหลายพันรายการ ยากที่ศาลฎีกาจะคิดต้นเงินและดอกเบี้ยที่ถูกต้องให้โจทก์ได้ซึ่งเป็นหน้าที่ของโจทก์ที่จะต้องคิดยอดหนี้มาให้ถูกต้อง ศาลฎีกาไม่มีหน้าที่ต้องคิดยอดหนี้ที่ถูกต้องตามบัญชีกระแสรายวันดังกล่าวให้โจทก์ ดังนี้จึงต้องยกฟ้องโดยไม่ตัดสิทธิโจทก์ที่นำคำฟ้องมายื่นใหม่ภายใต้บังคับแห่งบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยอายุความ
จำเลยที่ 1 ได้ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับโจทก์โดยมีจำเลยที่ 3 ถึงที่ 10 เป็นผู้ค้ำประกันและยอมรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วมกับจำเลยที่ 1 แม้กรรมการชุดใหม่ของจำเลยที่ 1 จะได้ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีใหม่กับโจทก์ ก็ถือไม่ได้ว่าเป็นการเลิกสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีที่จำเลยที่ 3 ถึงที่ 10 ซึ่งเป็นกรรมการชุดเก่าได้ทำไว้กับโจทก์
จำเลยที่ 3 ถึงที่ 10 ได้บอกเลิกสัญญาค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีของจำเลยที่ 1 ต่อโจทก์ แต่ไม่ปรากฏว่าโจทก์ได้ตกลงยินยอมด้วย และในวันที่จำเลยที่ 3 ถึงที่ 10 บอกเลิกสัญญาค้ำประกันดังกล่าวต่อโจทก์ จำเลยที่ 1ยังเป็นหนี้โจทก์อยู่ การบอกเลิกสัญญาค้ำประกันของจำเลยที่ 3 ถึงที่ 10 เป็นการบอกเลิกสัญญาค้ำประกันทั้งหมดโดยมิได้มีการชำระหนี้ที่จำเลยที่ 1 ค้างโจทก์อยู่และมิใช่เป็นการค้ำประกันเพื่อกิจการเนื่องกันไปหลายคราวไม่มีจำกัดเวลาเป็นคุณแก่เจ้าหนี้ที่จำเลยที่ 3 ถึงที่ 10 ผู้ค้ำประกันจะใช้สิทธิบอกเลิกการค้ำประกันเพื่อคราวอันเป็นอนาคตได้ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 699 สัญญาค้ำประกันจึงยังไม่ระงับจำเลยที่ 3 ถึงที่ 10 ยังไม่หลุดพ้นจากความรับผิดตามสัญญาค้ำประกัน
จำเลยที่ 1 ได้ทำสัญญาจำนองที่ดินไว้แก่โจทก์ โดยมีจำเลยที่ 3ถึงที่ 10 ทำสัญญาค้ำประกันหนี้ของจำเลยที่ 1 ต่อโจทก์ด้วย สัญญาค้ำประกันระบุว่าผู้ค้ำประกันยอมสละที่จะต่อสู้ให้โจทก์บังคับเอาชำระหนี้จากทรัพย์สินของลูกค้าก่อน ดังนั้นจำเลยที่ 3 ถึงที่ 10 จึงไม่อาจยกข้อต่อสู้ดังกล่าวขึ้นอ้างได้โจทก์จึงมีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 3 ถึงที่ 10 ได้โดยไม่ต้องฟ้องบังคับจำนองจากจำเลยที่ 1 ก่อน
โจทก์คิดดอกเบี้ยจากจำเลยที่ 1 จากยอดหนี้เงินกู้เบิกเงินเกินบัญชีตามบัญชีกระแสรายวัน โดยคิดอัตราดอกเบี้ยตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยตามสัญญาเบิกเงินเกินบัญชี แสดงว่าโจทก์ได้มีการเปลี่ยนแปลงและปรับอัตราดอกเบี้ยสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยตามข้อตกลงในสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีตลอดมาโดยไม่ปรากฏว่าจำเลยที่ 1 ตกลงให้โจทก์ปรับอัตราดอกเบี้ยให้สูงขึ้นตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยได้ และยอดหนี้ที่โจทก์ฟ้องก็เป็นยอดหนี้ที่โจทก์คิดมาจากบัญชีกระแสรายวันภายหลังที่หักทอนบัญชีกันแล้ว ยอดหนี้ดังกล่าวจึงเป็นยอดหนี้ที่คิดดอกเบี้ยมาไม่ถูกต้องตามกฎหมาย เพราะโจทก์คิดดอกเบี้ยสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยที่ได้ตกลงกันไว้ตามสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีเป็นอย่างมาก ทั้งเป็นการคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นติดต่อกันตลอดมา จำเลยที่ 1 ได้สั่งจ่ายเช็คหลายพันฉบับและโจทก์จ่ายเงินเกินบัญชีให้ไปและมีรายการที่จำเลยที่ 1 นำเงินเข้าบัญชีเพื่อหักทอนหนี้สินอีกหลายพันรายการ ยากที่ศาลฎีกาจะคิดต้นเงินและดอกเบี้ยที่ถูกต้องให้โจทก์ได้ซึ่งเป็นหน้าที่ของโจทก์ที่จะต้องคิดยอดหนี้มาให้ถูกต้อง ศาลฎีกาไม่มีหน้าที่ต้องคิดยอดหนี้ที่ถูกต้องตามบัญชีกระแสรายวันดังกล่าวให้โจทก์ ดังนี้จึงต้องยกฟ้องโดยไม่ตัดสิทธิโจทก์ที่นำคำฟ้องมายื่นใหม่ภายใต้บังคับแห่งบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยอายุความ