พบผลลัพธ์ทั้งหมด 45 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 8747/2550
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมมีผลบังคับใช้ สติสัมปชัญญะผู้ทำพินัยกรรมสำคัญกว่าสถานที่ทำพินัยกรรม
สถานที่ทำพินัยกรรมไม่ใช่ข้อสาระสำคัญของแบบแห่งพินัยกรรมซึ่งจำต้องระบุไว้แต่อย่างใด ดังนั้น การที่ระบุสถานที่ทำพินัยกรรมผิดจากความเป็นจริงไม่ทำให้พินัยกรรมต้องเสียไปแต่อย่างใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6595/2538 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมไม่สมบูรณ์และสิทธิของผู้จัดการมรดก
พินัยกรรมไม่ลงวัน เดือน ปี ในการทำพินัยกรรมจึงมิได้ทำตามแบบที่กฎหมายบัญญัติไว้ ย่อมเป็นโมฆะตาม ป.พ.พ. มาตรา 1705 ทรัพย์มรดกของผู้ตายจึงตกได้แก่ทายาทโดยธรรมของผู้ตายเสมือนหนึ่งมิได้มีการทำพินัยกรรมไว้เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่า ท.บิดาผู้คัดค้านที่ 1 เป็นบุตรของผู้ตายได้ตายก่อนผู้ตายผู้คัดค้านที่ 1 ย่อมเป็นผู้มีสิทธิได้รับทรัพย์มรดกแทนที่บิดา จึงเป็นผู้มีส่วนได้เสีย มีสิทธิร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกผู้ตายได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1711 และ 1713 ดังนั้นเมื่อศาลมีคำสั่งแต่งตั้งผู้คัดค้านที่ 1 เป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายแล้ว แม้ข้อเท็จจริงจะฟังได้ว่าเจ้ามรดกได้ทำพินัยกรรมทรัพย์มรดกให้แก่ผู้คัดค้านที่ 2 แต่ผู้เดียวก็ตามก็ยังไม่มีเหตุที่ศาลจะมีคำสั่งเพิกถอนผู้คัดค้านที่ 1 จากการเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายตาม ป.พ.พ. มาตรา 1727
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6595/2538 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมไม่สมบูรณ์ตามกฎหมาย ทายาทโดยธรรมมีสิทธิรับมรดก ผู้จัดการมรดก
พินัยกรรมไม่ลงวัน เดือน ปี ในการทำพินัยกรรมจึงมิได้ทำตามแบบที่กฎหมายบัญญัติไว้ ย่อมเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1705 ทรัพย์มรดกของผู้ตายจึงตกได้แก่ทายาทโดยธรรมของผู้ตายเสมือนหนึ่งมิได้มีการทำพินัยกรรมไว้ เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่า ท.บิดาผู้คัดค้านที่ 1 เป็นบุตรของผู้ตายได้ตายก่อนผู้ตาย ผู้คัดค้านที่ 1 ย่อมเป็นผู้มีสิทธิได้รับทรัพย์มรดกแทนที่บิดา จึงเป็นผู้มีส่วนได้เสีย มีสิทธิร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกผู้ตายได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1711 และ 1713ดังนั้น เมื่อศาลมีคำสั่งแต่งตั้งผู้คัดค้านที่ 1 เป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายแล้ว แม้ข้อเท็จจริงจะฟังได้ว่าเจ้าของมรดกได้ทำพินัยกรรมทรัพย์มรดกให้แก่ผู้คัดค้านที่ 2 แต่ผู้เดียวก็ตามก็ยังไม่มีเหตุที่ศาลจะมีคำสั่งเพิกถอนผู้คัดค้านที่ 1 จากการเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1727
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6595/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมไม่ลงวันเดือนปีเป็นโมฆะ ทายาทโดยธรรมมีสิทธิรับมรดก ผู้จัดการมรดกชอบด้วยกฎหมาย
พินัยกรรมไม่ลงวันเดือนปีในการทำพินัยกรรมจึงมิได้ทำตามแบบที่กฎหมายบัญญัติไว้ย่อมเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1705ทรัพย์มรดกของผู้ตายจึงตกได้แก่ทายาทโดยธรรมของผู้ตายเสมือนหนึ่งมิได้มีการทำพินัยกรรมไว้เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่าท.บิดาผู้คัดค้านที่1เป็นบุตรของผู้ตายได้ตายก่อนผู้ตายผู้คัดค้านที่1ย่อมเป็นผู้มีสิทธิได้รับทรัพย์มรดกแทนที่บิดาจึงเป็นผู้มีส่วนได้เสียมีสิทธิร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกผู้ตายได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1711และ1713ดังนั้นเมื่อศาลมีคำสั่งแต่งตั้งผู้คัดค้านที่1เป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายแล้วแม้ข้อเท็จจริงจะฟังได้ว่าเจ้าของมรดกได้ทำพินัยกรรมทรัพย์มรดกให้แก่ผู้คัดค้านที่2แต่ผู้เดียวก็ตามก็ยังไม่มีเหตุที่ศาลจะมีคำสั่งเพิกถอนผู้คัดค้านที่1จากการเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1727
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6595/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมไม่ลงวันเดือนปีเป็นโมฆะ ทายาทโดยธรรมมีสิทธิรับมรดก ผู้จัดการมรดกเดิมไม่ต้องถูกเพิกถอน
พินัยกรรมไม่ลงวันเดือนปีในการทำพินัยกรรมจึงมิได้ทำตามแบบที่กฎหมายบัญญัติไว้ย่อมเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1705ทรัพย์มรดกของผู้ตายจึงตกได้แก่ทายาทโดยธรรมของผู้ตายเสมือนหนึ่งมิได้มีการทำพินัยกรรมไว้เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่าท.บิดาผู้คัดค้านที่1เป็นบุตรของผู้ตายได้ตายก่อนผู้ตายผู้คัดค้านที่1ย่อมเป็นผู้มีสิทธิได้รับทรัพย์มรดกแทนที่บิดาจึงเป็นผู้มีส่วนได้เสียมีสิทธิร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกผู้ตายได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1711และ1713ดังนั้นเมื่อศาลมีคำสั่งแต่งตั้งผู้คัดค้านที่1เป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายแล้วแม้ข้อเท็จจริงจะฟังได้ว่าเจ้ามรดกได้ทำพินัยกรรมทรัพย์มรดกให้แก่ผู้คัดค้านที่2แต่ผู้เดียวก็ตามก็ยังไม่มีเหตุที่ศาลจะมีคำสั่งเพิกถอนผู้คัดค้านที่1จากการเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1727
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1241/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมสมบูรณ์แม้ไม่เป็นเอกสารฝ่ายเมือง, อายุความ, และสินสมรส
เจ้ามรดกมีเจตนาจะทำพินัยกรรมเป็นแบบเอกสารฝ่ายเมืองแต่ไม่ได้ไปทำต่อกรมการอำเภอ จึงไม่สมบูรณ์เป็นพินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมืองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1658 แต่พินัยกรรมดังกล่าวเจ้ามรดกเป็นผู้เขียนขึ้นเองทั้งฉบับ จึงมีผลใช้บังคับได้ตามมาตรา 1657 หากเจ้ามรดกไม่ประสงค์ให้พินัยกรรมมีผลบังคับได้ต่อไป จะต้องเพิกถอนเสียโดยการทำลายหรือขีดฆ่าเสียด้วยความตั้งใจตามมาตรา 1695 แม้เจ้ามรดกจะได้พูดสั่งเสียต่อหน้าญาติผู้ใหญ่หลายคนเป็นทำนองเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อกำหนดในพินัยกรรม แต่ไม่มีการบันทึกและลงลายมือชื่อให้ถูกต้องสมบูรณ์เป็นพินัยกรรมแบบใดแบบหนึ่งตามมาตรา1656 ถึงมาตรา 1669 จึงไม่มีผลเปลี่ยนแปลงแก้ไขพินัยกรรม
การที่จำเลยตกลงแบ่งที่นา บ้านและยุ้งข้าวพิพาทให้แก่โจทก์ตามพินัยกรรมแล้ว เพิ่งกลับใจไม่ยอมโอนให้ในภายหลัง ย่อมถือได้ว่าจำเลยได้ละเสียแล้วซึ่งประโยชน์แห่งอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 192 แม้โจทก์จะฟ้องคดีภายหลังเจ้ามรดกถึงแก่กรรมแล้วเกิน 1 ปี คดีก็ไม่ขาดอายุความ
บ้านและยุ้งข้าวพิพาทเป็นของเจ้ามรดกมีมาก่อนแต่งงานกับจำเลยจึงมิใช่สินสมรสของจำเลยกับเจ้ามรดก.
การที่จำเลยตกลงแบ่งที่นา บ้านและยุ้งข้าวพิพาทให้แก่โจทก์ตามพินัยกรรมแล้ว เพิ่งกลับใจไม่ยอมโอนให้ในภายหลัง ย่อมถือได้ว่าจำเลยได้ละเสียแล้วซึ่งประโยชน์แห่งอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 192 แม้โจทก์จะฟ้องคดีภายหลังเจ้ามรดกถึงแก่กรรมแล้วเกิน 1 ปี คดีก็ไม่ขาดอายุความ
บ้านและยุ้งข้าวพิพาทเป็นของเจ้ามรดกมีมาก่อนแต่งงานกับจำเลยจึงมิใช่สินสมรสของจำเลยกับเจ้ามรดก.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1241/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมไม่สมบูรณ์แต่ใช้บังคับได้ อายุความ และสินสมรส
เจ้ามรดกมีเจตนาจะทำพินัยกรรมเป็นแบบเอกสารฝ่ายเมืองแต่ไม่ได้ไปทำต่อกรมการอำเภอจึงไม่สมบูรณ์เป็นพินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมืองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1658แต่พินัยกรรมดังกล่าวเจ้ามรดกเป็นผู้เขียนขึ้นเองทั้งฉบับจึงมีผลใช้บังคับได้ตามมาตรา1657หากเจ้ามรดกไม่ประสงค์ให้พินัยกรรมมีผลบังคับได้ต่อไปจะต้องเพิกถอนเสียโดยการทำลายหรือขีดฆ่าเสียด้วยความตั้งใจตามมาตรา1695แม้เจ้ามรดกจะได้พูดสั่งเสียต่อหน้าญาติผู้ใหญ่หลายคนเป็นทำนองเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อกำหนดในพินัยกรรมแต่ไม่มีการบันทึกและลงลายมือชื่อให้ถูกต้องสมบูรณ์เป็นพินัยกรรมแบบใดแบบหนึ่งตามมาตรา1656ถึงมาตรา1669จึงไม่มีผลเปลี่ยนแปลงแก้ไขพินัยกรรม การที่จำเลยตกลงแบ่งที่นาบ้านและยุ้งข้าวพิพาทให้แก่โจทก์ตามพินัยกรรมแล้วเพิ่งกลับใจไม่ยอมโอนให้ในภายหลังย่อมถือได้ว่าจำเลยได้ละเสียแล้วซึ่งประโยชน์แห่งอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา192แม้โจทก์จะฟ้องคดีภายหลังเจ้ามรดกถึงแก่กรรมแล้วเกิน1ปีคดีก็ไม่ขาดอายุความ บ้านและยุ้งข้าวพิพาทเป็นของเจ้ามรดกมีมาก่อนแต่งงานกับจำเลยจึงมิใช่สินสมรสของจำเลยกับเจ้ามรดก.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2861/2523 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมโดยพระบรมราชโองการมีผลผูกพัน แม้เจ้ามรดกมิได้ลงนาม
พระบรมราชโองการของพระมหากษัตริย์สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชเป็นกฎหมาย
เจ้ามรดกร่างพินัยกรรมไว้แล้ว แต่ยังมิได้ลงพระนาม เพราะสิ้นพระชนม์เสียก่อน ต่อมาภายหลังได้มีพระบรมราชโองการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชการที่ 6 โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ร่างพินัยกรรมนั้นเป็นพินัยกรรมตามกฎหมายได้ร่างพินัยกรรมดังกล่าวย่อมมีผลเป็นพินัยกรรมใช้บังคับได้ตามกฎหมาย
เจ้ามรดกร่างพินัยกรรมไว้แล้ว แต่ยังมิได้ลงพระนาม เพราะสิ้นพระชนม์เสียก่อน ต่อมาภายหลังได้มีพระบรมราชโองการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชการที่ 6 โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ร่างพินัยกรรมนั้นเป็นพินัยกรรมตามกฎหมายได้ร่างพินัยกรรมดังกล่าวย่อมมีผลเป็นพินัยกรรมใช้บังคับได้ตามกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2861/2523
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พระบรมราชโองการเป็นพินัยกรรมได้ แม้เจ้ามรดกมิได้ลงนามเอง สิทธิในทรัพย์มรดกตามพินัยกรรม
พระบรมราชโองการของพระมหากษัตริย์สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชเป็นกฎหมาย
เจ้ามรดกร่างพินัยกรรมไว้แล้ว แต่ยังมิได้ลงพระนามเพราะสิ้นพระชนม์เสียก่อน ต่อมาภายหลังได้มีพระบรมราชโองการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ร่างพินัยกรรมนั้นเป็นพินัยกรรมตามกฎหมายได้ร่างพินัยกรรมดังกล่าวย่อมมีผลเป็นพินัยกรรมใช้บังคับได้ตามกฎหมาย
เจ้ามรดกร่างพินัยกรรมไว้แล้ว แต่ยังมิได้ลงพระนามเพราะสิ้นพระชนม์เสียก่อน ต่อมาภายหลังได้มีพระบรมราชโองการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ร่างพินัยกรรมนั้นเป็นพินัยกรรมตามกฎหมายได้ร่างพินัยกรรมดังกล่าวย่อมมีผลเป็นพินัยกรรมใช้บังคับได้ตามกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 126/2518 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมแบบเอกสารลับ: วันเดือนปีไม่จำเป็นต้องระบุในพินัยกรรม หากปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย
พินัยกรรมแบบเอกสารลับนั้น ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1660 หาได้บังคับให้ผู้ทำพินัยกรรมต้องลงวันเดือนปีที่ทำพินัยกรรมในพินัยกรรมไม่ แต่เมื่อได้ปฏิบัติการถูกต้องครบถ้วนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1660 บัญญัติไว้ทุกประการแล้วก็เป็นพินัยกรรมที่สมบูรณ์ตามกฎหมายใช้บังคับได้