พบผลลัพธ์ทั้งหมด 35 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5204/2538 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจประเมินภาษีเมื่อผู้เสียภาษียื่นรายการล่าช้า หรือไม่ยื่นรายการตามกำหนด
เมื่อมีเหตุใดเหตุหนึ่งใน 3 เหตุตามประมวลรัษฎากร มาตรา71 (1) เจ้าพนักงานประเมินก็มีอำนาจประเมินภาษีได้แล้ว ไม่จำเป็นต้องมีเหตุครบทั้ง 3 ประการ
แม้เจ้าพนักงานประเมินของจำเลยจะได้เรียกให้จำเลยส่งเอกสารต่าง ๆ ไปเพื่อตรวจสอบ แต่เมื่อได้ความแน่ชัดแล้วว่า โจทก์ไม่ได้ยื่นรายการที่จำเป็นต้องใช้ในการคำนวณภาษี อันเป็นเหตุหนึ่งที่เจ้าพนักงานประเมินของจำเลยจะใช้อำนาจประเมินภาษีตามประมวลรัษฎากร มาตรา 71 (1) ได้แล้ว ก็หาจำเป็นที่เจ้าพนักงานประเมินของจำเลยจะต้องทำการตรวจสอบไต่สวนหาความจริงจากเอกสารที่โจทก์ส่งมอบ การส่งมอบเอกสารของโจทก์ไม่ทำให้อำนาจการประเมินของเจ้าพนักงานดังกล่าวหมดสิ้นไป
โจทก์มีหน้าที่ต้องยื่นรายการซึ่งจำเป็นต้องใช้ในการคำนวณภาษีภายในหนึ่งร้อยห้าสิบวันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี หากไม่ยื่นภายในกำหนดเจ้าพนักงานประเมินมีอำนาจประเมินตามประมวลรัษฎากร มาตรา71 (1) ทันที โจทก์ยื่นรายการเกินกำหนดเวลาไป เจ้าพนักงานประเมินของจำเลยจึงมีอำนาจประเมินได้ตามมาตรา 71 (1) การยื่นรายการของโจทก์ในภายหลังไม่อาจลบล้างอำนาจของเจ้าพนักงานประเมินของจำเลยได้
ภ.ง.ด.50 หรือแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามมาตรา 68 และมาตรา 69 แห่งประมวลรัษฎากร ก็คือแบบการยื่นรายการที่จำเป็นต้องใช้ในการคำนวณภาษีที่อธิบดีกำหนดขึ้นตามมาตรา 68 และ69 ซึ่งเป็นแบบการยื่นรายการที่กล่าวไว้ในมาตรา 71 (1) นั้นเอง
แม้เจ้าพนักงานประเมินของจำเลยจะได้เรียกให้จำเลยส่งเอกสารต่าง ๆ ไปเพื่อตรวจสอบ แต่เมื่อได้ความแน่ชัดแล้วว่า โจทก์ไม่ได้ยื่นรายการที่จำเป็นต้องใช้ในการคำนวณภาษี อันเป็นเหตุหนึ่งที่เจ้าพนักงานประเมินของจำเลยจะใช้อำนาจประเมินภาษีตามประมวลรัษฎากร มาตรา 71 (1) ได้แล้ว ก็หาจำเป็นที่เจ้าพนักงานประเมินของจำเลยจะต้องทำการตรวจสอบไต่สวนหาความจริงจากเอกสารที่โจทก์ส่งมอบ การส่งมอบเอกสารของโจทก์ไม่ทำให้อำนาจการประเมินของเจ้าพนักงานดังกล่าวหมดสิ้นไป
โจทก์มีหน้าที่ต้องยื่นรายการซึ่งจำเป็นต้องใช้ในการคำนวณภาษีภายในหนึ่งร้อยห้าสิบวันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี หากไม่ยื่นภายในกำหนดเจ้าพนักงานประเมินมีอำนาจประเมินตามประมวลรัษฎากร มาตรา71 (1) ทันที โจทก์ยื่นรายการเกินกำหนดเวลาไป เจ้าพนักงานประเมินของจำเลยจึงมีอำนาจประเมินได้ตามมาตรา 71 (1) การยื่นรายการของโจทก์ในภายหลังไม่อาจลบล้างอำนาจของเจ้าพนักงานประเมินของจำเลยได้
ภ.ง.ด.50 หรือแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามมาตรา 68 และมาตรา 69 แห่งประมวลรัษฎากร ก็คือแบบการยื่นรายการที่จำเป็นต้องใช้ในการคำนวณภาษีที่อธิบดีกำหนดขึ้นตามมาตรา 68 และ69 ซึ่งเป็นแบบการยื่นรายการที่กล่าวไว้ในมาตรา 71 (1) นั้นเอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5204/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจประเมินภาษีตามมาตรา 71(1) ประมวลรัษฎากร: ไม่ยื่นแบบแสดงรายการเป็นเหตุเพียงพอ แม้มีการส่งเอกสารภายหลัง
เมื่อมีเหตุใดเหตุหนึ่งใน3เหตุตามประมวลรัษฎากรมาตรา71(1)เจ้าพนักงานประเมินก็มีอำนาจประเมินภาษีได้แล้วไม่จำเป็นต้องมีเหตุครบทั้ง3ประการ แม้เจ้าพนักงานประเมินของจำเลยจะได้เรียกให้จำเลยส่งเอกสารต่างๆไปเพื่อตรวจสอบแต่เมื่อได้ความแน่ชัดแจ้งว่าโจทก์ไม่ได้ยื่นรายการที่จำเป็นต้องใช้ในการคำนวณภาษีอันเป็นเหตุหนึ่งที่เจ้าพนักงานประเมินของจำเลยจะใช้อำนาจประเมินภาษีตามประมวลรัษฎากรมาตรา71(1)ได้แล้วก็หาจำเป็นที่เจ้าพนักงานประเมินของจำเลยจะต้องทำการตรวจสอบไต่สวนหาความจริงจากเอกสารที่โจทก์ส่งมอบการส่งมอบเอกสารของโจทก์ไม่ทำให้อำนาจการประเมินของเจ้าพนักงานดังกล่าวหมดสิ้นไป โจทก์มีหน้าที่ต้องยื่นรายการซึ่งจำเป็นต้องใช้ในการคำนวณภาษีภายในหนึ่งร้องห้าสิบวันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีหากไม่ยื่นภายในกำหนดเจ้าพนักงานประเมินมีอำนาจประเมินตามประมวลรัษฎากรมาตรา71(1)ทันทีโจทก์ยื่นรายการเกินกำหนดเวลาไปเจ้าพนักงานประเมินของจำเลยจึงมีอำนาจประเมินได้ตามมาตรา71(1)การยื่นรายการของโจทก์ในภายหลังไม่อาจลงล้างอำนาจของเจ้าพนักงานประเมินของจำเลยได้ ภ.ง.ด.50หรือแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามมาตรา68และมาตรา69แห่งประมวลรัษฎากรก็คือแบบการยื่นรายการที่จำเป็นต้องใช้ในการคำนวณภาษีที่อธิบดีกำหนดขึ้นตามมาตรา68และ69ซึ่งเป็นแบบการยื่นรายการที่กล่าวไว้ในมาตรา71(1)นั้นเอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2195/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกห้างหุ้นส่วนและกำหนดวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี เพื่อการประเมินภาษีเงินได้นิติบุคคล
ในกรณีที่ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเลิกกันเพื่อประโยชน์ในการคำนวณภาษีประมวลรัษฎากรมาตรา72วรรคสองให้ถือว่าวันที่เจ้าพนักงานรับจดทะเบียนเลิกเป็นวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีดังนั้นเมื่อเจ้าพนักงานจดทะเบียนเลิกห้างโจทก์ในวันที่10เมษายน2524จึงต้องถือว่าวันที่10เมษายน2524เป็นวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี โจทก์ไม่ยื่นรายการซึ่งจำเป็นต้องใช้ในการคำนวณภาษีภายใน150วันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีตามที่บัญญัติไว้ในประมวลรัษฎากรมาตรา69เจ้าพนักงานประเมินย่อมมีอำนาจตามประมวลรัษฎากรมาตรา71(1)ที่จะประเมินภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตราร้อยละ5ของยอดรายรับก่อนหักรายจ่ายใดๆแม้โจทก์จะส่งมอบบัญชีและเอกสารในภายหลังก็ไม่ทำให้อำนาจของเจ้าพนักงานประเมินดังกล่าวหมดสิ้นไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2195/2532 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษีหลังเลิกห้างหุ้นส่วน: วันสุดท้ายรอบระยะเวลาบัญชีตามกฎหมายภาษีอากร
ในกรณีที่ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเลิกกันเพื่อประโยชน์ในการคำนวณภาษี ป.รัษฎากรมาตรา 72 วรรคสอง ให้ถือว่าวันที่เจ้าพนักงานรับจดทะเบียนเลิกเป็นวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี ดังนั้น เมื่อเจ้าพนักงานจดทะเบียนเลิกห้างโจทก์ในวันที่ 10 เมษายน 2524 จึงต้องถือว่าวันที่ 10เมษายน 2524 เป็นวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี.
โจทก์ไม่ยื่นรายการซึ่งจำเป็นต้องใช้ในการคำนวณภาษีภายใน 150 วัน นับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีตามที่บัญญัติไว้ใน ป. รัษฎากร มาตรา 69 เจ้าพนักงานประเมินย่อมมีอำนาจตาม มาตรา 71(1) ที่จะประเมินภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตราร้อยละ 5 ของยอด รายรับก่อนหักรายจ่ายใด ๆแม้โจทก์จะส่งมอบบัญชีและเอกสารในภายหลัง ก็ไม่ทำให้อำนาจของเจ้าพนักงานประเมินดังกล่าวหมดสิ้นไป.
โจทก์ไม่ยื่นรายการซึ่งจำเป็นต้องใช้ในการคำนวณภาษีภายใน 150 วัน นับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีตามที่บัญญัติไว้ใน ป. รัษฎากร มาตรา 69 เจ้าพนักงานประเมินย่อมมีอำนาจตาม มาตรา 71(1) ที่จะประเมินภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตราร้อยละ 5 ของยอด รายรับก่อนหักรายจ่ายใด ๆแม้โจทก์จะส่งมอบบัญชีและเอกสารในภายหลัง ก็ไม่ทำให้อำนาจของเจ้าพนักงานประเมินดังกล่าวหมดสิ้นไป.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2195/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกห้างหุ้นส่วนและผลกระทบต่อการประเมินภาษี: วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี
ในกรณีที่ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเลิกกัน เพื่อประโยชน์ในการคำนวณภาษี ประมวลรัษฎากร มาตรา 72 วรรคสอง ให้ถือว่าวันที่เจ้าพนักงานรับจดทะเบียนเลิกเป็นวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี ดังนั้น เมื่อเจ้าพนักงานจดทะเบียนเลิกห้างโจทก์ในวันที่ 10เมษายน 2524 จึงต้องถือว่าวันที่ 10 เมษายน 2524 เป็นวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี โจทก์ไม่ยื่นรายการซึ่งจำเป็นต้องใช้ในการคำนวณภาษีภายใน150 วัน นับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลรัษฎากร มาตรา 69 เจ้าพนักงานประเมินย่อมมีอำนาจตามประมวลรัษฎากร มาตรา 71(1) ที่จะประเมินภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตราร้อยละ 5 ของยอดรายรับก่อนหักรายจ่ายใด ๆ แม้โจทก์จะส่งมอบบัญชีและเอกสารในภายหลัง ก็ไม่ทำให้อำนาจของเจ้าพนักงานประเมินดังกล่าวหมดสิ้นไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2195/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลและการประเมินภาษี: วันเลิกห้างเป็นวันสิ้นรอบบัญชี เจ้าพนักงานประเมินภาษีได้แม้ส่งบัญชีช้า
ในกรณีที่ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเลิกกันเพื่อประโยชน์ในการคำนวณภาษีประมวลรัษฎากร มาตรา 72 วรรคสอง ให้ถือว่าวันที่เจ้าพนักงานรับจดทะเบียนเลิกเป็นวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีดังนั้น เมื่อเจ้าพนักงานจดทะเบียนเลิกห้างโจทก์ในวันที่10 เมษายน 2524 จึงต้อง ถือว่าวันที่ 10 เมษายน 2524 เป็นวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี โจทก์ไม่ยื่นรายการซึ่ง จำเป็นต้อง ใช้ ในการคำนวณภาษีภายใน150 วัน นับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี ตาม ที่บัญญัติไว้ในประมวลรัษฎากร มาตรา 69 เจ้าพนักงานประเมินย่อมมีอำนาจตามประมวลรัษฎากร มาตรา 71(1) ที่จะประเมินภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตราร้อยละ 5 ของยอด รายรับก่อนหักรายจ่ายใด ๆ แม้โจทก์จะส่งมอบบัญชีและเอกสารในภายหลัง ก็ไม่ทำให้อำนาจของเจ้าพนักงานประเมินดังกล่าวหมดสิ้นไป.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2195/2532 เวอร์ชัน 5 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษีเมื่อห้างหุ้นส่วนเลิกกิจการ: วันสุดท้ายรอบระยะเวลาบัญชีและการไม่ยื่นงบดุลตามกำหนด
ในกรณีที่ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเลิกกันเพื่อประโยชน์ในการคำนวณภาษีประมวลรัษฎากร มาตรา 72 วรรคสอง ให้ถือว่าวันที่เจ้าพนักงานรับจดทะเบียนเลิกเป็นวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีดังนั้น เมื่อเจ้าพนักงานจดทะเบียนเลิกห้างโจทก์ในวันที่ 10 เมษายน 2524 จึงต้อง ถือว่าวันที่ 10 เมษายน 2524 เป็นวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี
โจทก์ไม่ยื่นรายการซึ่งจำเป็นต้องใช้ในการคำนวณภาษีภายใน 150 วัน นับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลรัษฎากร มาตรา 69 เจ้าพนักงานประเมินย่อมมีอำนาจตามประมวลรัษฎากร มาตรา 71(1) ที่จะประเมินภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตราร้อยละ 5 ของยอดรายรับก่อนหักรายจ่ายใด ๆ แม้โจทก์จะส่งมอบบัญชีและเอกสารในภายหลัง ก็ไม่ทำให้อำนาจของเจ้าพนักงานประเมินดังกล่าวหมดสิ้นไป
โจทก์ไม่ยื่นรายการซึ่งจำเป็นต้องใช้ในการคำนวณภาษีภายใน 150 วัน นับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลรัษฎากร มาตรา 69 เจ้าพนักงานประเมินย่อมมีอำนาจตามประมวลรัษฎากร มาตรา 71(1) ที่จะประเมินภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตราร้อยละ 5 ของยอดรายรับก่อนหักรายจ่ายใด ๆ แม้โจทก์จะส่งมอบบัญชีและเอกสารในภายหลัง ก็ไม่ทำให้อำนาจของเจ้าพนักงานประเมินดังกล่าวหมดสิ้นไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1446/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขยายเวลาการยื่นภาษี, เหตุสุดวิสัย, ความรับผิดของผู้เสียภาษี, อำนาจประเมินภาษี
โจทก์ยื่นคำร้องขอขยายระยะเวลายื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลต่อกรมสรรพากรจำเลยที่ 1 การที่จำเลยที่ 1 ไม่แจ้งคำสั่งให้โจทก์ทราบ จะถือว่าจำเลยที่ 1 ได้อนุญาตให้โจทก์ขยายเวลาตามคำร้องของโจทก์โดยปริยายไม่ได้เพราะตามประมวลรัษฎากร มาตรา 3 อัฏฐ มิได้บัญญัติบังคับให้ต้องแจ้งคำสั่งให้ผู้ร้องทราบ เหมือนดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 65(ข)
การที่โจทก์ไม่สามารถยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลภายในกำหนดเวลาที่จำเลยที่ 1 อนุญาตให้ขยายเวลาโดยอ้างว่าผู้ตรวจสอบบัญชีของโจทก์ไม่ยอมรับรองบัญชีงบดุลซึ่งจะต้องยื่นพร้อมแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษี เนื่องจากสมุดบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชีอยู่ที่จำเลยที่ 1ผู้ตรวจสอบบัญชีของโจทก์ไม่สามารถตรวจสอบได้นั้น ไม่ใช่เป็นเหตุสุดวิสัยและไม่ใช่ความบกพร่องของพนักงานของจำเลยที่ 1แต่อย่างใด เพราะผู้ตรวจสอบบัญชีของโจทก์สามารถจะไปขออนุญาตตรวจสอบหรือขอถ่ายบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชี ณ ที่ทำการของจำเลยที่ 1 ได้
เมื่อโจทก์ไม่ยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลภายในกำหนดเวลาที่จำเลยที่ 1 ขยายให้ เจ้าพนักงานประเมินของจำเลยที่ 1จึงมีอำนาจทำการประเมินตามประมวลรัษฎากร มาตรา 71(1) ได้.
การที่โจทก์ไม่สามารถยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลภายในกำหนดเวลาที่จำเลยที่ 1 อนุญาตให้ขยายเวลาโดยอ้างว่าผู้ตรวจสอบบัญชีของโจทก์ไม่ยอมรับรองบัญชีงบดุลซึ่งจะต้องยื่นพร้อมแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษี เนื่องจากสมุดบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชีอยู่ที่จำเลยที่ 1ผู้ตรวจสอบบัญชีของโจทก์ไม่สามารถตรวจสอบได้นั้น ไม่ใช่เป็นเหตุสุดวิสัยและไม่ใช่ความบกพร่องของพนักงานของจำเลยที่ 1แต่อย่างใด เพราะผู้ตรวจสอบบัญชีของโจทก์สามารถจะไปขออนุญาตตรวจสอบหรือขอถ่ายบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชี ณ ที่ทำการของจำเลยที่ 1 ได้
เมื่อโจทก์ไม่ยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลภายในกำหนดเวลาที่จำเลยที่ 1 ขยายให้ เจ้าพนักงานประเมินของจำเลยที่ 1จึงมีอำนาจทำการประเมินตามประมวลรัษฎากร มาตรา 71(1) ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1446/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขยายเวลาการยื่นภาษี, เหตุสุดวิสัย, ความรับผิดของผู้เสียภาษี, และอำนาจการประเมินของเจ้าพนักงาน
โจทก์ยื่นคำร้องขอขยายระยะเวลายื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลต่อกรมสรรพากรจำเลยที่ 1 การที่จำเลยที่ 1 ไม่แจ้งคำสั่งให้โจทก์ทราบ จะถือว่าจำเลยที่ 1 ได้อนุญาตให้โจทก์ขยายเวลาตามคำร้องของโจทก์โดยปริยายไม่ได้ เพราะตามประมวลรัษฎากร มาตรา 3 อัฏฐ มิได้บัญญัติบังคับให้ต้องแจ้งคำสั่งให้ผู้ร้องทราบ เหมือนดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 65 (ข)
การที่โจทก์ไม่สามารถยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลภายในกำหนดเวลาที่จำเลยที่ 1 อนุญาตให้ขยายเวลาโดยอ้างว่าผู้ตรวจสอบบัญชีของโจทก์ไม่ยอมรับรองบัญชีงบดุลซึ่งจะต้องยื่นพร้อมแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษี เนื่องจากสมุดบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชีอยู่ที่จำเลยที่ 1 ผู้ตรวจสอบบัญชีของโจทก์ไม่สามารถตรวจสอบได้นั้น ไม่ใช่เป็นเหตุสุดวิสัยและไม่ใช่ความบกพร่องของพนักงานของจำเลยที่ 1 แต่อย่างใด เพราะผู้ตรวจสอบบัญชีของโจทก์สามารถจะไปขออนุญาตตรวจสอบหรือขอถ่ายบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชี ณ ที่ทำการของจำเลยที่ 1 ได้
เมื่อโจทก์ไม่ยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลภายในกำหนดเวลาที่จำเลยที่ 1 ขยายให้ เจ้าพนักงานประเมินของจำเลยที่ 1จึงมีอำนาจทำการประเมินตามประมวลรัษฎากร มาตรา 71 (1) ได้.
การที่โจทก์ไม่สามารถยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลภายในกำหนดเวลาที่จำเลยที่ 1 อนุญาตให้ขยายเวลาโดยอ้างว่าผู้ตรวจสอบบัญชีของโจทก์ไม่ยอมรับรองบัญชีงบดุลซึ่งจะต้องยื่นพร้อมแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษี เนื่องจากสมุดบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชีอยู่ที่จำเลยที่ 1 ผู้ตรวจสอบบัญชีของโจทก์ไม่สามารถตรวจสอบได้นั้น ไม่ใช่เป็นเหตุสุดวิสัยและไม่ใช่ความบกพร่องของพนักงานของจำเลยที่ 1 แต่อย่างใด เพราะผู้ตรวจสอบบัญชีของโจทก์สามารถจะไปขออนุญาตตรวจสอบหรือขอถ่ายบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชี ณ ที่ทำการของจำเลยที่ 1 ได้
เมื่อโจทก์ไม่ยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลภายในกำหนดเวลาที่จำเลยที่ 1 ขยายให้ เจ้าพนักงานประเมินของจำเลยที่ 1จึงมีอำนาจทำการประเมินตามประมวลรัษฎากร มาตรา 71 (1) ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1550/2522 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความภาษีอากร: การประเมิน การอุทธรณ์ และการฟ้องร้อง ส่งผลต่อการสะดุดหยุดของอายุความ
โจทก์ซึ่งเป็นนิติบุคคลยื่นรายการเสียภาษีเงินได้ไม่ถูกต้องตามความจริงหรือไม่บริบูรณ์ ทำให้จำนวนเงินค่าภาษีขาดไปต้องถือว่าหนี้ค่าภาษีที่ขาดไปนี้ได้ถึงกำหนดชำระแล้ว ตั้งแต่วันที่โจทก์ผู้เสียภาษีเงินได้มีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามที่บัญญัติไว้ในประมวลรัษฎากร มาตรา 65, 68 และ 69 คือภายใน 150 วัน นับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีแต่ละปี ภาษีรายพิพาทเป็นภาษีเงินได้สำหรับระยะเวลาบัญชีปี พ.ศ. 2495 ถึง 2500 ซึ่งถึงกำหนดชำระภายในวันที่ 30 พฤษภาคม 2496, 30 พฤษภาคม 2497, 30 พฤษภาคม 2498, 29 พฤษภาคม 2499, 30 พฤษภาคม 2500 และ 30 พฤษภาคม 2501 ตามลำดับ อายุความจึงเริ่มนับจากวันครบกำหนดชำระของแต่ละปีเป็นต้นไป เพราะเจ้าพนักงานประเมินของกรมสรรพากรจำเลยอาจใช้สิทธิเรียกร้องได้นับแต่วันนั้น เมื่อเจ้าพนักงานประเมินแจ้งคำสั่งประเมินให้โจทก์ชำระภาษีเงินได้เพิ่มเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2505 ซึ่งนับอายุความตั้งแต่วันที่เจ้าพนักงานประเมินอาจใช้สิทธิเรียกร้องให้โจทก์ชำระภาษีได้จนถึงวันที่เจ้าพนักงานประเมินแจ้งการประเมินแล้วยังไม่เกิน 10 ปี และการที่เจ้าพนักงานประเมินแจ้งคำสั่งประเมินดังกล่าว ถือได้ว่าเป็นการทำการอื่นใดอันนับว่าดีผลเป็นอย่างเดียวกับการฟ้องคดี เพื่อให้ใช้หนี้ตามที่เรียกร้องดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 173 เพราะตามประมวลรัษฎากร มาตรา 12 ถ้าผู้ต้องเสียภาษีไม่เสียภาษีอากรภายในเวลาที่กฎหมายกำหนด ให้ถือว่าเป็นภาษีอากรค้าง ซึ่งเจ้าพนักงานมีอำนาจที่จะสั่งยึด และขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ต้องเสียภาษี เพื่อนำเงินมาชำระค่าภาษีอากรค้างได้ โดยไม่ต้องนำคดีมาฟ้องต่อศาลดังนั้น การประเมินของเจ้าพนักงานประเมินยอมเป็นเหตุให้อายุความสุดุดหยุดลง ส่วนการที่โจทก์อุทธรณ์การประเมินต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ และได้รับแจ้งคำวินิจฉัยอุทธรณ์ เมื่อ 2 พฤศจิกายน 2515 นั้น คำวินิจฉัยอุทธรณ์ไม่ใช่คำสั่งประเมินเรียกเก็บภาษีเป็นเพียงข้อวินิจฉัยว่าการประเมินของเจ้าพนักงานประเมินถูกต้องหรือไม่เท่านั้น จะนับอายุความจากวันครบกำหนดชำระภาษีจนถึงวันที่โจทก์ได้รับแจ้งคำวินิจฉัยอุทธรณ์ว่าเกิน 10 ปี ขาดอายุความหาได้ไม่ และกรณีที่โจทก์อุทธรณ์การประเมินดังกล่าว ทั้งฟ้องคดีต่อศาลเป็นคดีนี้สืบเนื่องกันมา ถือได้ว่าเป็นเหตุให้อายุความสะดุดหยุดอยู่ตามนัยแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 175 ดังนั้น สิทธิเรียกร้องของกรมสรรพากรจำเลยที่ให้โจทก์ชำระภาษีเงินได้รายพิพาทจึงไม่ขาดอายุความตามมาตรา 167
เงินค่าภาษีที่โจทก์ชำระให้แก่กรมสรรพากรจำเลยไปตามที่เจ้าพนักงานประเมินได้ประเมินและกรมสรรพากรจำเลยไม่ยอมให้ทุเลาการชำระ ซึ่งฝ่ายจำเลยถือว่ามีสิทธิเรียกเก็บได้ตามกฎหมาย และโต้เถียงเช่นนั้นตลอดมา ย่อมไม่ใช่เรื่องที่จำเลยได้ทรัพย์มาโดยปราศจากมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ การที่โจทก์ฟ้องเรียกเงินค่าภาษีดังกล่าวคืน จึงไม่ใช่ฟ้องเรียกคืนในฐานลาภมิควรได้อันอยู่ในบังคับที่จะใช้อายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 419
โจทก์ได้เสียภาษีเพิ่มสำหรับรอบระยะบัญชี 2495 และ 2496 ตามคำสั่งของเจ้าพนักงานประเมิน โดยจำเลยไม่ยอมให้ทุเลาการชำระ แต่ต่อมาคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ให้โจทก์เสียภาษีเพิ่มน้อยกว่าที่ชำระไปแล้ว โจทก์จึงชำระภาษีเกินกว่าคำวินิจฉัยอุทธรณ์ไปเป็นเงิน 727,340.86 บาท ดังนี้ กรมสรรพากรจำเลยต้องคืนเงินภาษีจำนวนที่โจทก์ชำระเกินไปดังกล่าวให้โจทก์คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ไม่มีอำนาจที่จะสั่งให้นำภาษีที่โจทก์ชำระเกินไว้เป็นเครดิตหักออกจากภาษีที่โจทก์จะต้องชำระสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีปี 2497 และ 2498 ได้ เพราะประมวลรัษฎากรไม่ได้บัญญัติให้อำนาจไว้เช่นที่บัญญัติในมาตรา 18 ทวิ, 60 ทวิ คือให้อำนาจเจ้าพนักงานประเมินเรียกเก็บภาษีก่อนถึงกำหนดเวลายื่นรายการและภาษีที่เรียกเก็บ
ให้ถือเป็นเครดิตของผู้ต้องเสียภาษีในการคำนวณภาษี และการที่คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์แจ้งคำวินิจฉัยอุทธรณ์ให้โจทก์ทราบ ถือไม่ได้ว่าเป็นการแสดงเจตนาหักกลบลบหนี้ ทั้งสิทธิเรียกร้องในหนี้ยังมีข้อต่อสู้อยู่จะหักกลบลบหนี้กันไม่ได้ จำเลยจึงต้องคืนเงินค่าภาษีดังกล่าวให้โจทก์พร้อมด้วยดอกเบี้ยในอัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 224
เงินค่าภาษีที่โจทก์ชำระให้แก่กรมสรรพากรจำเลยไปตามที่เจ้าพนักงานประเมินได้ประเมินและกรมสรรพากรจำเลยไม่ยอมให้ทุเลาการชำระ ซึ่งฝ่ายจำเลยถือว่ามีสิทธิเรียกเก็บได้ตามกฎหมาย และโต้เถียงเช่นนั้นตลอดมา ย่อมไม่ใช่เรื่องที่จำเลยได้ทรัพย์มาโดยปราศจากมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ การที่โจทก์ฟ้องเรียกเงินค่าภาษีดังกล่าวคืน จึงไม่ใช่ฟ้องเรียกคืนในฐานลาภมิควรได้อันอยู่ในบังคับที่จะใช้อายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 419
โจทก์ได้เสียภาษีเพิ่มสำหรับรอบระยะบัญชี 2495 และ 2496 ตามคำสั่งของเจ้าพนักงานประเมิน โดยจำเลยไม่ยอมให้ทุเลาการชำระ แต่ต่อมาคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ให้โจทก์เสียภาษีเพิ่มน้อยกว่าที่ชำระไปแล้ว โจทก์จึงชำระภาษีเกินกว่าคำวินิจฉัยอุทธรณ์ไปเป็นเงิน 727,340.86 บาท ดังนี้ กรมสรรพากรจำเลยต้องคืนเงินภาษีจำนวนที่โจทก์ชำระเกินไปดังกล่าวให้โจทก์คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ไม่มีอำนาจที่จะสั่งให้นำภาษีที่โจทก์ชำระเกินไว้เป็นเครดิตหักออกจากภาษีที่โจทก์จะต้องชำระสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีปี 2497 และ 2498 ได้ เพราะประมวลรัษฎากรไม่ได้บัญญัติให้อำนาจไว้เช่นที่บัญญัติในมาตรา 18 ทวิ, 60 ทวิ คือให้อำนาจเจ้าพนักงานประเมินเรียกเก็บภาษีก่อนถึงกำหนดเวลายื่นรายการและภาษีที่เรียกเก็บ
ให้ถือเป็นเครดิตของผู้ต้องเสียภาษีในการคำนวณภาษี และการที่คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์แจ้งคำวินิจฉัยอุทธรณ์ให้โจทก์ทราบ ถือไม่ได้ว่าเป็นการแสดงเจตนาหักกลบลบหนี้ ทั้งสิทธิเรียกร้องในหนี้ยังมีข้อต่อสู้อยู่จะหักกลบลบหนี้กันไม่ได้ จำเลยจึงต้องคืนเงินค่าภาษีดังกล่าวให้โจทก์พร้อมด้วยดอกเบี้ยในอัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 224