พบผลลัพธ์ทั้งหมด 160 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2241/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ชุลมุนวิวาททำให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย การเข้าร่วมการต่อสู้เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
ใช้สิ่งของขว้างปากับกลุ่มคนที่ทะเลาะวิวาทกัน เป็นการเข้าร่วมในการชุลมุนวิวาทด้วย เมื่อเป็นเหตุให้มีคนตาย เป็นความผิดตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 294
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2942/2519
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ทำร้ายจนถึงแก่ความตาย: เจตนาฆ่าและเหตุชุลมุน
จำเลยกับพวกอีก 3 คน กลุ้มรุมทำร้ายผู้ตายฝ่ายเดียว โดยผู้ตายมิได้สมัครใจเข้าต่อสู้ด้วย การที่ผู้ตายต่อสู้ปัดป้องจึงมิใช่การร่วมชุลมุนต่อสู้ระหว่างบุคคลตั้งแต่สามคนขึ้นไปตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 294
ผู้ตายมีบาดแผลถูกแทงเพียงแผลเดียว แม้จะถูกที่สำคัญ แต่เป็นบาดแผลที่เกิดขึ้นขณะชุลมุนกัน ไม่รู้ว่าใครแทงและแทงในลักษณะใด (สาเหตุโกรธเคืองกันมาก่อนเป็นเพียงสาเหตุที่จำเลยกับพวกเข้าทำร้ายผู้ตายเท่านั้น) พฤติการณ์ดังกล่าวไม่พอฟังว่าจำเลยกระทำไปโดยเจตนาฆ่าผู้ตาย จำเลยคงมีความผิดฐานร่วมกันทำร้ายผู้อื่นจนเป็นเหตุให้ผู้นั้นถึงแก่ความตายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 290,83
ผู้ตายมีบาดแผลถูกแทงเพียงแผลเดียว แม้จะถูกที่สำคัญ แต่เป็นบาดแผลที่เกิดขึ้นขณะชุลมุนกัน ไม่รู้ว่าใครแทงและแทงในลักษณะใด (สาเหตุโกรธเคืองกันมาก่อนเป็นเพียงสาเหตุที่จำเลยกับพวกเข้าทำร้ายผู้ตายเท่านั้น) พฤติการณ์ดังกล่าวไม่พอฟังว่าจำเลยกระทำไปโดยเจตนาฆ่าผู้ตาย จำเลยคงมีความผิดฐานร่วมกันทำร้ายผู้อื่นจนเป็นเหตุให้ผู้นั้นถึงแก่ความตายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 290,83
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1064/2519
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การทำร้ายผู้อื่นจนถึงแก่ความตายในเหตุชุลมุน ศาลพิจารณาเจตนาและแก้ไขบทลงโทษ
จำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 3 ฝ่ายหนึ่ง กับจำเลยที่ 2 และผู้ตายอีกฝ่ายหนึ่งชุลมุนต่อสู้กัน จำเลยที่ 2 กับผู้ตายชกจำเลยที่ 1 ก่อน แล้วจำเลยที่ 2 ใช้เหล็กขูดชารฟท์ไล่แทงจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 3 ใช้มีดปลายแหลมแทงผู้ตายถูกที่ฝ่ามือ จำเลยที่ 1 จึงคว้าไม้เหลี่ยมกว้าง 3 นิ้วฟุต ยาวประมาณ 1 แขนตีผู้ตาย ดังนี้ เห็นว่าการที่จำเลยที่ 1 ให้ไม้ตีผู้ตายไปในขณะที่ชุลมุนต่อสู้กัน โดยคว้าไม้ซึ่งวางอยู่ตรงนั้นเองตีผู้ตายไปโดยไม่ได้เลือกตี และตีเพียงทีเดียว พฤติการณ์แห่งคดีฟังไม่ได้ว่า จำเลยที่ 1 กระทำไปโดยเจตนาฆ่าผู้ตาย การกระทำของจำเลยที่ 1 คงมีความผิดฐานทำร้ายผู้อื่นจนเป็นเหตุให้ถึงแก่ความตาย
ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าจำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 294,295 โทษเท่ากัน ให้ลงโทษจำเลยเพียงบทเดียว ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 90 มิได้ระบุให้ชัดลงไปว่าให้ลงโทษตามบทมาตราใด และที่พิพากษาเพิ่มโทษจำเลยที่ 2 หนึ่งในสามของ 6 เดือน เป็น 9 เดือน เป็นการผิดพลาด เป็นปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อย ศาลฎีกาพิพากษาแก้ (แม้จำเลยมิได้อุทธรณ์ฎีกา)
ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าจำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 294,295 โทษเท่ากัน ให้ลงโทษจำเลยเพียงบทเดียว ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 90 มิได้ระบุให้ชัดลงไปว่าให้ลงโทษตามบทมาตราใด และที่พิพากษาเพิ่มโทษจำเลยที่ 2 หนึ่งในสามของ 6 เดือน เป็น 9 เดือน เป็นการผิดพลาด เป็นปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อย ศาลฎีกาพิพากษาแก้ (แม้จำเลยมิได้อุทธรณ์ฎีกา)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1064/2519 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การทำร้ายร่างกายจนถึงแก่ความตาย ศาลฎีกาพิจารณาเจตนาและแก้ไขโทษจำเลย
จำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 3 ฝ่ายหนึ่ง กับจำเลยที่ 2 และผู้ตายอีกฝ่ายหนึ่งชุลมุนต่อสู้กัน จำเลยที่ 2 กับผู้ตายชกจำเลยที่ 1 ก่อน แล้วจำเลยที่ 2 ใช้เหล็กขูดชาฟท์ไล่แทงจำเลยที่ 1จำเลยที่ 3 ใช้มีดปลายแหลมแทงผู้ตายถูกที่ฝ่ามือ จำเลยที่ 1จึงคว้าไม้เหลี่ยมกว้าง 3 นิ้วฟุต ยาวประมาณ 1 แขนตีผู้ตาย ดังนี้ เห็นว่าการที่จำเลยที่ 1 ใช้ไม้ตีผู้ตายไปในขณะที่ชุลมุนต่อสู้กัน โดยคว้าไม้ซึ่งวางอยู่ตรงนั้นเองตีผู้ตายไปโดยไม่ได้ใช้ไม้ตีผู้ตายไปในขณะที่ชุลมุนต่อสู้กัน โดยคว้าไม้ซึ่งวางอยู่ตรงนั้นเองตีผู้ตายไปโดยไม่ได้เลือกตี และตีเพียงทีเดียว พฤติการณ์แห่งคดีฟังไม่ได้ว่า จำเลยที่ 1 กระทำไปโดยเจตนาฆ่าผู้ตาย การกระทำของจำเลยที่ 1คงมีความผิดฐานทำร้ายผู้อื่นจนเป็นเหตุให้ถึงแก่ความตาย
ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าจำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 294,295 โทษเท่ากัน ให้ลงโทษจำเลยเพียงบทเดียว ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 90 มิได้ระบุให้ชัดลงไปว่าให้ลงโทษตามบทมาตราใด และที่พิพากษาเพิ่มโทษจำเลยที่ 2 หนึ่งในสามของ 6 เดือน เป็น 9 เดือน เป็นการผิดพลาด เป็นปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อย ศาลฎีกาพิพากษาแก้(แม้จำเลยมิได้อุทธรณ์ฎีกา)
ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าจำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 294,295 โทษเท่ากัน ให้ลงโทษจำเลยเพียงบทเดียว ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 90 มิได้ระบุให้ชัดลงไปว่าให้ลงโทษตามบทมาตราใด และที่พิพากษาเพิ่มโทษจำเลยที่ 2 หนึ่งในสามของ 6 เดือน เป็น 9 เดือน เป็นการผิดพลาด เป็นปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อย ศาลฎีกาพิพากษาแก้(แม้จำเลยมิได้อุทธรณ์ฎีกา)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 963/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การป้องกันตัวที่สมควรแก่เหตุ และการพิจารณาความผิดฐานร่วมกันประทุษร้าย ทำให้ผู้อื่นได้รับอันตราย
จำเลยที่ 1 กับที่ 2 เคยมีเรื่องชกต่อยกันวันเกิดเหตุจำเลยที่ 2, 3 กับพวกไปคอยทีอยู่ พอจำเลยที่ 1 เดินผ่านมาจำเลยที่ 2, 3 ยิงจำเลยที่ 1 ราว 4, 5 นัด จำเลยที่ 1 วิ่งหนี จำเลยที่ 2, 3 ยังยิงมาทางจำเลยที่ 1 อีก 4-5 นัด จำเลยที่ 1 จึงยิงโต้ตอบไป 1 นัดแล้ววิ่งหนีไป การกระทำของจำเลยที่ 1 เป็นการป้องกันตัวพอสมควรแก่เหตุ เพราะไม่ทราบว่าจำเลยที่ 2, 3 จะไล่ยิงต่อไปหรือไม่ และกรณีดังนี้ไม่เป็นการเข้าร่วมในการชุลมุนต่อสู้กัน
เมื่อจำเลยที่ 1 และที่ 4 เบิกความเป็นพยาน ศาลชั้นต้นไม่ยอมให้ทนายของจำเลยที่ 3 ซักค้าน แม้จะเป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 233 แต่เมื่อศาลไม่ได้นำคำเบิกความของจำเลยที่ 1 และที่ 4มาวินิจฉัยให้เป็นโทษแก่จำเลยที่ 3 ย่อมไม่มีผลกระทบกระเทือนการรับฟังคำพยานนั้น ๆ ว่าทำให้จำเลยที่ 3 เสียเปรียบ
โจทก์บรรยายฟ้องในตอนต้นว่าจำเลยที่ 1 ฝ่ายหนึ่ง จำเลย ที่ 2, 3, 4 และผู้ตายฝ่ายหนึ่งเข้าร่วมในการชุลมุนต่อสู้ยิงกัน ในการชุลมุนนี้ผู้ตายถูกกระสุนปืนตาย จำเลยที่ 2 ถูกกระสุนปืนบาดเจ็บ บ. ซึ่งอยู่ใกล้ที่เกิดเหตุได้รับอันตรายสาหัสและตอนท้ายบรรยายว่า จำเลยที่ 1 ยิงจำเลยที่ 2 และผู้ตายโดยเจตนาฆ่าจำเลยที่ 2, 3, 4 ก็ยิงจำเลยที่ 1 โดยเจตนาฆ่า ถือว่าโจทก์ได้บรรยายฟ้องแยกความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 294, 299 กับความผิดตามมาตรา 288, 80 ออกจากกันให้เห็นได้ชัด ไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุม
ได้ความว่า กระสุนปืนที่จำเลยที่ 2, 3 ยิงจำเลยที่ 1 นั้นพลาดไปถูก บ. ได้รับอันตรายสาหัส แต่ฟ้องโจทก์ไม่ได้ระบุมาตรา 60 มาด้วย ศาลก็นำมาตรา 60 มาปรับแก่คดีได้เพราะมิใช่เป็นบทกำหนดโทษที่จะใช้ลงแก่จำเลย
เมื่อจำเลยที่ 1 และที่ 4 เบิกความเป็นพยาน ศาลชั้นต้นไม่ยอมให้ทนายของจำเลยที่ 3 ซักค้าน แม้จะเป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 233 แต่เมื่อศาลไม่ได้นำคำเบิกความของจำเลยที่ 1 และที่ 4มาวินิจฉัยให้เป็นโทษแก่จำเลยที่ 3 ย่อมไม่มีผลกระทบกระเทือนการรับฟังคำพยานนั้น ๆ ว่าทำให้จำเลยที่ 3 เสียเปรียบ
โจทก์บรรยายฟ้องในตอนต้นว่าจำเลยที่ 1 ฝ่ายหนึ่ง จำเลย ที่ 2, 3, 4 และผู้ตายฝ่ายหนึ่งเข้าร่วมในการชุลมุนต่อสู้ยิงกัน ในการชุลมุนนี้ผู้ตายถูกกระสุนปืนตาย จำเลยที่ 2 ถูกกระสุนปืนบาดเจ็บ บ. ซึ่งอยู่ใกล้ที่เกิดเหตุได้รับอันตรายสาหัสและตอนท้ายบรรยายว่า จำเลยที่ 1 ยิงจำเลยที่ 2 และผู้ตายโดยเจตนาฆ่าจำเลยที่ 2, 3, 4 ก็ยิงจำเลยที่ 1 โดยเจตนาฆ่า ถือว่าโจทก์ได้บรรยายฟ้องแยกความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 294, 299 กับความผิดตามมาตรา 288, 80 ออกจากกันให้เห็นได้ชัด ไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุม
ได้ความว่า กระสุนปืนที่จำเลยที่ 2, 3 ยิงจำเลยที่ 1 นั้นพลาดไปถูก บ. ได้รับอันตรายสาหัส แต่ฟ้องโจทก์ไม่ได้ระบุมาตรา 60 มาด้วย ศาลก็นำมาตรา 60 มาปรับแก่คดีได้เพราะมิใช่เป็นบทกำหนดโทษที่จะใช้ลงแก่จำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 963/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การป้องกันตัวที่พอสมควรแก่เหตุ และความผิดฐานร่วมกันทำร้ายผู้อื่น
จำเลยที่ 1 กับที่ 2 เคยมีเรื่องชกต่อยกันวันเกิดเหตุ จำเลยที่ 2,3 กับพวกไปคอยทีอยู่ พอจำเลยที่ 1 เดินผ่านมา จำเลยที่ 2,3 ยิงจำเลยที่ 1 ราว 4,5 นัด จำเลยที่ 1 วิ่งหนีจำเลยที่ 2, 3 ยังยิงมาทางจำเลยที่ 1 อีก 4-5 นัด จำเลยที่ 1จึงยิงโต้ตอบไป 1 นัดแล้ววิ่งหนีไป การกระทำของจำเลยที่ 1 เป็นการป้องกันตัวพอสมควรแก่เหตุ เพราะไม่ทราบว่าจำเลยที่ 2,3 จะไล่ยิงต่อไปหรือไม่ และกรณีดังนี้ไม่เป็นการเข้าร่วมในการชุลมุนต่อสู้กัน
เมื่อจำเลยที่ 1 และที่ 4 เบิกความเป็นพยาน ศาลชั้นต้นไม่ยอมให้ทนายของจำเลยที่ 3 ซักค้าน แม้จะเป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาที่ไม่ชอบด้วย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 233 แต่เมื่อศาลไม่ได้นำคำเบิกความของจำเลยที่ 1 และที่ 4 มาวินิจฉัยให้เป็นโทษแก่จำเลยที่ 3 ย่อมไม่มีผลกระทบกระเทือนการรับฟังคำพยานนั้น ๆ ว่าทำให้จำเลยที่ 3 เสียเปรียบ
โจทก์บรรยายฟ้องในตอนต้นว่าจำเลยที่ 1 ฝ่ายหนึ่ง จำเลย ที่ 2, 3, 4 และผู้ตายฝ่ายหนึ่ง เข้าร่วมในการชุลมุนต่อสู้ยิงกัน ในการชุลมุนนี้ผู้ตายถูกกระสุนปืนตาย จำเลยที่ 2 ถูกกระสุนปืนบาดเจ็บ บ. ซึ่งอยู่ใกล้ที่เกิดเหตุได้รับอันตรายสาหัสและตอนท้ายบรรยายว่า จำเลยที่ 1 ยิงจำเลยที่ 2 และผู้ตายโดยเจตนาฆ่าจำเลยที่ 2,3,4 ก็ยิงจำเลยที่ 1 โดยเจตนาฆ่าถือว่าโจทก์ได้บรรยายฟ้องแยกความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 294, 299 กับความผิดตามมาตรา 288, 80 ออกจากกันให้เห็นได้ชัด ไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุม
ได้ความว่า กระสุนปืนที่จำเลยที่ 2,3 ยิงจำเลยที่1 นั้นพลาดไปถูก บ. ได้รับอันตรายสาหัส แต่ฟ้องโจทก์ไม่ได้ระบุมาตรา 60 มาด้วย ศาลก็นำมาตรา 60 มาปรับแก่คดีได้ เพราะมิใช่เป็นบทกำหนดโทษที่จะใช้ลงแก่จำเลย
เมื่อจำเลยที่ 1 และที่ 4 เบิกความเป็นพยาน ศาลชั้นต้นไม่ยอมให้ทนายของจำเลยที่ 3 ซักค้าน แม้จะเป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาที่ไม่ชอบด้วย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 233 แต่เมื่อศาลไม่ได้นำคำเบิกความของจำเลยที่ 1 และที่ 4 มาวินิจฉัยให้เป็นโทษแก่จำเลยที่ 3 ย่อมไม่มีผลกระทบกระเทือนการรับฟังคำพยานนั้น ๆ ว่าทำให้จำเลยที่ 3 เสียเปรียบ
โจทก์บรรยายฟ้องในตอนต้นว่าจำเลยที่ 1 ฝ่ายหนึ่ง จำเลย ที่ 2, 3, 4 และผู้ตายฝ่ายหนึ่ง เข้าร่วมในการชุลมุนต่อสู้ยิงกัน ในการชุลมุนนี้ผู้ตายถูกกระสุนปืนตาย จำเลยที่ 2 ถูกกระสุนปืนบาดเจ็บ บ. ซึ่งอยู่ใกล้ที่เกิดเหตุได้รับอันตรายสาหัสและตอนท้ายบรรยายว่า จำเลยที่ 1 ยิงจำเลยที่ 2 และผู้ตายโดยเจตนาฆ่าจำเลยที่ 2,3,4 ก็ยิงจำเลยที่ 1 โดยเจตนาฆ่าถือว่าโจทก์ได้บรรยายฟ้องแยกความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 294, 299 กับความผิดตามมาตรา 288, 80 ออกจากกันให้เห็นได้ชัด ไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุม
ได้ความว่า กระสุนปืนที่จำเลยที่ 2,3 ยิงจำเลยที่1 นั้นพลาดไปถูก บ. ได้รับอันตรายสาหัส แต่ฟ้องโจทก์ไม่ได้ระบุมาตรา 60 มาด้วย ศาลก็นำมาตรา 60 มาปรับแก่คดีได้ เพราะมิใช่เป็นบทกำหนดโทษที่จะใช้ลงแก่จำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1268/2515 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรวมกรรมความผิดฐานชุลมุนต่อสู้กับความผิดฐานฆ่าโดยเจตนา ศาลฎีกาตัดสินว่ากรรมเดียว
จำเลยสี่คนกับพวกที่ยังไม่ได้ตัวมาฟ้อง มีอาวุธเข้าร่วมในการชุลมุนต่อสู้กัน จนเป็นเหตุให้มีบุคคลถึงแก่ความตายสองคนและได้รับอันตรายสาหัสอีกคนหนึ่ง ผู้ตายคนหนึ่งถึงแก่ความตายเพราะถูกจำเลยที่ 1 และที่ 2 ยิงในการชุลมุนต่อสู้กันนั้นเช่นนี้ เป็นการกระทำกรรมเดียวเป็นความผิดต่อกฎหมายหลายบทคือ จำเลยทุกคนผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 294, 299, 83เฉพาะจำเลยที่ 1 และที่ 2 มีความผิดตามมาตรา 288 อีกบทหนึ่งซึ่งจะต้องลงโทษจำเลยสองคนนี้ตามมาตรา 288 ซึ่งเป็นบทที่มีโทษหนักที่สุดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 90
ศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าการกระทำของจำเลยที่ 1 และที่ 2เป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน เป็นการไม่ถูกต้อง ศาลฎีกาพิพากษาแก้ให้ถูกต้องได้ (แม้ไม่มีคู่ความฝ่ายใดฎีกา)
ศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าการกระทำของจำเลยที่ 1 และที่ 2เป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน เป็นการไม่ถูกต้อง ศาลฎีกาพิพากษาแก้ให้ถูกต้องได้ (แม้ไม่มีคู่ความฝ่ายใดฎีกา)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1268/2515
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงโทษจำเลยที่ร่วมชุลมุนต่อสู้จนมีผู้เสียชีวิต ศาลฎีกาวินิจฉัยว่าเป็นการกระทำกรรมเดียว
จำเลยสี่คนกับพวกที่ยังไม่ได้ตัวมาฟ้อง มีอาวุธเข้าร่วมในการชุลมุนต่อสู้กัน จนเป็นเหตุให้มีบุคคลถึงแก่ความตายสองคนและได้รับอันตรายสาหัสอีกคนหนึ่ง ผู้ตายคนหนึ่งถึงแก่ความตายเพราะถูกจำเลยที่ 1 และที่ 2 ยิงในการชุลมุนต่อสู้กันนั้นเช่นนี้ เป็นการกระทำกรรมเดียวเป็นความผิดต่อกฎหมายหลายบทคือ จำเลยทุกคนผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 294, 299, 83 เฉพาะจำเลยที่ 1 และที่ 2 มีความผิดตามมาตรา 288 อีกบทหนึ่งซึ่งจะต้องลงโทษจำเลยสองคนนี้ตามมาตรา 288 ซึ่งเป็นบทที่ มีโทษหนักที่สุดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 90
ศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าการกระทำของจำเลยที่ 1 และที่ 2เป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน เป็นการไม่ถูกต้อง ศาลฎีกาพิพากษาแก้ให้ถูกต้องได้ (แม้ไม่มีคู่ความฝ่ายใดฎีกา)
ศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าการกระทำของจำเลยที่ 1 และที่ 2เป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน เป็นการไม่ถูกต้อง ศาลฎีกาพิพากษาแก้ให้ถูกต้องได้ (แม้ไม่มีคู่ความฝ่ายใดฎีกา)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 896/2515
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบรรยายฟ้องไม่ตรงกับข้อเท็จจริงตามทางพิจารณา ทำให้ลงโทษจำเลยไม่ได้ แม้เป็นการชุลมุนต่อสู้
ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยฐานร่วมกันฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288,83. ทางพิจารณาได้ความว่าเป็นการชุลมุนต่อสู้ระหว่างบุคคลตั้งแต่สามคนขึ้นไปและผู้ตายตายด้วยมีดของฝ่ายจำเลยในที่ชุลมุนต่อสู้นั้น โดยไม่ทราบว่าใครเป็นคนแทง ดังนี้ เป็นเรื่องข้อเท็จจริงตามทางพิจารณาแตกต่างกับข้อเท็จจริงดังกล่าวในฟ้องในข้อสารสำคัญ ต้องยกฟ้องโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2097/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจำกัดอำนาจศาลในการลงโทษจำเลยเมื่อโจทก์มิได้ประสงค์ให้ลงโทษฐานความผิดเฉพาะ
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยฐานฆ่าคนโดยเจตนาตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288,83 ข้อเท็จจริงฟังได้ว่ามีการชุลมุนต่อสู้กันระหว่างบุคคลตั้งแต่สามคนขึ้นไปและมีคนตายโดยการกระทำในการชุลมุนต่อสู้ อันเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 294 โจทก์มิได้บรรยายฟ้องถึงการกระทำของจำเลยในข้อนี้ จึงเป็นเรื่องที่โจทก์ไม่ประสงค์จะขอให้ศาลลงโทษจำเลย ศาลจะลงโทษจำเลยไม่ได้
ศาลชั้นต้นลงโทษจำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 1 มิได้อุทธรณ์ แต่โจทก์ได้อุทธรณ์ขอให้ลงโทษจำเลยที่ 1 ฐานฆ่าคนตายโดยเจตนา คดีส่วนตัวจำเลยที่ 1 ขึ้นมาสู่ศาลอุทธรณ์ด้วยแล้ว เมื่อศาลอุทธรณ์เห็นว่าคดีลงโทษจำเลยที่ 1 ไม่ได้ เพราะโจทก์มิได้ประสงค์ให้ลงโทษฐานวิวาทเป็นเหตุให้คนตาย ศาลอุทธรณ์ก็พิพากษาให้ยกฟ้องได้ โดยไม่ใช่กรณีที่ต้องอาศัยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 213
ศาลชั้นต้นลงโทษจำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 1 มิได้อุทธรณ์ แต่โจทก์ได้อุทธรณ์ขอให้ลงโทษจำเลยที่ 1 ฐานฆ่าคนตายโดยเจตนา คดีส่วนตัวจำเลยที่ 1 ขึ้นมาสู่ศาลอุทธรณ์ด้วยแล้ว เมื่อศาลอุทธรณ์เห็นว่าคดีลงโทษจำเลยที่ 1 ไม่ได้ เพราะโจทก์มิได้ประสงค์ให้ลงโทษฐานวิวาทเป็นเหตุให้คนตาย ศาลอุทธรณ์ก็พิพากษาให้ยกฟ้องได้ โดยไม่ใช่กรณีที่ต้องอาศัยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 213