พบผลลัพธ์ทั้งหมด 87 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 259/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ห้างหุ้นส่วนสามัญที่ไม่ได้จดทะเบียน อำนาจฟ้อง ความรับผิดเจ้าสำนัก และข้อยกเว้นความรับผิด
โรงแรมจำเลยที่ 1 เป็นห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียน ไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคล จึงไม่อาจฟ้องหรือถูกฟ้องคดีได้
จำเลยที่ 2 เป็นหุ้นส่วน และหุ้นส่วนทุกคนมอบอำนาจให้จำเลยที่ 2 เป็นผู้จัดการกิจการโรงแรมจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 2 จึงมีอำนาจควบคุมและจัดการโรงแรมจำเลยที่ 1 ได้ชื่อว่าจำเลยที่ 2 เป็นเจ้าสำนัก โจทก์จึงมีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 2 ได้
ป้ายประกาศยกเว้นความรับผิดระบุว่าทางโรงแรมจะไม่รับผิดชอบในความเสียหายที่จะเกิดขึ้นแก่ทรัพย์สินใด ๆ ทั้งสิ้นนั้นเป็นเรื่องที่จำเลยทำขึ้นฝ่ายเดียว ตกเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 677
รถยนต์เป็นเพียงทรัพย์สินธรรมดาทั่ว ๆ ไปเท่านั้น ถึงแม้ราคาจะค่อนข้างสูงก็ตาม แต่ก็ไม่มีลักษณะเป็นของมีค่าตามความหมายของมาตรา 675 วรรคสอง แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โจทก์ไม่จำต้องฝากและบอกราคาชัดแจ้ง กรณีไม่อยู่ในขอบข่ายที่จำเลยจะต้องรับผิดเพียง 500 บาท
จำเลยที่ 2 เป็นหุ้นส่วน และหุ้นส่วนทุกคนมอบอำนาจให้จำเลยที่ 2 เป็นผู้จัดการกิจการโรงแรมจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 2 จึงมีอำนาจควบคุมและจัดการโรงแรมจำเลยที่ 1 ได้ชื่อว่าจำเลยที่ 2 เป็นเจ้าสำนัก โจทก์จึงมีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 2 ได้
ป้ายประกาศยกเว้นความรับผิดระบุว่าทางโรงแรมจะไม่รับผิดชอบในความเสียหายที่จะเกิดขึ้นแก่ทรัพย์สินใด ๆ ทั้งสิ้นนั้นเป็นเรื่องที่จำเลยทำขึ้นฝ่ายเดียว ตกเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 677
รถยนต์เป็นเพียงทรัพย์สินธรรมดาทั่ว ๆ ไปเท่านั้น ถึงแม้ราคาจะค่อนข้างสูงก็ตาม แต่ก็ไม่มีลักษณะเป็นของมีค่าตามความหมายของมาตรา 675 วรรคสอง แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โจทก์ไม่จำต้องฝากและบอกราคาชัดแจ้ง กรณีไม่อยู่ในขอบข่ายที่จำเลยจะต้องรับผิดเพียง 500 บาท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2202/2523
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หุ้นส่วนจำกัดรับผิดชอบร่วมกันในสัญญาซื้อขายที่ดิน แม้ใช้ชื่อห้างเป็นคู่สัญญา หากมีข้อตกลงพิเศษและลงหุ้นร่วมกัน
ภายหลังจากที่จดทะเบียนห้างหุ้นส่วนจำเลยที่ 1 แล้วผู้เป็นหุ้นส่วนทั้งสามคือ จำเลยที่ 2 ที่ 3 และ ซ.ได้ทำข้อตกลงพิเศษกันไว้เป็นส่วนตัวให้ห้างหุ้นส่วนจำเลยที่ 1 มีวัตถุประสงค์เพิ่มเติมคือรับจัดให้ได้มาซึ่งที่อยู่อาศัยพร้อมที่ดิน ซึ่งหมายถึงการซื้อที่ดินมาปลูกสร้างอาคารขายอันมิใช่วัตถุประสงค์ของห้าง และเมื่อมีกำไร ยอมยกให้จำเลยที่ 3 ครึ่งหนึ่ง ส่วนอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาจำเลยที่ 2 ที่ 3 มีสิทธิคนละครึ่งข้อตกลงดังกล่าวแม้จะอ้างว่าเป็นกิจการของห้างจำเลยที่ 1 แต่แท้จริงมุ่งหมายผูกพันกันระหว่างจำเลยที่2 ที่ 3 โดยตรงเพียงแต่ใช้ชื่อห้างจำเลยที่ 1 ออกหน้าเท่านั้นทั้งทางปฏิบัติระหว่างจำเลยที่ 2 ที่ 3เกี่ยวกับการใช้จ่ายดำเนินกิจการซื้อที่ดินมาปลูกอาคารขายก็มีลักษณะของการลงเงินเป็นหุ้นแสดงให้เห็นชัดว่าจำเลยที่ 2 ที่ 3 ในฐานะส่วนตัวเป็นหุ้นส่วนกันในกิจการซื้อที่ดินมาปลูกสร้างอาคารตึกแถวขายพร้อมที่ดิน อาคารพิพาทและที่ดินจึงเป็นทรัพย์สินของห้างหุ้นส่วนจำเลยที่ 2 ที่ 3 เมื่อจำเลยที่ 2 ผู้เป็นหุ้นส่วนคนหนึ่งผิดสัญญาซื้อขายอาคารพิพาทและที่ดินที่ทำไว้กับโจทก์โดยก่อสร้างอาคารพิพาทไม่แล้วเสร็จ และไม่โอนอาคารพิพาทและที่ดินให้โจทก์ จำเลยที่ 3 ผู้เป็นหุ้นส่วนอีกคนหนึ่งจึงต้องร่วมรับผิดด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2202/2523 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หุ้นส่วนจำกัดรับผิดร่วมกันในสัญญาซื้อขายที่ดินและอาคาร แม้ใช้ชื่อห้างหุ้นส่วนเป็นตัวแทน
ภายหลังจากที่จดทะเบียนห้างหุ้นส่วนจำเลยที่ 1 แล้วผู้เป็นหุ้นส่วนทั้งสามคือ จำเลยที่ 2 ที่ 3 และ ซ. ได้ทำข้อตกลงพิเศษกันไว้เป็นส่วนตัวให้ห้างหุ้นส่วนจำเลยที่ 1 มีวัตถุประสงค์เพิ่มเติมคือรับจัดให้ได้มาซึ่งที่อยู่อาศัยพร้อมที่ดิน ซึ่งหมายถึงการซื้อที่ดินมาปลูกสร้างอาคารสร้างอาคารขายอันมิใช่วัตถุประสงค์ของห้าง และเมื่อมีกำไร ยอมยกให้จำเลยที่ 3 ครึ่งหนึ่ง ส่วนสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาจำเลยที่ 2 ที่ 3 มีสิทธิคนละครึ่ง ข้อตกลงดังกล่าวแม้จะอ้างว่าเป็นกิจการของห้างจำเลยที่ 1 แต่แท้จริงมุ่งหมายผูกพันกันระหว่างจำเลยที่ 2 ที่ 3 โดยตรงเพียงแต่ใช้ชื่อห้างจำเลยที่ 1 ออกหน้าเท่านั้น ทั้งทางปฏิบัติระหว่างจำเลยที่ 2 ที่ 3 เกี่ยวกับการใช้จ่ายดำเนินกิจการซื้อที่ดินมาปลูกอาคารขายก็มีลักษณะของการลงเงินเป็นหุ้นแสดงให้เห็นชัดว่าจำเลยที่ 2 ที่ 3 ในฐานะส่วนตัวเป็นหุ้นส่วนกันในกิจการซื้อที่ดินมาปลูกสร้างอาคารตึกแถวขายพร้อมที่ดิน อาคารพิพาทและที่ดินจึงเป็นทรัพย์สินของห้างหุ้นส่วนจำเลยที่ 2 ที่ 3 เมื่อจำเลยที่ 2 ผู้เป็นหุ้นส่วนคนหนึ่งผิดสัญญาซื้อขายอาคารพิพาทและที่ดินที่ทำไว้กับโจทก์ โดยก่อสร้างอาคารพิพาทไม่แล้วเสร็จ และไม่โอนอาคารพิพาทและที่ดินให้โจทก์ จำเลยที่ 3 ผู้เป็นหุ้นสวนอีกคนหนึ่งจึงต้องร่วมรับผิดด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2962/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หุ้นส่วนสามัญร่วมรับผิดในหนี้ที่เกิดจากการประกอบธุรกิจร่วมกัน แม้ใช้ชื่อห้างเดิม
ห้าง ม. เป็นห้างหุ้นส่วนสามัญไม่ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลมีจำเลยที่ 1 เป็นผู้ดำเนินกิจการแทน ต่อมาจำเลยที่ 1 ที่ 2 และที่ 3 เข้าหุ้นกันตั้งห้าง ส. เป็นห้างหุ้นส่วนสามัญไม่ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล เพื่อขยายกิจการค้าของห้าง ม. และจำเลยที่ 1 ได้ทำการค้าของห้าง ส. ต่อมาในนามของห้าง ม. โดยความยินยอมของจำเลยที่ 2 และที่ 3 การที่จำเลยทั้งสามประกอบการค้าร่วมกันดังกล่าว จึงเป็นการเข้าหุ้นส่วนกัน เมื่อจำเลยที่ 1 ได้ทำสัญญาทรัสต์รีซีทและเปิดเล็ตเตอร์ออฟเครดิตกับโจทก์ เป็นการทำแทนห้าง ส. แต่ใช้ชื่อห้าง ม. จำเลยที่ 3 ซึ่งเป็นหุ้นส่วนจึงต้องร่วมรับผิดชำระหนี้ให้โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2962/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หุ้นส่วนร่วมรับผิดในหนี้ของห้างหุ้นส่วน แม้ใช้ชื่อห้างอื่นในการทำสัญญา
ห้างม.เป็นห้างหุ้นส่วนสามัญไม่ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลมีจำเลยที่ 1 เป็นผู้ดำเนินกิจการแทน ต่อมาจำเลยที่ 1 ที่ 2 และที่ 3 เข้าหุ้นกันตั้งห้างส. เป็นห้างหุ้นส่วนสามัญไม่ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล เพื่อขยายกิจการค้าของห้างม. และจำเลยที่ 1 ได้ทำการค้าของห้างส.ต่อมาในนามของห้าง ม. โดยความยินยอมของจำเลยที่ 2 และที่ 3 การที่จำเลยทั้งสามประกอบการค้าร่วมกันดังกล่าว จึงเป็นการเข้าหุ้นส่วนกัน เมื่อจำเลยที่ 1ได้ทำสัญญาทรัสต์รีซีทและเปิดเล็ตเตอร์ออฟเครดิตกับโจทก์ เป็นการทำแทนห้าง ส. แต่ใช้ชื่อห้าง ม. จำเลยที่ 3 ซึ่งเป็นหุ้นส่วนจึงต้องร่วมรับผิดชำระหนี้ให้โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2510/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีละเมิด: ห้างหุ้นส่วนสามัญก่อนจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล สิทธิเรียกร้องเป็นของหุ้นส่วน
ในขณะที่เกิดเหตุละเมิดขึ้นนั้นห้างหุ้นส่วนจำกัดสหมิตรหล่อยางยังมิได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล ตามกฎหมายถือว่าเป็นห้างหุ้นส่วนสามัญ โจทก์ในฐานะผู้เป็นหุ้นส่วนของห้างหุ้นส่วนดังกล่าว ย่อมมีอำนาจฟ้องร้องจำเลยที่ 2 และที่ 3 ให้ร่วมรับผิดในผลแห่งการละเมิดซึ่งลูกจ้างของจำเลยที่ 2 ที่ 3 ได้กระทำต่อทรัพย์สินของห้างหุ้นส่วนนั้นได้ และอำนาจฟ้องหรือสิทธิเรียกร้องของโจทก์ที่มีต่อผู้กระทำละเมิดต่อทรัพย์นั้นเป็นบุคคลสิทธิ มิใช่ทรัพย์สิทธิที่ติดตามไปกับตัวทรัพย์ เมื่อสิทธิดังกล่าวได้เกิดมีขึ้นแล้ว แม้ต่อมาห้างหุ้นส่วนจำกัดสหมิตรหล่อยางได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลต่างหากจากผู้เป็นหุ้นส่วนทั้งหลายซึ่งรวมเข้ากันเป็นห้างหุ้นส่วนนั้นก็ตาม อำนาจฟ้องหรือสิทธิเรียกร้องดังกล่าวก็หาโอนไปยังห้างหุ้นส่วนจำกัดสหมิตรหล่อยางด้วยไม่ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้องคดีนี้ได้
รถยนต์ของจำเลยที่ชนรถโจทก์ได้ประกันไว้กับบริษัทประกันภัย เมื่อเกิดเหตุแล้วตัวแทนบริษัทประกันภัยไปตรวจ เห็นว่ารถฝ่ายจำเลยผิด จึงได้รับรถโจทก์ไปซ่อมให้ ได้มีการไปทำบันทึกกันที่สถานีตำรวจมีข้อความตอนหนึ่งว่า ส่วนค่าเสียหายนอกจากการซ่อมซึ่งบริษัทประกันภัยรับผิดชอบ ตัวแทนของโจทก์จะไปเจรจาตกลงกันเองกับจำเลยที่ 2 ผู้เป็นเจ้าของรถคันที่เป็นฝ่ายชนต่อไป บันทึกนี้เป็นเพียงบันทึกระหว่างตัวแทนโจทก์กับตัวแทนบริษัทประกันภัยเท่านั้น โจทก์หามีหน้าที่แจ้งให้จำเลยทราบไม่
(วรรคแรกวินิจฉัยโดยมติที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 24/2516)
รถยนต์ของจำเลยที่ชนรถโจทก์ได้ประกันไว้กับบริษัทประกันภัย เมื่อเกิดเหตุแล้วตัวแทนบริษัทประกันภัยไปตรวจ เห็นว่ารถฝ่ายจำเลยผิด จึงได้รับรถโจทก์ไปซ่อมให้ ได้มีการไปทำบันทึกกันที่สถานีตำรวจมีข้อความตอนหนึ่งว่า ส่วนค่าเสียหายนอกจากการซ่อมซึ่งบริษัทประกันภัยรับผิดชอบ ตัวแทนของโจทก์จะไปเจรจาตกลงกันเองกับจำเลยที่ 2 ผู้เป็นเจ้าของรถคันที่เป็นฝ่ายชนต่อไป บันทึกนี้เป็นเพียงบันทึกระหว่างตัวแทนโจทก์กับตัวแทนบริษัทประกันภัยเท่านั้น โจทก์หามีหน้าที่แจ้งให้จำเลยทราบไม่
(วรรคแรกวินิจฉัยโดยมติที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 24/2516)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2510/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีละเมิดของหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญก่อนจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล และการสงวนสิทธิเรียกร้องค่าเสียหาย
ในขณะที่เกิดเหตุละเมิดขึ้นนั้น ห้างหุ้นส่วนจำกัดสหมิตรหล่อยางยังมิได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล ตามกฎหมายถือว่าเป็นห้างหุ้นส่วนสามัญโจทก์ในฐานะผู้เป็นหุ้นส่วนของห้างหุ้นส่วนดังกล่าว ย่อมมีอำนาจฟ้องร้องจำเลยที่ 2 และที่ 3 ให้ร่วมรับผิดในผลแห่งการละเมิดซึ่งลูกจ้างของจำเลยที่ 2 ที่ 3 ได้กระทำต่อทรัพย์สินของห้างหุ้นส่วนนั้นได้ และอำนาจฟ้องหรือสิทธิเรียกร้องของโจทก์ที่มีต่อผู้กระทำละเมิดต่อทรัพย์นั้นเป็นบุคคลสิทธิ มิใช่ทรัพย์สิทธิที่ติดตามไปกับตัวทรัพย์ เมื่อสิทธิดังกล่าวได้เกิดมีขึ้นแล้ว แม้ต่อมาห้างหุ้นส่วนจำกัดสหมิตรหล่อยางได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลต่างหากจากผู้เป็นหุ้นส่วนทั้งหลายซึ่งรวมเข้ากันเป็นห้างหุ้นส่วนนั้นก็ตาม อำนาจฟ้องหรือสิทธิเรียกร้องดังกล่าวก็หาโอนไปยังห้างหุ้นส่วนจำกัดสหมิตรหล่อยางด้วยไม่ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้องคดีนี้ได้
รถยนต์ของจำเลยที่ชนรถโจทก์ได้ประกันไว้กับบริษัทประกันภัยเมื่อเกิดเหตุแล้วตัวแทนบริษัทประกันภัยไปตรวจ เห็นว่ารถฝ่ายจำเลยผิดจึงได้รับรถโจทก์ไปซ่อมให้ ได้มีการไปทำบันทึกกันที่สถานีตำรวจมีข้อความตอนหนึ่งว่า ส่วนค่าเสียหายนอกจากการซ่อมซึ่งบริษัทประกันภัยรับผิดชอบ ตัวแทนของโจทก์จะไปเจรจาตกลงกันเองกับจำเลยที่ 2ผู้เป็นเจ้าของรถคันที่เป็นฝ่ายชนต่อไป บันทึกนี้เป็นเพียงบันทึกระหว่างตัวแทนโจทก์กับตัวแทนบริษัทประกันภัยเท่านั้น โจทก์หามีหน้าที่แจ้งให้จำเลยทราบไม่
(วรรคแรกวินิจฉัยโดยมติที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 24/2516)
รถยนต์ของจำเลยที่ชนรถโจทก์ได้ประกันไว้กับบริษัทประกันภัยเมื่อเกิดเหตุแล้วตัวแทนบริษัทประกันภัยไปตรวจ เห็นว่ารถฝ่ายจำเลยผิดจึงได้รับรถโจทก์ไปซ่อมให้ ได้มีการไปทำบันทึกกันที่สถานีตำรวจมีข้อความตอนหนึ่งว่า ส่วนค่าเสียหายนอกจากการซ่อมซึ่งบริษัทประกันภัยรับผิดชอบ ตัวแทนของโจทก์จะไปเจรจาตกลงกันเองกับจำเลยที่ 2ผู้เป็นเจ้าของรถคันที่เป็นฝ่ายชนต่อไป บันทึกนี้เป็นเพียงบันทึกระหว่างตัวแทนโจทก์กับตัวแทนบริษัทประกันภัยเท่านั้น โจทก์หามีหน้าที่แจ้งให้จำเลยทราบไม่
(วรรคแรกวินิจฉัยโดยมติที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 24/2516)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 775/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์รถยนต์ต่างจากชื่อในทะเบียน, หุ้นส่วนสามัญ, สิทธิฟ้องร่วม, ความรับผิดจากประมาท
การมีชื่อเป็นเจ้าของในทะเบียนรถยนต์เป็นแต่ข้อสันนิษฐานในเบื้องต้นว่าเป็นเจ้าของเท่านั้น หาใช่แสดงว่าผู้มีชื่อเป็นผู้มีกรรมสิทธิ์ในรถยนต์เสมอไปไม่ เพราะทะเบียนรถยนต์มิใช่หลักฐานแห่งกรรมสิทธิ์
โจทก์ร่วมได้นำรถยนต์ของตนเข้าวิ่งร่วมรับจ้างบรรทุกกับโจทก์ และมอบให้โจทก์ลงชื่อเป็นเจ้าของในทะเบียนรถยนต์ แต่โจทก์ร่วมยังเป็นผู้ออกค่าจ้างคนขับค่าน้ำมัน ค่าซ่อมเครื่องยนต์และยาง ซึ่งพฤติการณ์แสดงว่ารถยนต์ดังกล่าวยังเป็นของโจทก์ร่วมอยู่ การโอนทะเบียนใส่ชื่อโจทก์เป็นเจ้าของเป็นเพียงพิธีการจะให้รถยนต์ได้เข้ามาร่วมกิจการกับโจทก์เพื่อหาประโยชน์เท่านั้น การร่วมกิจการเพื่อหาประโยชน์ร่วมกันในกรณีเช่นนี้ ถือได้ว่าเป็นหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียนระหว่างโจทก์กับโจทก์ร่วม เมื่อมีผู้ทำละเมิดเป็นเหตุให้รถยนต์ดังกล่าวเสียหาย โจทก์และโจทก์ร่วมย่อมมีสิทธิฟ้องเรียกค่าเสียหายอันเป็นการเรียกร้องเพื่อประโยชน์แก่ผู้เป็นหุ้นส่วนด้วยทุกคน
โจทก์ร่วมได้นำรถยนต์ของตนเข้าวิ่งร่วมรับจ้างบรรทุกกับโจทก์ และมอบให้โจทก์ลงชื่อเป็นเจ้าของในทะเบียนรถยนต์ แต่โจทก์ร่วมยังเป็นผู้ออกค่าจ้างคนขับค่าน้ำมัน ค่าซ่อมเครื่องยนต์และยาง ซึ่งพฤติการณ์แสดงว่ารถยนต์ดังกล่าวยังเป็นของโจทก์ร่วมอยู่ การโอนทะเบียนใส่ชื่อโจทก์เป็นเจ้าของเป็นเพียงพิธีการจะให้รถยนต์ได้เข้ามาร่วมกิจการกับโจทก์เพื่อหาประโยชน์เท่านั้น การร่วมกิจการเพื่อหาประโยชน์ร่วมกันในกรณีเช่นนี้ ถือได้ว่าเป็นหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียนระหว่างโจทก์กับโจทก์ร่วม เมื่อมีผู้ทำละเมิดเป็นเหตุให้รถยนต์ดังกล่าวเสียหาย โจทก์และโจทก์ร่วมย่อมมีสิทธิฟ้องเรียกค่าเสียหายอันเป็นการเรียกร้องเพื่อประโยชน์แก่ผู้เป็นหุ้นส่วนด้วยทุกคน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 173/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ห้างหุ้นส่วนสามัญเลิกสัญญาเมื่อมีผู้รับมรดกปฏิเสธความเป็นหุ้นส่วนเดิม โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้องขอแสดงบัญชี
สามีโจทก์กับสามีจำเลยร่วมทุนกันจัดตั้งห้างหุ้นส่วนสามัญโดยไม่จดทะเบียน สามีโจทก์ตาย โจทก์รับมรดกและเข้าสวมสิทธิเป็นหุ้นส่วนแทน โดยความยินยอมของสามีจำเลย ห้างหุ้นส่วนจึงยังไม่เลิก ต่อมาสามีจำเลยตาย จำเลยเป็นผู้รับมรดก กลับปฏิเสธว่าสามีโจทก์มิได้เป็นหุ้นส่วนกับสามีจำเลย ดังนี้ ห้างหุ้นส่วนนั้นย่อมเลิกจากกันตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1055 (5)
เมื่อห้างหุ้นส่วนเลิกกันแล้ว ก็จะต้องจัดการชำระบัญชี เว้นแต่จะได้ตกลงกันให้จัดการทรัพย์สินโดยวิธีอื่นในระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนด้วยกัน แม้จำเลยจะเข้าดำเนินกิจการของห้างหุ้นส่วนจำเลยก็มิได้เป็นหุ้นส่วนกับโจทก์ โจทก์ย่อมไม่มีอำนาจฟ้องขอให้บังคับจำเลยแสดงบัญชีรายรับรายจ่าย
โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยแสดงบัญชีรายรับรายจ่าย โดยมิได้ฟ้องขอให้ชำระบัญชี ศาลจะพิพากษาให้ชำระบัญชีไม่ได้ เพราะเกินคำขอ
เมื่อห้างหุ้นส่วนเลิกกันแล้ว ก็จะต้องจัดการชำระบัญชี เว้นแต่จะได้ตกลงกันให้จัดการทรัพย์สินโดยวิธีอื่นในระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนด้วยกัน แม้จำเลยจะเข้าดำเนินกิจการของห้างหุ้นส่วนจำเลยก็มิได้เป็นหุ้นส่วนกับโจทก์ โจทก์ย่อมไม่มีอำนาจฟ้องขอให้บังคับจำเลยแสดงบัญชีรายรับรายจ่าย
โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยแสดงบัญชีรายรับรายจ่าย โดยมิได้ฟ้องขอให้ชำระบัญชี ศาลจะพิพากษาให้ชำระบัญชีไม่ได้ เพราะเกินคำขอ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 173/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ห้างหุ้นส่วนสามัญเลิกสัญญาหลังผู้เป็นหุ้นส่วนเสียชีวิต และผลกระทบต่ออำนาจฟ้องเรียกชำระบัญชี
สามีโจทก์กับสามีจำเลยร่วมทุนกันจัดตั้งห้างหุ้นส่วนสามัญโดยไม่จดทะเบียนสามีโจทก์ตาย โจทก์รับมรดกและเข้าสวมสิทธิเป็นหุ้นส่วนแทนโดยความยินยอม ของสามีจำเลย ห้างหุ้นส่วนจึงยังไม่เลิกต่อมาสามีจำเลยตาย จำเลยเป็นผู้รับมรดกกลับปฏิเสธว่าสามีโจทก์มิได้เป็นหุ้นส่วนกับสามีจำเลย ดังนี้ ห้างหุ้นส่วนนั้นย่อมเลิกจากกันตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1055(5)
เมื่อห้างหุ้นส่วนเลิกกันแล้วก็จะต้องจัดการชำระบัญชี เว้นแต่จะได้ตกลงกันให้จัดการทรัพย์สินโดยวิธีอื่นในระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนด้วยกันแม้จำเลยจะเข้าดำเนินการของห้างหุ้นส่วนจำเลยก็มิได้เป็นหุ้นส่วนกับโจทก์โจทก์ย่อมไม่มีอำนาจฟ้องขอให้บังคับจำเลยแสดงบัญชีรายรับรายจ่าย
โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยแสดงบัญชีรายรับรายจ่ายโดยมิได้ฟ้องขอให้ชำระบัญชี ศาลจะพิพากษาให้ชำระบัญชีไม่ได้เพราะเกินคำขอ
เมื่อห้างหุ้นส่วนเลิกกันแล้วก็จะต้องจัดการชำระบัญชี เว้นแต่จะได้ตกลงกันให้จัดการทรัพย์สินโดยวิธีอื่นในระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนด้วยกันแม้จำเลยจะเข้าดำเนินการของห้างหุ้นส่วนจำเลยก็มิได้เป็นหุ้นส่วนกับโจทก์โจทก์ย่อมไม่มีอำนาจฟ้องขอให้บังคับจำเลยแสดงบัญชีรายรับรายจ่าย
โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยแสดงบัญชีรายรับรายจ่ายโดยมิได้ฟ้องขอให้ชำระบัญชี ศาลจะพิพากษาให้ชำระบัญชีไม่ได้เพราะเกินคำขอ