พบผลลัพธ์ทั้งหมด 167 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 300/2515 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องแทน, การบอกเลิกสัญญาเช่า, และผลผูกพันของข้อสัญญาเช่าเมื่อสัญญาเดิมสิ้นสุด
หนังสือมอบอำนาจ ระบุให้อำนาจตัวแทนทำกิจการแทนตัวการไว้หลายอย่างและให้ยื่นฟ้องต่อศาลเกี่ยวกับทรัพย์สินของตัวการได้ด้วยดังนี้ ตัวแทนผู้ได้รับมอบอำนาจนั้นย่อมมีอำนาจฟ้องคดีแทนตัวการได้หาจำต้องมีการมอบอำนาจกันเฉพาะเรื่องเฉพาะรายไม่
ที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 801 บัญญัติว่าตัวแทน ได้รับมอบอำนาจทั่วไปไม่อาจยื่นฟ้องต่อศาลได้นั้นมีความหมายแต่เพียงว่า หากการมอบอำนาจมิได้ระบุไว้ว่าให้ตัวแทนยื่นฟ้องต่อศาลแทนตัวการ ตัวแทนก็ไม่อาจยื่นฟ้องได้
หนังสือบอกกล่าวของผู้ให้เช่าถึงผู้เช่า มีข้อความว่า'ขอรับตึกแถวดังกล่าวคืนจากการเช่าจากท่าน เพื่อมาทำการปรับปรุง' ถือได้ว่าเป็นการบอกเลิกการเช่าโดยชอบแม้จะมีข้อความต่อไปว่า หากผู้เช่าขัดข้องอย่างไร ก็ขอได้กรุณาแจ้งให้ผู้ให้เช่าทราบด้วย ก็เป็นแต่เพียงการแสดงความสุภาพในการใช้ถ้อยคำเท่านั้น ไม่เปลี่ยนแปลงความประสงค์ของผู้ให้เช่าอันเป็นสาระสำคัญที่จะเลิกการเช่า
สัญญาเช่าตึกแถวมีกำหนดเวลา 1 ปี และมีข้อสัญญาข้อหนึ่งว่า เมื่อผู้เช่าชำระค่าเช่าให้ตามกำหนดและปฏิบัติตามข้อสัญญาครบถ้วน ผู้เช่าจะอยู่ในสถานที่เช่าได้โดยสบายตลอดระยะเวลาที่เช่าซึ่งกล่าวแล้ว เว้นเสียต่อทางการหรือรัฐบาลต้องการเพื่อผลประโยชน์ใด ๆ แล้ว แม้แต่ยังไม่ครบกำหนดอายุสัญญาเช่าผู้เช่าจำต้องส่งสถานที่เช่าคืนภายในกำหนดหนึ่งเดือนนับแต่วันที่ผู้ให้เช่าบอกกล่าวข้อสัญญานี้ย่อมมีผลใช้บังคับเฉพาะภายในกำหนดอายุสัญญาเช่า 1 ปีเท่านั้น เมื่อสัญญาเช่าระงับเมื่อครบ 1 ปี ข้อสัญญาดังกล่าวย่อมระงับไปด้วย. ไม่มีผลใช้บังคับถึงการเช่าต่อมาโดยไม่มีกำหนดเวลา
ที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 801 บัญญัติว่าตัวแทน ได้รับมอบอำนาจทั่วไปไม่อาจยื่นฟ้องต่อศาลได้นั้นมีความหมายแต่เพียงว่า หากการมอบอำนาจมิได้ระบุไว้ว่าให้ตัวแทนยื่นฟ้องต่อศาลแทนตัวการ ตัวแทนก็ไม่อาจยื่นฟ้องได้
หนังสือบอกกล่าวของผู้ให้เช่าถึงผู้เช่า มีข้อความว่า'ขอรับตึกแถวดังกล่าวคืนจากการเช่าจากท่าน เพื่อมาทำการปรับปรุง' ถือได้ว่าเป็นการบอกเลิกการเช่าโดยชอบแม้จะมีข้อความต่อไปว่า หากผู้เช่าขัดข้องอย่างไร ก็ขอได้กรุณาแจ้งให้ผู้ให้เช่าทราบด้วย ก็เป็นแต่เพียงการแสดงความสุภาพในการใช้ถ้อยคำเท่านั้น ไม่เปลี่ยนแปลงความประสงค์ของผู้ให้เช่าอันเป็นสาระสำคัญที่จะเลิกการเช่า
สัญญาเช่าตึกแถวมีกำหนดเวลา 1 ปี และมีข้อสัญญาข้อหนึ่งว่า เมื่อผู้เช่าชำระค่าเช่าให้ตามกำหนดและปฏิบัติตามข้อสัญญาครบถ้วน ผู้เช่าจะอยู่ในสถานที่เช่าได้โดยสบายตลอดระยะเวลาที่เช่าซึ่งกล่าวแล้ว เว้นเสียต่อทางการหรือรัฐบาลต้องการเพื่อผลประโยชน์ใด ๆ แล้ว แม้แต่ยังไม่ครบกำหนดอายุสัญญาเช่าผู้เช่าจำต้องส่งสถานที่เช่าคืนภายในกำหนดหนึ่งเดือนนับแต่วันที่ผู้ให้เช่าบอกกล่าวข้อสัญญานี้ย่อมมีผลใช้บังคับเฉพาะภายในกำหนดอายุสัญญาเช่า 1 ปีเท่านั้น เมื่อสัญญาเช่าระงับเมื่อครบ 1 ปี ข้อสัญญาดังกล่าวย่อมระงับไปด้วย. ไม่มีผลใช้บังคับถึงการเช่าต่อมาโดยไม่มีกำหนดเวลา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 300/2515
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องแทน, การบอกเลิกสัญญาเช่า, และขอบเขตของข้อตกลงในสัญญาเช่า (การเช่าทรัพย์สิน)
หนังสือมอบอำนาจระบุให้อำนาจตัวแทนทำกิจการแทนตัวการไว้หลายอย่างและให้ยื่นฟ้องต่อศาลเกี่ยวกับทรัพย์สินของตัวการได้ด้วย ดังนี้ ตัวแทนผู้ได้รับมอบอำนาจนั้นย่อมมีอำนาจฟ้องคดีแทนตัวการได้หาจำต้องมีการมอบอำนาจกันเฉพาะเรื่องเฉพาะรายไม่
ที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 801 บัญญัติว่า ตัวแทนได้รับมอบอำนาจทั่วไปไม่อาจยื่นฟ้องต่อศาลได้นั้น มีความหมายแต่เพียงว่า หากการมอบอำนาจมิได้ระบุไว้ว่าให้ตัวแทนยื่นฟ้องต่อศาลแทนตัวการ ตัวแทนก็ไม่อาจยื่นฟ้องได้
หนังสือบอกกล่าวของผู้ให้เช่าถึงผู้เช่า มีข้อความว่า'ขอรับตึกแถวดังกล่าวคืนจากการเช่าจากท่าน เพื่อมาทำการปรับปรุง' ถือได้ว่าเป็นการบอกเลิกการเช่าโดยชอบแม้จะมีข้อความต่อไปว่า หากผู้เช่าขัดข้องอย่างไรก็ขอได้กรุณาแจ้งให้ผู้ให้เช่าทราบด้วย ก็เป็นแต่เพียงการแสดงความสุภาพในการใช้ถ้อยคำเท่านั้น ไม่เปลี่ยนแปลงความประสงค์ของผู้ให้เช่าอันเป็นสาระสำคัญที่จะเลิกการเช่า
สัญญาเช่าตึกแถวมีกำหนดเวลา 1 ปี และมีข้อสัญญาข้อหนึ่งว่า เมื่อผู้เช่าชำระค่าเช่าให้ตามกำหนดและปฏิบัติตามข้อสัญญาครบถ้วน ผู้เช่าจะอยู่ในสถานที่เช่าได้โดยสบายตลอดระยะเวลาที่เช่าซึ่งกล่าวแล้ว เว้นเสียต่อทางการหรือรัฐบาลต้องการเพื่อผลประโยชน์ใด ๆ แล้ว แม้แต่ยังไม่ครบกำหนดอายุสัญญาเช่าผู้เช่าจำต้องส่งสถานที่เช่าคืนภายในกำหนดหนึ่งเดือนนับแต่วันที่ผู้ให้เช่าบอกกล่าวข้อสัญญานี้ย่อมมีผลใช้บังคับเฉพาะภายในกำหนดอายุสัญญาเช่า 1 ปีเท่านั้น เมื่อสัญญาเช่าระงับเมื่อครบ 1 ปี ข้อสัญญาดังกล่าวย่อมระงับไปด้วย. ไม่มีผลใช้บังคับถึงการเช่าต่อมาโดยไม่มีกำหนดเวลา
ที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 801 บัญญัติว่า ตัวแทนได้รับมอบอำนาจทั่วไปไม่อาจยื่นฟ้องต่อศาลได้นั้น มีความหมายแต่เพียงว่า หากการมอบอำนาจมิได้ระบุไว้ว่าให้ตัวแทนยื่นฟ้องต่อศาลแทนตัวการ ตัวแทนก็ไม่อาจยื่นฟ้องได้
หนังสือบอกกล่าวของผู้ให้เช่าถึงผู้เช่า มีข้อความว่า'ขอรับตึกแถวดังกล่าวคืนจากการเช่าจากท่าน เพื่อมาทำการปรับปรุง' ถือได้ว่าเป็นการบอกเลิกการเช่าโดยชอบแม้จะมีข้อความต่อไปว่า หากผู้เช่าขัดข้องอย่างไรก็ขอได้กรุณาแจ้งให้ผู้ให้เช่าทราบด้วย ก็เป็นแต่เพียงการแสดงความสุภาพในการใช้ถ้อยคำเท่านั้น ไม่เปลี่ยนแปลงความประสงค์ของผู้ให้เช่าอันเป็นสาระสำคัญที่จะเลิกการเช่า
สัญญาเช่าตึกแถวมีกำหนดเวลา 1 ปี และมีข้อสัญญาข้อหนึ่งว่า เมื่อผู้เช่าชำระค่าเช่าให้ตามกำหนดและปฏิบัติตามข้อสัญญาครบถ้วน ผู้เช่าจะอยู่ในสถานที่เช่าได้โดยสบายตลอดระยะเวลาที่เช่าซึ่งกล่าวแล้ว เว้นเสียต่อทางการหรือรัฐบาลต้องการเพื่อผลประโยชน์ใด ๆ แล้ว แม้แต่ยังไม่ครบกำหนดอายุสัญญาเช่าผู้เช่าจำต้องส่งสถานที่เช่าคืนภายในกำหนดหนึ่งเดือนนับแต่วันที่ผู้ให้เช่าบอกกล่าวข้อสัญญานี้ย่อมมีผลใช้บังคับเฉพาะภายในกำหนดอายุสัญญาเช่า 1 ปีเท่านั้น เมื่อสัญญาเช่าระงับเมื่อครบ 1 ปี ข้อสัญญาดังกล่าวย่อมระงับไปด้วย. ไม่มีผลใช้บังคับถึงการเช่าต่อมาโดยไม่มีกำหนดเวลา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 588/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องแย้งของตัวแทนที่ไม่มีใบมอบอำนาจ: ตัวแทนย่อมไม่มีอำนาจฟ้องแย้งแทนตัวการ
จำเลยเป็นเพียงตัวแทนของบริษัทยิบอินซอย จำกัด และฟ้องแย้งโดยไม่ปรากฏว่ามีใบมอบอำนาจจากบริษัทดังกล่าว จำเลยจึงไม่มีอำนาจฟ้องแย้งได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 588/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องแย้งของตัวแทนที่ไม่ได้รับมอบอำนาจ: ตัวแทนย่อมไม่มีอำนาจฟ้องแย้งแทนตัวการหากไม่มีใบมอบอำนาจ
จำเลยเป็นเพียงตัวแทนของบริษัทยิบอินซอย จำกัด และฟ้องแย้งโดยไม่ปรากฏว่ามีใบมอบอำนาจจากบริษัทดังกล่าว จำเลยจึงไม่มีอำนาจฟ้องแย้งได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1305/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การชำระหนี้สัญญาเช่าและการคืนเงินมัดจำเมื่อผู้รับเหมาไม่สามารถก่อสร้างได้ และขอบเขตอำนาจของตัวแทน
ชาวตลาดกับโจทก์ตั้งจำเลยที่ 2, 3, 4 กับ บ. เป็นตัวแทน ให้มีอำนาจตกลงกับ ส. และจำเลยที่ 1เกี่ยวกับการก่อสร้างและการเช่า โจทก์ได้ปฏิบัติตามสัญญาโดยวางเงินมัดจำช่วยค่าก่อสร้างแล้ว แม้จะปรากฏว่าผู้เช่าห้องบางรายมิได้วางเงินตามข้อสัญญา ดังนี้ จะถือว่าโจทก์ผิดสัญญาด้วยหาได้ไม่ เพราะต้องถือว่าชาวตลาดที่ลงชื่อในหนังสือแต่งตั้งจำเลยที่ 2, 3 และ 4กับ บ. เป็นตัวแทน ไม่ได้เป็นตัวการร่วมกัน จำเลยที่ 2, 3 และ 4 กับ บ. มีอำนาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนชาวตลาดแต่ละคนนั้นแยกเป็นรายๆกัน
จำเลยรับเหมาปลูกสร้างตึกแถว โจทก์ประสงค์จะเช่าโดยยอมเสียเงินกินเปล่า จึงได้วางเงินมัดจำช่วยค่าก่อสร้าง แต่จำเลยก่อสร้างตึกแถวไม่ได้ เพราะกำลังเป็นความกับบุคคลภายนอกซึ่งเป็นผู้เช่าที่ดินจากกรมศาสนาและเป็นผู้จ้างจำเลยปลูกสร้าง ดังนี้ ถือว่าจำเลยไม่อยู่ในฐานะที่จะทำการชำระหนี้ฝ่ายตนตอบแทนโจทก์ได้ ถือไม่ได้ว่าการที่โจทก์ยังไม่ออกไปจากห้องเช่าเดิมเป็นความผิดของโจทก์ จำเลยจะริบมัดจำของโจทก์ไว้ไม่ได้
จำเลยไม่สามารถทำการก่อสร้างตลาดได้เพราะกรมการศาสนาบอกเลิกสัญญาเช่าที่ดินที่ปลูกสร้างตลาดกับ ส. กรณีจึงเข้ามาตรา 378(3) จำเลยจึงต้องคืนมัดจำให้โจทก์
จำเลยเป็นตัวแทนรับมอบอำนาจทั่วไป ไม่มีการมอบอำนาจโดยชัดแจ้งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 801 จึงไม่มีอำนาจทำสัญญาประนีประนอมยอมความให้เป็นการผูกพันชาวตลาด.ซึ่งเป็นตัวการไม่ให้เรียกคืนเงินมัดจำได้
จำเลยรับเหมาปลูกสร้างตึกแถว โจทก์ประสงค์จะเช่าโดยยอมเสียเงินกินเปล่า จึงได้วางเงินมัดจำช่วยค่าก่อสร้าง แต่จำเลยก่อสร้างตึกแถวไม่ได้ เพราะกำลังเป็นความกับบุคคลภายนอกซึ่งเป็นผู้เช่าที่ดินจากกรมศาสนาและเป็นผู้จ้างจำเลยปลูกสร้าง ดังนี้ ถือว่าจำเลยไม่อยู่ในฐานะที่จะทำการชำระหนี้ฝ่ายตนตอบแทนโจทก์ได้ ถือไม่ได้ว่าการที่โจทก์ยังไม่ออกไปจากห้องเช่าเดิมเป็นความผิดของโจทก์ จำเลยจะริบมัดจำของโจทก์ไว้ไม่ได้
จำเลยไม่สามารถทำการก่อสร้างตลาดได้เพราะกรมการศาสนาบอกเลิกสัญญาเช่าที่ดินที่ปลูกสร้างตลาดกับ ส. กรณีจึงเข้ามาตรา 378(3) จำเลยจึงต้องคืนมัดจำให้โจทก์
จำเลยเป็นตัวแทนรับมอบอำนาจทั่วไป ไม่มีการมอบอำนาจโดยชัดแจ้งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 801 จึงไม่มีอำนาจทำสัญญาประนีประนอมยอมความให้เป็นการผูกพันชาวตลาด.ซึ่งเป็นตัวการไม่ให้เรียกคืนเงินมัดจำได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1305/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจะซื้อจะขาย/เช่า และการชำระหนี้ที่ไม่เป็นไปตามสัญญา: สิทธิในการรับคืนเงินมัดจำ
ชาวตลาดกับโจทก์ตั้งจำเลยที่ 2,3,4 กับ บ. เป็นตัวแทนให้มีอำนาจตกลงกับ ส. และจำเลยที่ 1เกี่ยวกับการก่อสร้างและการเช่า โจทก์ได้ปฏิบัติตามสัญญาโดยวางเงินมัดจำช่วยค่าก่อสร้างแล้ว แม้จะปรากฏว่าผู้เช่าห้องบางรายมิได้วางเงินตามข้อสัญญา ดังนี้ จะถือว่าโจทก์ผิดสัญญาด้วยหาได้ไม่ เพราะต้องถือว่าชาวตลาดที่ลงชื่อในหนังสือแต่งตั้งจำเลยที่ 2,3 และ 4 กับ บ. เป็นตัวแทน ไม่ได้เป็นตัวการร่วมกัน จำเลยที่ 2,3 และ 4 กับ บ. มีอำนาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนชาวตลาดแต่ละคนนั้นแยกเป็นรายๆกัน
จำเลยรับเหมาปลูกสร้างตึกแถว โจทก์ประสงค์จะเช่าโดยยอมเสียเงินกินเปล่า จึงได้วางเงินมัดจำช่วยค่าก่อสร้าง แต่จำเลยก่อสร้างตึกแถวไม่ได้ เพราะกำลังเป็นความกับบุคคลภายนอกซึ่งเป็นผู้เช่าที่ดินจากกรมการศาสนาและเป็นผู้จ้างจำเลยปลูกสร้าง ดังนี้ ถือว่าจำเลยไม่อยู่ในฐานะที่จะทำการชำระหนี้ฝ่ายตนตอบแทนโจทก์ได้ ถือไม่ได้ว่าการที่โจทก์ยังไม่ออกไปจากห้องเช่าเดิมเป็นความผิดของโจทก์ จำเลยจะริบมัดจำของโจทก์ไว้ไม่ได้
จำเลยไม่สามารถทำการก่อสร้างตลาดได้เพราะกรมการศาสนาบอกเลิกสัญญาเช่าที่ดินที่ปลูกสร้างตลาดกับส. กรณีจึงเข้ามาตรา 378(3) จำเลยจึงต้องคืนมัดจำให้โจทก์
จำเลยเป็นตัวแทนรับมอบอำนาจทั่วไป ไม่มีการมอบอำนาจโดยชัดแจ้งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 801 จึงไม่มีอำนาจทำสัญญาประนีประนอมยอมความให้เป็นการผูกพันชาวตลาด ซึ่งเป็นตัวการไม่ให้เรียกคืนเงินมัดจำได้
จำเลยรับเหมาปลูกสร้างตึกแถว โจทก์ประสงค์จะเช่าโดยยอมเสียเงินกินเปล่า จึงได้วางเงินมัดจำช่วยค่าก่อสร้าง แต่จำเลยก่อสร้างตึกแถวไม่ได้ เพราะกำลังเป็นความกับบุคคลภายนอกซึ่งเป็นผู้เช่าที่ดินจากกรมการศาสนาและเป็นผู้จ้างจำเลยปลูกสร้าง ดังนี้ ถือว่าจำเลยไม่อยู่ในฐานะที่จะทำการชำระหนี้ฝ่ายตนตอบแทนโจทก์ได้ ถือไม่ได้ว่าการที่โจทก์ยังไม่ออกไปจากห้องเช่าเดิมเป็นความผิดของโจทก์ จำเลยจะริบมัดจำของโจทก์ไว้ไม่ได้
จำเลยไม่สามารถทำการก่อสร้างตลาดได้เพราะกรมการศาสนาบอกเลิกสัญญาเช่าที่ดินที่ปลูกสร้างตลาดกับส. กรณีจึงเข้ามาตรา 378(3) จำเลยจึงต้องคืนมัดจำให้โจทก์
จำเลยเป็นตัวแทนรับมอบอำนาจทั่วไป ไม่มีการมอบอำนาจโดยชัดแจ้งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 801 จึงไม่มีอำนาจทำสัญญาประนีประนอมยอมความให้เป็นการผูกพันชาวตลาด ซึ่งเป็นตัวการไม่ให้เรียกคืนเงินมัดจำได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1305/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่า, มัดจำ, การไม่ชำระหนี้, ตัวแทน, และข้อยกเว้นการริบมัดจำ
ชาวตลาดกับโจทก์ตั้งจำเลยที่ 2,3,4 กับ บ. เป็นตัวแทน. ให้มีอำนาจตกลงกับ ส. และจำเลยที่ 1เกี่ยวกับการก่อสร้างและการเช่า. โจทก์ได้ปฏิบัติตามสัญญาโดยวางเงินมัดจำช่วยค่าก่อสร้างแล้ว. แม้จะปรากฏว่าผู้เช่าห้องบางรายมิได้วางเงินตามข้อสัญญา. ดังนี้ จะถือว่าโจทก์ผิดสัญญาด้วยหาได้ไม่. เพราะต้องถือว่าชาวตลาดที่ลงชื่อในหนังสือแต่งตั้งจำเลยที่ 2,3 และ 4กับ บ. เป็นตัวแทน ไม่ได้เป็นตัวการร่วมกัน. จำเลยที่2,3 และ 4 กับ บ. มีอำนาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนชาวตลาดแต่ละคนนั้นแยกเป็นรายๆกัน.
จำเลยรับเหมาปลูกสร้างตึกแถว. โจทก์ประสงค์จะเช่าโดยยอมเสียเงินกินเปล่า จึงได้วางเงินมัดจำช่วยค่าก่อสร้าง. แต่จำเลยก่อสร้างตึกแถวไม่ได้ เพราะกำลังเป็นความกับบุคคลภายนอกซึ่งเป็นผู้เช่าที่ดินจากกรมการศาสนาและเป็นผู้จ้างจำเลยปลูกสร้าง. ดังนี้ ถือว่าจำเลยไม่อยู่ในฐานะที่จะทำการชำระหนี้ฝ่ายตนตอบแทนโจทก์ได้. ถือไม่ได้ว่าการที่โจทก์ยังไม่ออกไปจากห้องเช่าเดิมเป็นความผิดของโจทก์ จำเลยจะริบมัดจำของโจทก์ไว้ไม่ได้.
จำเลยไม่สามารถทำการก่อสร้างตลาดได้เพราะกรมการศาสนาบอกเลิกสัญญาเช่าที่ดินที่ปลูกสร้างตลาดกับส.. กรณีจึงเข้ามาตรา 378(3) จำเลยจึงต้องคืนมัดจำให้โจทก์.
จำเลยเป็นตัวแทนรับมอบอำนาจทั่วไป ไม่มีการมอบอำนาจโดยชัดแจ้งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 801. จึงไม่มีอำนาจทำสัญญาประนีประนอมยอมความให้เป็นการผูกพันชาวตลาด.ซึ่งเป็นตัวการไม่ให้เรียกคืนเงินมัดจำได้.
จำเลยรับเหมาปลูกสร้างตึกแถว. โจทก์ประสงค์จะเช่าโดยยอมเสียเงินกินเปล่า จึงได้วางเงินมัดจำช่วยค่าก่อสร้าง. แต่จำเลยก่อสร้างตึกแถวไม่ได้ เพราะกำลังเป็นความกับบุคคลภายนอกซึ่งเป็นผู้เช่าที่ดินจากกรมการศาสนาและเป็นผู้จ้างจำเลยปลูกสร้าง. ดังนี้ ถือว่าจำเลยไม่อยู่ในฐานะที่จะทำการชำระหนี้ฝ่ายตนตอบแทนโจทก์ได้. ถือไม่ได้ว่าการที่โจทก์ยังไม่ออกไปจากห้องเช่าเดิมเป็นความผิดของโจทก์ จำเลยจะริบมัดจำของโจทก์ไว้ไม่ได้.
จำเลยไม่สามารถทำการก่อสร้างตลาดได้เพราะกรมการศาสนาบอกเลิกสัญญาเช่าที่ดินที่ปลูกสร้างตลาดกับส.. กรณีจึงเข้ามาตรา 378(3) จำเลยจึงต้องคืนมัดจำให้โจทก์.
จำเลยเป็นตัวแทนรับมอบอำนาจทั่วไป ไม่มีการมอบอำนาจโดยชัดแจ้งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 801. จึงไม่มีอำนาจทำสัญญาประนีประนอมยอมความให้เป็นการผูกพันชาวตลาด.ซึ่งเป็นตัวการไม่ให้เรียกคืนเงินมัดจำได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 439/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ธนาคารต้องรับผิดต่อการรับฝากเงินของผู้จัดการสาขา แม้รับฝากนอกสถานที่หรือนอกเวลาทำการ
กิจการของธนาคารมีการรับฝากเงินเป็นประการสำคัญ ดังนั้น ผู้จัดการธนาคารกระทำการรับฝากเงิน ก็เป็นกิจการที่ธนาคารมอบหมายให้กระทำ ข้อที่ผู้จัดการสาขาไปรับฝากเงินถึงบ้านผู้ฝาก และรับฝากในวันธนาคารหยุด การฝากเงินนอกสถานที่เป็นกิจการของธนาคาร จำเลยจะอ้างว่าผู้จัดการสาขากระทำโดยปราศจากอำนาจหรือนอกเหนืออำนาจหาได้ไม่
ผู้จัดการสาขาธนาคารรับฝากเงินมาแล้ว ไม่เอาเข้าบัญชีธนาคาร ซึ่งเป็นเรื่องตัวแทนไม่ส่งทรัพย์สินที่ได้มาแก่ตัวการ ตัวการจะปฏิเสธความรับผิดว่าทำนอกเหนืออำนาจย่อมไม่ได้
หนังสือแจ้งยอดคงเหลือ ซึ่งหนังสือของธนาคารสาขาของธนาคารจำเลยมีถึงโจทก์ ย่อมเป็นหนังสือของธนาคารจำเลย จำเลยจะอ้างว่าเป็นหนังสือส่วนตัวของผู้จัดการสาขาหาได้ไม่ เพราะจำเลยแต่งตั้งให้ทำหน้าที่ผู้จัดการมีอำนาจเป็นตัวแทนจำเลย
การที่โจทก์ซึ่งเป็นผู้ฝากเงินต่อผู้จัดการสาขาธนาคารแจ้งว่าผู้จัดการนั้นไม่เอาเงินเข้าบัญชี เป็นการยักยอกเงินโจทก์ คำแจ้งความเช่นนี้ไม่ทำให้ธนาคารจำเลยไม่ต้องรับผิดต่อโจทก์ผู้ฝาก
ผู้จัดการสาขาธนาคารรับฝากเงินมาแล้ว ไม่เอาเข้าบัญชีธนาคาร ซึ่งเป็นเรื่องตัวแทนไม่ส่งทรัพย์สินที่ได้มาแก่ตัวการ ตัวการจะปฏิเสธความรับผิดว่าทำนอกเหนืออำนาจย่อมไม่ได้
หนังสือแจ้งยอดคงเหลือ ซึ่งหนังสือของธนาคารสาขาของธนาคารจำเลยมีถึงโจทก์ ย่อมเป็นหนังสือของธนาคารจำเลย จำเลยจะอ้างว่าเป็นหนังสือส่วนตัวของผู้จัดการสาขาหาได้ไม่ เพราะจำเลยแต่งตั้งให้ทำหน้าที่ผู้จัดการมีอำนาจเป็นตัวแทนจำเลย
การที่โจทก์ซึ่งเป็นผู้ฝากเงินต่อผู้จัดการสาขาธนาคารแจ้งว่าผู้จัดการนั้นไม่เอาเงินเข้าบัญชี เป็นการยักยอกเงินโจทก์ คำแจ้งความเช่นนี้ไม่ทำให้ธนาคารจำเลยไม่ต้องรับผิดต่อโจทก์ผู้ฝาก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 439/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจตัวแทนธนาคาร: ธนาคารต้องรับผิดชอบการรับฝากเงินของผู้จัดการสาขา แม้เป็นการรับฝากนอกสถานที่หรือนอกเวลาทำการ
กิจการของธนาคารมีการรับฝากเงินเป็นประการสำคัญ ดังนั้นผู้จัดการธนาคารกระทำการรับฝากเงิน ก็เป็นกิจการที่ธนาคารมอบหมายให้กระทำ ข้อที่ผู้จัดการสาขาไปรับฝากเงินถึงบ้านผู้ฝากและรับฝากในวันธนาคารหยุดการฝากเงินนอกสถานที่เป็นกิจการของธนาคารจำเลยจะอ้างว่าผู้จัดการสาขากระทำโดยปราศจากอำนาจหรือนอกเหนืออำนาจหาได้ไม่
ผู้จัดการสาขาธนาคารรับฝากเงินมาแล้ว ไม่เอาเข้าบัญชีธนาคารซึ่งเป็นเรื่องตัวแทนไม่ส่งทรัพย์สินที่ได้มาแก่ตัวการ ตัวการจะปฏิเสธความรับผิดว่าทำนอกเหนืออำนาจย่อมไม่ได้
หนังสือแจ้งยอดคงเหลือ ซึ่งเป็นหนังสือของธนาคารสาขาของธนาคารจำเลยมีถึงโจทก์ ย่อมเป็นหนังสือของธนาคารจำเลยจำเลยจะอ้างว่าเป็นหนังสือส่วนตัวของผู้จัดการสาขาหาได้ไม่ เพราะจำเลยแต่งตั้งให้ทำหน้าที่ผู้จัดการมีอำนาจเป็นตัวแทนจำเลย
การที่โจทก์ซึ่งเป็นผู้ฝากเงินต่อผู้จัดการสาขาธนาคารแจ้งว่าผู้จัดการนั้นไม่เอาเงินเข้าบัญชี เป็นการยักยอกเงินโจทก์คำแจ้งความ เช่นนี้ไม่ทำให้ธนาคารจำเลยไม่ต้องรับผิดต่อโจทก์ผู้ฝาก
ผู้จัดการสาขาธนาคารรับฝากเงินมาแล้ว ไม่เอาเข้าบัญชีธนาคารซึ่งเป็นเรื่องตัวแทนไม่ส่งทรัพย์สินที่ได้มาแก่ตัวการ ตัวการจะปฏิเสธความรับผิดว่าทำนอกเหนืออำนาจย่อมไม่ได้
หนังสือแจ้งยอดคงเหลือ ซึ่งเป็นหนังสือของธนาคารสาขาของธนาคารจำเลยมีถึงโจทก์ ย่อมเป็นหนังสือของธนาคารจำเลยจำเลยจะอ้างว่าเป็นหนังสือส่วนตัวของผู้จัดการสาขาหาได้ไม่ เพราะจำเลยแต่งตั้งให้ทำหน้าที่ผู้จัดการมีอำนาจเป็นตัวแทนจำเลย
การที่โจทก์ซึ่งเป็นผู้ฝากเงินต่อผู้จัดการสาขาธนาคารแจ้งว่าผู้จัดการนั้นไม่เอาเงินเข้าบัญชี เป็นการยักยอกเงินโจทก์คำแจ้งความ เช่นนี้ไม่ทำให้ธนาคารจำเลยไม่ต้องรับผิดต่อโจทก์ผู้ฝาก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1460/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจทนายความในการดำเนินคดีล้มละลายแทนเจ้าหนี้: การมอบอำนาจครอบคลุมถึงการอุทธรณ์ฎีกา
คดีล้มละลาย การที่เจ้าหนี้มอบอำนาจให้ทนายความเป็นผู้ยื่นคำขอรับชำระหนี้แทน และให้มีสิทธิออกเสียงในที่ประชุมเจ้าหนี้ ประนีประนอมยอมความ รับเงิน ตลอดจนทำการอื่นใดที่เกี่ยวกับคดีล้มละลายเรื่องใดเรื่องหนึ่งนั้น ทนายผู้รับมอบอำนาจย่อมมีสิทธิที่จะดำเนินคดีแทนเจ้าหนี้คนนั้นได้ตลอดไปจนถึงชั้นอุทธรณ์ฎีกาคำสั่งศาลด้วย เพราะเป็นเรื่องของกระบวนพิจารณาที่สืบต่อจากการยื่นคำขอรับชำระหนี้นั้นเอง