พบผลลัพธ์ทั้งหมด 94 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 538/2493
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีของนายกเทศมนตรี และการสิ้นสุดสัญญาเช่าเมื่อครบกำหนด
เทศบาลเป็นนิติบุคคล นายกเทศมนตรีมีอำนาจฟ้องคดีซึ่งเทศบาลเป็นโจทก์ และลงชื่อแต่งทนายได้
สัญญาเช่าที่มีกำหนดเมื่อครบกำหนดสัญญาย่อมระงับโดยมิพักต้องบอกกล่าวก่อน
สัญญาเช่าที่มีกำหนดเมื่อครบกำหนดสัญญาย่อมระงับโดยมิพักต้องบอกกล่าวก่อน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 725/2492 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตอำนาจผู้รับมอบอำนาจ: การฟ้องขับไล่จากสัญญาเช่าและการละเมิดสิทธิทรัพย์สินของวัด
ใบมอบอำนาจของเจ้าอาวาสวัดมีข้อความว่า "....เพราะฉะนั้นขอมอบหมายให้ท่าน (นายชวน) เป็นผู้มีอำนาจจัดการเกี่ยวกับผลประโยชน์ในที่ธรณีสงฆ์ และทรัพย์สินของวัดที่ได้รับมอบคืนมาจากกรมการศาสนาทั้งหมดนั้น ตลอดจนเป็นผู้แทนวัดทุกกรณี และเมื่อมีผู้ใดทำการละเมิดอันเป็นเหตุให้ที่ธรณีสงฆ์และทรัพย์สินของวัดเสียหายขาดประโยชน์ก็ให้มีอำนาจดำเนินคดียื่นฟ้องต่อศาล ตลอดจนปราณีประนอมยอมความและแต่งทนายได้ด้วย......." ดังนี้ ย่อมกินถึงการดำเนินคดีที่มีผู้ล่วงเกินสิทธิของวัด อันเป็นเหตุให้ทรัพย์สินของวัดเสียหายหรือขาดประโยชน์ทุกกรณี ไม่ว่าจะเป็นการล่วงเกินโดยทำผิดสัญญาหรือโดยประการอื่น ฉะนั้นผู้รับมอบอำนาจจึงมีอำนาจฟ้องขับไล่ผู้เช่าห้องแถวของวัด โดยอ้างว่าผู้เช่าทำผิดสัญญาเช่าได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 725/2492
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตอำนาจตามใบมอบอำนาจ: การฟ้องขับไล่จากสัญญาเช่าและละเมิด
ใบมอบอำนาจของเจ้าอาวาสวัดมีข้อความว่า '...เพราะฉะนั้นขอมอบหมายให้ท่าน(นายชวน)เป็นผู้มีอำนาจจัดการเกี่ยวกับผลประโยชน์ในที่ธรณีสงฆ์ และทรัพย์สินของวัดที่ได้รับมอบคืนมาจากกรมการศาสนาทั้งหมดนั้น ตลอดจนเป็นผู้แทนวัดทุกกรณี และเมื่อมีผู้ใดทำการละเมิดอันเป็นเหตุให้ที่ธรณีสงฆ์และทรัพย์สินของวัดเสียหายขาดประโยชน์ก็ให้มีอำนาจดำเนินคดียื่นฟ้องต่อศาลตลอดจนประนีประนอมยอมความและแต่งทนายได้ด้วย......' ดังนี้ย่อมกินถึงการดำเนินคดีที่มีผู้ล่วงเกินสิทธิของวัด อันเป็นเหตุให้ทรัพย์สินของวัดเสียหายหรือขาดประโยชน์ทุกกรณี ไม่ว่าจะเป็นการล่วงเกินโดยทำผิดสัญญาหรือโดยประการอื่น ฉะนั้นผู้รับมอบอำนาจจึงมีอำนาจฟ้องขับไล่ผู้เช่าห้องแถวของวัด โดยอ้างว่าผู้เช่าทำผิดสัญญาเช่าได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 254/2492 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิที่ดินวัด & ละเมิดจากการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง: สัญญาให้ที่ธรณีสงฆ์ถือเป็นทรัพย์สินของวัดได้
เจ้าอาวาสมีอำนาจและหน้าที่ตาม พ.ร.บ.ปกครองคณะสงฆ์ 2484 ในเรื่องจัดการทรัพย์สมบัติของวัด ถ้ามีกรณีฟ้องร้องเจ้าอาวาสจะฟ้องร้องเอง หรือมอบอำนาจให้เวยยาวัจจกรฟ้องร้องแทนได้.
ในสัญญายกกรรมสิทธิที่ดินให้ปรากฎว่า ที่ธรณีสงฆ์เป็นผู้รับนั้น ย่อมเป็นที่เข้าใจว่าเป็นการให้เป็นทรัพย์สมบัติของวัด เพราะที่ธรณีสงฆ์ไม่ใช่บุคคล
ข้อความในสัญญาปรากฎว่า "สิ่งซึ่งปลูกสร้างลงในที่ดินรายนี้ย่อมยกให้ด้วยทั้งสิ้น" ดังนั้นเรือนที่ปลูกอยู่ในที่ดินในขณะทำสัญญายกให้ ย่อมตกเป็นกรรมสิทธิแก่ผู้รับในขณะทำสัญญาแล้วนั้น ผู้ใดรื้อถอนภายหลังโดยไม่มีอำนาจอย่างใดย่อมต้องรับผิดในลักษณะละเมิด.
ในสัญญายกกรรมสิทธิที่ดินให้ปรากฎว่า ที่ธรณีสงฆ์เป็นผู้รับนั้น ย่อมเป็นที่เข้าใจว่าเป็นการให้เป็นทรัพย์สมบัติของวัด เพราะที่ธรณีสงฆ์ไม่ใช่บุคคล
ข้อความในสัญญาปรากฎว่า "สิ่งซึ่งปลูกสร้างลงในที่ดินรายนี้ย่อมยกให้ด้วยทั้งสิ้น" ดังนั้นเรือนที่ปลูกอยู่ในที่ดินในขณะทำสัญญายกให้ ย่อมตกเป็นกรรมสิทธิแก่ผู้รับในขณะทำสัญญาแล้วนั้น ผู้ใดรื้อถอนภายหลังโดยไม่มีอำนาจอย่างใดย่อมต้องรับผิดในลักษณะละเมิด.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 254/2492
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ในที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ยกให้วัด: อำนาจจัดการทรัพย์สินของวัด และความรับผิดทางละเมิดจากการรื้อถอน
เจ้าอาวาสมีอำนาจและหน้าที่ตาม พระราชบัญญัติปกครองคณะสงฆ์2484 ในเรื่องจัดการทรัพย์สมบัติของวัด ถ้ามีกรณีฟ้องร้องเจ้าอาวาสจะฟ้องร้องเอง หรือมอบอำนาจให้ไวยาวัจกรฟ้องร้องแทนได้
ในสัญญายกกรรมสิทธิ์ที่ดินให้ปรากฏว่า ที่ธรณีสงฆ์เป็นผู้รับนั้น ย่อมเป็นที่เข้าใจว่าเป็นการให้เป็นทรัพย์สมบัติของวัด เพราะที่ธรณีสงฆ์ไม่ใช่บุคคล
ข้อความในสัญญาปรากฏว่า 'สิ่งซึ่งปลูกสร้างลงในที่ดินรายนี้ยอมยกให้ด้วยทั้งสิ้น' ดังนั้นเรือนที่ปลูกอยู่ในที่ดินในขณะทำสัญญายกให้ ย่อมตกเป็นกรรมสิทธิ์แก่ผู้รับ ในขณะทำสัญญาแล้วนั้นผู้ใดรื้อถอนภายหลังโดยไม่มีอำนาจอย่างใดย่อมต้องรับผิดในลักษณะละเมิด
ในสัญญายกกรรมสิทธิ์ที่ดินให้ปรากฏว่า ที่ธรณีสงฆ์เป็นผู้รับนั้น ย่อมเป็นที่เข้าใจว่าเป็นการให้เป็นทรัพย์สมบัติของวัด เพราะที่ธรณีสงฆ์ไม่ใช่บุคคล
ข้อความในสัญญาปรากฏว่า 'สิ่งซึ่งปลูกสร้างลงในที่ดินรายนี้ยอมยกให้ด้วยทั้งสิ้น' ดังนั้นเรือนที่ปลูกอยู่ในที่ดินในขณะทำสัญญายกให้ ย่อมตกเป็นกรรมสิทธิ์แก่ผู้รับ ในขณะทำสัญญาแล้วนั้นผู้ใดรื้อถอนภายหลังโดยไม่มีอำนาจอย่างใดย่อมต้องรับผิดในลักษณะละเมิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 995/2491 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นิติบุคคลสุขาภิบาลมีสิทธิในทรัพย์สินจำกัดตามวัตถุประสงค์ของกฎหมายจัดตั้งเท่านั้น
นิติบุคคล หาจำต้องจำกัดว่าอยู่ใน 6 จำพวกดังที่กล่าวไว้ใน ม.72 ป.ม.แพ่ง ฯ ไม่ มาตรา 68 ได้บัญญัติไว้เป็นทำนองว่า นิติบุคคลจะมีขึ้นได้ไม่ฉะเพาะแต่ต้องอาศัยอำนาจแห่งบทบัญญัติของ ป.ม.แพ่ง ฯ อย่างเดียว อาจอาศัยอำนาจกฎหมายอื่นก็ได้
สุขาภิบาลหัวเมืองจะเป็นนิติบุคคลหรือไม่ ต้องพิเคราะห์ดู พ.ร.บ.จัดการตั้งสุขาภิบาลตามหัวเมือง ร.ศ. 127.
เมื่อพิจารณาบทบัญญัติแห่งมาตรา 4, 8, 9, 10, 11 แห่ง พ.ร.บ.จัดการตั้งสุขาภิบาลตามหัวเมือง ร.ศ. 127 แล้ว พึงเห็นได้ว่า เงินภาษีโรงร้านที่พระราชทานให้เก็บใช้ในการตั้งสุขาภิบาลนั้นก็ดี หรือว่าเงินผลประโยชน์อย่างอื่นที่จะพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้ฉะเพาะในการสุขาภิบาลนั้นก็ดี สุขาภิบาลมีกรรมสิทธิในเงินเหล่านั้นได้เช่นบุคคลในกฎหมาย ซึ่งอาจจะถือได้ว่าสุขาภิบาลเป็นนิติบุคคลเพื่อการมีสิทธิในเงินดังกล่าวแล้ว
มาตรา 69 ป.ม.แพ่ง ฯ บัญญัติว่านิติบุคคลย่อมมีสิทธิ์และหน้าที่ต่าง ๆ ตามบทบัญญัติทั้งปวงแห่งกฎหมาย ในขอบวัตถุประสงค์ของตน ดังมีกำหนดไว้ในข้อบังคับหรือตราสารจัดตั้ง ดังนี้เมื่อพระราชบัญญัติจัดการสุขาภิบาลอันเป็นตราสารจัดตั้งสุขาภิบาลได้กำหนดให้สุขาภิบาลมีสิทธิแต่เพียงที่จะเกี่ยวกับเงินที่จะพระราชทานให้เท่านั้น สุขาภิบาลนั้นหามีสิทธิแสวงหาประโยชน์ในทางอื่น เช่น บุคคลธรรมดาไม่
ในดินที่พิพากในคดีนี้ แม้จะถือว่าเป็นที่รกร้างว่างเปล่า สุขาภิบาลก็ไม่มีสิทธิจะเข้าจับจองถือเอา เพื่อกรรมสิทธิ์แก่สุขาภิบาล โดยฉะเพาะเพราอยู่นอกวัตถุประสงค์ของตราสารจัดตั้งสุขาภิบาล
คำพิพากษาวึ่งในที่สุดจะต้องเป็นเรื่องชี้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้น ย่อมใช้ผูกพันประชาชนได้ทั่วไป จึงเป็นข้อที่เกี่ยวกับความสงบเรียกร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน เมื่อสุขาภิบาลไม่มีสิทธิอย่างนิติบุคคล ในอันที่จะจับจองหรือถือเอาที่ดินที่ไม่มีผู้ปกครอง เพื่อกรรมสิทธิฉะเพาะตนในอันที่จะแสวงผลกำไรสู่ตนโดยไม่ใช่การต่าง ๆ ที่ พ.ร.บ.จัดการตั้งสุขาภิบาลตามหัวเมือง มอบหน้าที่ไว้ ศาลย่อมจะพิพากษาให้เกิดผลในที่ดินนั้นเป็นกรราสิทธิของสุขภิบาลไม่ได้
สุขาภิบาลหัวเมืองจะเป็นนิติบุคคลหรือไม่ ต้องพิเคราะห์ดู พ.ร.บ.จัดการตั้งสุขาภิบาลตามหัวเมือง ร.ศ. 127.
เมื่อพิจารณาบทบัญญัติแห่งมาตรา 4, 8, 9, 10, 11 แห่ง พ.ร.บ.จัดการตั้งสุขาภิบาลตามหัวเมือง ร.ศ. 127 แล้ว พึงเห็นได้ว่า เงินภาษีโรงร้านที่พระราชทานให้เก็บใช้ในการตั้งสุขาภิบาลนั้นก็ดี หรือว่าเงินผลประโยชน์อย่างอื่นที่จะพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้ฉะเพาะในการสุขาภิบาลนั้นก็ดี สุขาภิบาลมีกรรมสิทธิในเงินเหล่านั้นได้เช่นบุคคลในกฎหมาย ซึ่งอาจจะถือได้ว่าสุขาภิบาลเป็นนิติบุคคลเพื่อการมีสิทธิในเงินดังกล่าวแล้ว
มาตรา 69 ป.ม.แพ่ง ฯ บัญญัติว่านิติบุคคลย่อมมีสิทธิ์และหน้าที่ต่าง ๆ ตามบทบัญญัติทั้งปวงแห่งกฎหมาย ในขอบวัตถุประสงค์ของตน ดังมีกำหนดไว้ในข้อบังคับหรือตราสารจัดตั้ง ดังนี้เมื่อพระราชบัญญัติจัดการสุขาภิบาลอันเป็นตราสารจัดตั้งสุขาภิบาลได้กำหนดให้สุขาภิบาลมีสิทธิแต่เพียงที่จะเกี่ยวกับเงินที่จะพระราชทานให้เท่านั้น สุขาภิบาลนั้นหามีสิทธิแสวงหาประโยชน์ในทางอื่น เช่น บุคคลธรรมดาไม่
ในดินที่พิพากในคดีนี้ แม้จะถือว่าเป็นที่รกร้างว่างเปล่า สุขาภิบาลก็ไม่มีสิทธิจะเข้าจับจองถือเอา เพื่อกรรมสิทธิ์แก่สุขาภิบาล โดยฉะเพาะเพราอยู่นอกวัตถุประสงค์ของตราสารจัดตั้งสุขาภิบาล
คำพิพากษาวึ่งในที่สุดจะต้องเป็นเรื่องชี้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้น ย่อมใช้ผูกพันประชาชนได้ทั่วไป จึงเป็นข้อที่เกี่ยวกับความสงบเรียกร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน เมื่อสุขาภิบาลไม่มีสิทธิอย่างนิติบุคคล ในอันที่จะจับจองหรือถือเอาที่ดินที่ไม่มีผู้ปกครอง เพื่อกรรมสิทธิฉะเพาะตนในอันที่จะแสวงผลกำไรสู่ตนโดยไม่ใช่การต่าง ๆ ที่ พ.ร.บ.จัดการตั้งสุขาภิบาลตามหัวเมือง มอบหน้าที่ไว้ ศาลย่อมจะพิพากษาให้เกิดผลในที่ดินนั้นเป็นกรราสิทธิของสุขภิบาลไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 995/2491
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นิติบุคคลสุขาภิบาล: สิทธิจำกัดตามวัตถุประสงค์กฎหมาย และกรรมสิทธิ์ในที่ดิน
นิติบุคคล หาจำต้องจำกัดว่าอยู่ใน 6 จำพวกดังที่กล่าวไว้ใน มาตรา 72 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ไม่ มาตรา 68ได้บัญญัติไว้เป็นทำนองว่านิติบุคคลจะมีขึ้นได้ไม่เฉพาะแต่ต้องอาศัยอำนาจแห่งบทบัญญัติของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์อย่างเดียว อาจอาศัยอำนาจกฎหมายอื่นก็ได้
สุขาภิบาลหัวเมืองจะเป็นนิติบุคคลหรือไม่ ต้องพิเคราะห์ดูพระราชบัญญัติจัดการตั้งสุขาภิบาลตามหัวเมือง ร.ศ.127
เมื่อพิจารณาบทบัญญัติแห่งมาตรา 4,8,9,10,11 แห่งพระราชบัญญัติจัดการตั้งสุขาภิบาลตามหัวเมือง ร.ศ.127 แล้วพึงเห็นได้ว่าเงินภาษีโรงร้านที่พระราชทานให้เก็บใช้ในการตั้งสุขาภิบาลนั้นก็ดี หรือว่าเงินผลประโยชน์อย่างอื่นที่จะพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้เฉพาะในการสุขาภิบาลนั้นก็ดี สุขาภิบาลมีกรรมสิทธิ์ในเงินเหล่านั้นได้เช่นบุคคลในกฎหมายซึ่งอาจจะถือได้ว่าสุขาภิบาลเป็นนิติบุคคลเพื่อการมีสิทธิในเงินดังกล่าวแล้ว
มาตรา 69 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บัญญัติว่านิติบุคคลย่อมมีสิทธิ์และหน้าที่ต่างๆ ตามบทบัญญัติทั้งปวงแห่งกฎหมายภายในขอบวัตถุประสงค์ของตนดังมีกำหนดไว้ในข้อบังคับหรือตราสารจัดตั้งดังนี้ เมื่อพระราชบัญญัติจัดการสุขาภิบาลอันเป็นตราสารจัดตั้งสุขาภิบาลได้กำหนดให้สุขาภิบาลมีสิทธิแต่เพียงที่เกี่ยวกับเงินที่จะพระราชทานให้เท่านั้น สุขาภิบาลนั้นหามีสิทธิแสวงหาประโยชน์ในทางอื่นเช่นบุคคลธรรมดาไม่
ที่ดินที่พิพาทในคดีนี้ แม้จะถือว่าเป็นที่รกร้างว่างเปล่า สุขาภิบาลก็ไม่มีสิทธิจะเข้าจับจองถือเอาเพื่อกรรมสิทธิ์แก่สุขาภิบาลโดยเฉพาะ เพราะอยู่นอกวัตถุประสงค์ของตราสารจัดตั้งสุขาภิบาล
คำพิพากษาซึ่งในที่สุดจะต้องเป็นเรื่องชี้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้น ย่อมใช้ผูกพันประชาชนได้ทั่วไป จึงเป็นข้อที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน เมื่อสุขาภิบาลไม่มีสิทธิอย่างนิติบุคคลในอันที่จะจับจองหรือถือเอาที่ดินที่ไม่มีผู้ครอบครองเพื่อกรรมสิทธิ์เฉพาะตนในอันที่จะแสวงผลกำไรสู่ตนโดยไม่ใช่การต่างๆ ที่พระราชบัญญัติจัดการสุขาภิบาลมอบหน้าที่ให้ไว้ ศาลย่อมจะพิพากษาให้เกิดผลในที่ดินนั้นเป็นกรรมสิทธิ์ของสุขาภิบาลไม่ได้
สุขาภิบาลหัวเมืองจะเป็นนิติบุคคลหรือไม่ ต้องพิเคราะห์ดูพระราชบัญญัติจัดการตั้งสุขาภิบาลตามหัวเมือง ร.ศ.127
เมื่อพิจารณาบทบัญญัติแห่งมาตรา 4,8,9,10,11 แห่งพระราชบัญญัติจัดการตั้งสุขาภิบาลตามหัวเมือง ร.ศ.127 แล้วพึงเห็นได้ว่าเงินภาษีโรงร้านที่พระราชทานให้เก็บใช้ในการตั้งสุขาภิบาลนั้นก็ดี หรือว่าเงินผลประโยชน์อย่างอื่นที่จะพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้เฉพาะในการสุขาภิบาลนั้นก็ดี สุขาภิบาลมีกรรมสิทธิ์ในเงินเหล่านั้นได้เช่นบุคคลในกฎหมายซึ่งอาจจะถือได้ว่าสุขาภิบาลเป็นนิติบุคคลเพื่อการมีสิทธิในเงินดังกล่าวแล้ว
มาตรา 69 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บัญญัติว่านิติบุคคลย่อมมีสิทธิ์และหน้าที่ต่างๆ ตามบทบัญญัติทั้งปวงแห่งกฎหมายภายในขอบวัตถุประสงค์ของตนดังมีกำหนดไว้ในข้อบังคับหรือตราสารจัดตั้งดังนี้ เมื่อพระราชบัญญัติจัดการสุขาภิบาลอันเป็นตราสารจัดตั้งสุขาภิบาลได้กำหนดให้สุขาภิบาลมีสิทธิแต่เพียงที่เกี่ยวกับเงินที่จะพระราชทานให้เท่านั้น สุขาภิบาลนั้นหามีสิทธิแสวงหาประโยชน์ในทางอื่นเช่นบุคคลธรรมดาไม่
ที่ดินที่พิพาทในคดีนี้ แม้จะถือว่าเป็นที่รกร้างว่างเปล่า สุขาภิบาลก็ไม่มีสิทธิจะเข้าจับจองถือเอาเพื่อกรรมสิทธิ์แก่สุขาภิบาลโดยเฉพาะ เพราะอยู่นอกวัตถุประสงค์ของตราสารจัดตั้งสุขาภิบาล
คำพิพากษาซึ่งในที่สุดจะต้องเป็นเรื่องชี้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้น ย่อมใช้ผูกพันประชาชนได้ทั่วไป จึงเป็นข้อที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน เมื่อสุขาภิบาลไม่มีสิทธิอย่างนิติบุคคลในอันที่จะจับจองหรือถือเอาที่ดินที่ไม่มีผู้ครอบครองเพื่อกรรมสิทธิ์เฉพาะตนในอันที่จะแสวงผลกำไรสู่ตนโดยไม่ใช่การต่างๆ ที่พระราชบัญญัติจัดการสุขาภิบาลมอบหน้าที่ให้ไว้ ศาลย่อมจะพิพากษาให้เกิดผลในที่ดินนั้นเป็นกรรมสิทธิ์ของสุขาภิบาลไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 985/2491 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อธิบดีกรมป่าไม้มีอำนาจฟ้องขับไล่ผู้อาศัยที่ดินราชพัสดุในนามกรมป่าไม้ได้
อธิบดีกรมป่าไม้มีอำนาจฟ้องขับไล่ผู้อาศัยที่ดินราชพัสดุที่ใช้ในราชการของกรมป่าไม้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 985/2491
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อธิบดีกรมป่าไม้มีอำนาจฟ้องขับไล่ผู้อาศัยที่ดินราชพัสดุที่ใช้ในราชการได้ โดยฟ้องในนามกรมป่าไม้
อธิบดีกรมป่าไม้มีอำนาจฟ้องขับไล่ผู้อาศัยที่ดินราชพัสดุที่ใช้ในราชการของกรมป่าไม้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 724/2490 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
รัฐบาลไม่เป็นนิติบุคคล จึงฟ้องร้องต่อศาลไม่ได้ และการคำนวณค่าขึ้นศาลเมื่อศาลไม่รับฟ้อง
ผู้ที่จะฟ้องหรือถูกฟ้องเป็นจำเลยในโรงศาลนั้นจะต้องเป็นบุคคลโดยเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลตาม ก.ม.
รัฐบาลไม่เป็นนิติบุคคลตาม ก.ม.จึงเป็นคู่ความไม่ได้
ศาลสั่งในคำฟ้องโจทก์ว่าไม่เป็นฟ้องที่จะรับไว้พิจารณา เมื่อโจทก์จะอุทธรณ์ฎีกาคำสั่งเช่นนี้เสียค่าขึ้นศาล 20 บาท ตาม 2 ข. แห่งตาราง 1 ต่อท้าย ป.วิ.แพ่ง ไม่ใช่ว่าจะต้องเสียตามจำนวนทุนทรัพย์ที่ตั้งมาในคำฟ้อง
รัฐบาลไม่เป็นนิติบุคคลตาม ก.ม.จึงเป็นคู่ความไม่ได้
ศาลสั่งในคำฟ้องโจทก์ว่าไม่เป็นฟ้องที่จะรับไว้พิจารณา เมื่อโจทก์จะอุทธรณ์ฎีกาคำสั่งเช่นนี้เสียค่าขึ้นศาล 20 บาท ตาม 2 ข. แห่งตาราง 1 ต่อท้าย ป.วิ.แพ่ง ไม่ใช่ว่าจะต้องเสียตามจำนวนทุนทรัพย์ที่ตั้งมาในคำฟ้อง