พบผลลัพธ์ทั้งหมด 89 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 949/2519
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายรถยนต์ผ่อนชำระ: กรรมสิทธิ์โอนเมื่อผ่อนชำระครบถ้วน ไม่ใช่สัญญาเช่าซื้อ
สัญญาซื้อขายรถยนต์ให้ผู้ซื้อผ่อนชำระราคารายเดือน จะโอนกรรมสิทธิ์ให้เมื่อผู้ซื้อผ่อนชำระราคาครบถ้วนแล้ว ไม่มีข้อความตอนใดให้เห็นว่าเป็นเรื่องเจ้าของเอาทรัพย์สินออกให้เช่า และให้คำมั่นว่าจะขายทรัพย์สินนั้น ทั้งไม่บังคับตาม มาตรา 574 เป็นสัญญาซื้อขายโดยมีเงื่อนไขในการโอนกรรมสิทธิ์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 459 หาใช่สัญญาเช่าซื้อไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 149/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายรถยนต์มีเงื่อนไข การพ้นวิสัย และผลกระทบต่อสิทธิเรียกร้องตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
โจทก์ขายรถยนต์เฟี้ยตให้จำเลยราคา 55,000 บาท โดยให้จำเลยชำระราคาด้วยเงินสด 20,000 บาท กับรถยนต์ออสตินของจำเลยตีราคา 35,000 บาท โจทก์จำเลยส่งมอบรถยนต์และเงินสดให้แก่กันแล้ว และตกลงจะไปโอนทะเบียนรถยนต์ให้กันเมื่อโจทก์ผ่อนชำระราคาครบ และรับโอนทะเบียนมาจากกรมสวัสดิการฯ แล้ว ดังนี้ แสดงว่าทั้งสองฝ่ายยังไม่มีเจตนาโอนกรรมสิทธิ์รถยนต์ให้กันจนกว่าการจะได้เป็นไปตามเงื่อนไขแล้ว
ระหว่างที่เงื่อนไขยังไม่สำเร็จ รถยนต์เฟี้ยตซึ่งอยู่ในครอบครองของจำเลยถูกเพลิงไหม้ใช้การไม่ได้ โดยไม่ใช่ความผิดของฝ่ายใด เป็นการพ้นวิสัยที่โจทก์จะโอนกรรมสิทธิ์รถยนต์เฟี้ยตให้จำเลยได้ ดังนี้ โจทก์ก็ไม่มีสิทธิจะเรียกร้องให้จำเลยโอนกรรมสิทธิ์รถยนต์ออสตินให้โจทก์ได้ เพราะเป็นสัญญาต่างตอบแทนกันตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 372 วรรคแรก เมื่อกรรมสิทธิ์ยังไม่โอนมายังโจทก์ ก็ไม่เรียกว่าเป็นสัญญามีวัตถุประสงค์เป็นการก่อให้เกิดหรือโอนทรัพยสิทธิในทรัพย์นั้นตามมาตรา 370 และมาตรา 371 ก็บัญญัติว่า สัญญาต่างตอบแทน ถ้ามีเงื่อนไขบังคับก่อนและทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งสัญญานั้นสูญหรือทำลายลงในระหว่างที่เงื่อนไขยังไม่สำเร็จ จะนำมาตรา 370 มาใช้บังคับไม่ได้อีกด้วย
ระหว่างที่เงื่อนไขยังไม่สำเร็จ รถยนต์เฟี้ยตซึ่งอยู่ในครอบครองของจำเลยถูกเพลิงไหม้ใช้การไม่ได้ โดยไม่ใช่ความผิดของฝ่ายใด เป็นการพ้นวิสัยที่โจทก์จะโอนกรรมสิทธิ์รถยนต์เฟี้ยตให้จำเลยได้ ดังนี้ โจทก์ก็ไม่มีสิทธิจะเรียกร้องให้จำเลยโอนกรรมสิทธิ์รถยนต์ออสตินให้โจทก์ได้ เพราะเป็นสัญญาต่างตอบแทนกันตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 372 วรรคแรก เมื่อกรรมสิทธิ์ยังไม่โอนมายังโจทก์ ก็ไม่เรียกว่าเป็นสัญญามีวัตถุประสงค์เป็นการก่อให้เกิดหรือโอนทรัพยสิทธิในทรัพย์นั้นตามมาตรา 370 และมาตรา 371 ก็บัญญัติว่า สัญญาต่างตอบแทน ถ้ามีเงื่อนไขบังคับก่อนและทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งสัญญานั้นสูญหรือทำลายลงในระหว่างที่เงื่อนไขยังไม่สำเร็จ จะนำมาตรา 370 มาใช้บังคับไม่ได้อีกด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 149/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายรถยนต์มีเงื่อนไข การพ้นวิสัย และผลกระทบต่อสิทธิหน้าที่ของคู่สัญญา
โจทก์ขายรถยนต์เฟี้ยตให้จำเลยราคา 55,000 บาท โดยให้จำเลยชำระราคาด้วยเงินสด 20,000 บาท กับรถยนต์ออสตินของจำเลยตีราคา 35,000 บาท โจทก์จำเลยส่งมอบรถยนต์และเงินสดให้แก่กันแล้ว และตกลงจะไปโอนทะเบียนรถยนต์ให้กันเมื่อโจทก์ผ่อนชำระราคาครบและรับโอนทะเบียนมาจากกรมสวัสดิการฯ แล้ว ดังนี้ แสดงว่าทั้งสองฝ่ายยังไม่มีเจตนาโอนกรรมสิทธิ์รถยนต์ให้กันจนกว่าการจะได้เป็นไปตามเงื่อนไขแล้ว
ระหว่างที่เงื่อนไขยังไม่สำเร็จ รถยนต์เฟี้ยตซึ่งอยู่ในครอบครองของจำเลยถูกเพลิงไหม้ใช้การไม่ได้โดยไม่ใช่ความผิดของฝ่ายใด เป็นการพ้นวิสัยที่โจทก์จะโอนกรรมสิทธิ์รถยนต์เฟี้ยตให้จำเลยได้ ดังนี้ โจทก์ก็ไม่มีสิทธิจะเรียกร้องให้จำเลยโอนกรรมสิทธิ์รถยนต์ออสตินให้โจทก์ได้เพราะเป็นสัญญาต่างตอบแทนกัน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 372 วรรคแรก และเมื่อกรรมสิทธิ์ยังไม่โอนมายังโจทก์ ก็ไม่เรียกว่าเป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์เป็นการก่อให้เกิดหรือโอนทรัพยสิทธิในทรัพย์นั้น ตามมาตรา 370และมาตรา 371 ก็บัญญัติว่า สัญญาต่างตอบแทนถ้ามีเงื่อนไขบังคับก่อน และทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งสัญญานั้นสูญหรือทำลายลงในระหว่างที่เงื่อนไขยังไม่สำเร็จ จะนำมาตรา 370 มาใช้บังคับไม่ได้อีกด้วย
ระหว่างที่เงื่อนไขยังไม่สำเร็จ รถยนต์เฟี้ยตซึ่งอยู่ในครอบครองของจำเลยถูกเพลิงไหม้ใช้การไม่ได้โดยไม่ใช่ความผิดของฝ่ายใด เป็นการพ้นวิสัยที่โจทก์จะโอนกรรมสิทธิ์รถยนต์เฟี้ยตให้จำเลยได้ ดังนี้ โจทก์ก็ไม่มีสิทธิจะเรียกร้องให้จำเลยโอนกรรมสิทธิ์รถยนต์ออสตินให้โจทก์ได้เพราะเป็นสัญญาต่างตอบแทนกัน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 372 วรรคแรก และเมื่อกรรมสิทธิ์ยังไม่โอนมายังโจทก์ ก็ไม่เรียกว่าเป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์เป็นการก่อให้เกิดหรือโอนทรัพยสิทธิในทรัพย์นั้น ตามมาตรา 370และมาตรา 371 ก็บัญญัติว่า สัญญาต่างตอบแทนถ้ามีเงื่อนไขบังคับก่อน และทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งสัญญานั้นสูญหรือทำลายลงในระหว่างที่เงื่อนไขยังไม่สำเร็จ จะนำมาตรา 370 มาใช้บังคับไม่ได้อีกด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1236/2497 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิในทรัพย์สิน การซื้อขายผ่อนส่ง และผลกระทบต่อผู้ซื้อต่อจากผู้ผิดสัญญา
ข้อตกลงในวิธีการชำระราคา+ข้อตกลงให้กรรมสิทธิในทรัพย์ที่ซื้อขายให้โอนไปเมื่อใดนั้น ไม่ใช่ข้อตกลงพิเศษนอกเหนือสัญญาและไม่มีข้อกฎหมายบังคับว่า ข้อตกลงเช่นนี้จะต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ ข้อตกลงเช่นว่านั้นมีผลใช้บังคับได้ ดังนั้นเมื่อบุคคลอื่นได้ทรัพย์นี้ไปและทรัพย์นั้นได้มาระหว่างกันเป็นทอด ๆ ไม่ใช่ในท้องตลาด แม้จะได้มาโดยสุจริตและมีค่าตอบแทนก็ตาม ก็หาได้รับความคุ้มครองตามมาตรา 1320 และ 1332 ไม่
โจทก์จำเลยตกลงกันให้โจทก์กู้เงินจากคนภายนอกมาซื้อโต๊ะบิลเลียดและเครื่องอุปกรณ์มอบให้จำเลยไปแล้วให้จำเลยรับชำระหนี้เงินกู้แก่บุคคลภายนอกแทนโจทก์ จำเลยรับชำระหนี้เงินกู้แก่บุคคลภายนอกแทนโจทก์ จำเลยชำระหนี้เสร็จและได้รับสัญญากู้คืนมาเมื่อใดให้โต๊ะบิลเลียดตกเป็นกรรมสิทธิแก่จำเลย เมื่อจำเลยผ่อนส่งตต้นเงินแทนโจทก์ไปบ้างแล้วคงค้างอีก 6,000 บาท จำเลยจะอ้างว่าราคาโต๊ะอีก 6,000 บาทที่ค้างนี้ได้แปลงเป็นหนี้เงินกู้แล้วไม่ได้เพราะหนี้เงินกู้นั้นเป็นหนี้ที่โจทก์กู้มาแต่แรก ซึ่งจำเลยเพียงแต่รับปากว่าจะชำระแทนโจทก์เท่านั้นหาใช่ว่าได้แปลงหนี้ค่าโต๊ะบิลเลียดกับเครื่องอุปกรณ์มาเป็นสัญญากู้ยืมเงินให้จำเลยต้องรับผิดต้องชำระเงินกู้นั้นไม่ กรรมสิทธิในโต๊ะยังอยู่กับโจทก์ ๆ มีสิทธิติดตามเอาคืนมาได้ตาม ป.พ.พ.ม.1336
โจทก์จำเลยตกลงกันให้โจทก์กู้เงินจากคนภายนอกมาซื้อโต๊ะบิลเลียดและเครื่องอุปกรณ์มอบให้จำเลยไปแล้วให้จำเลยรับชำระหนี้เงินกู้แก่บุคคลภายนอกแทนโจทก์ จำเลยรับชำระหนี้เงินกู้แก่บุคคลภายนอกแทนโจทก์ จำเลยชำระหนี้เสร็จและได้รับสัญญากู้คืนมาเมื่อใดให้โต๊ะบิลเลียดตกเป็นกรรมสิทธิแก่จำเลย เมื่อจำเลยผ่อนส่งตต้นเงินแทนโจทก์ไปบ้างแล้วคงค้างอีก 6,000 บาท จำเลยจะอ้างว่าราคาโต๊ะอีก 6,000 บาทที่ค้างนี้ได้แปลงเป็นหนี้เงินกู้แล้วไม่ได้เพราะหนี้เงินกู้นั้นเป็นหนี้ที่โจทก์กู้มาแต่แรก ซึ่งจำเลยเพียงแต่รับปากว่าจะชำระแทนโจทก์เท่านั้นหาใช่ว่าได้แปลงหนี้ค่าโต๊ะบิลเลียดกับเครื่องอุปกรณ์มาเป็นสัญญากู้ยืมเงินให้จำเลยต้องรับผิดต้องชำระเงินกู้นั้นไม่ กรรมสิทธิในโต๊ะยังอยู่กับโจทก์ ๆ มีสิทธิติดตามเอาคืนมาได้ตาม ป.พ.พ.ม.1336
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1236/2497
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินซื้อขาย: การชำระราคาและการโอนกรรมสิทธิ์, สิทธิเรียกร้องของผู้ขายเมื่อผู้ซื้อผิดสัญญา
ข้อตกลงในวิธีการชำระราคาและข้อตกลงให้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่ซื้อขายให้โอนไปเมื่อใดนั้น ไม่ใช่ข้อตกลงพิเศษนอกเหนือสัญญาและไม่มีข้อกฎหมายบังคับว่า ข้อตกลงเช่นนี้จะต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ ข้อตกลงเช่นว่านั้นมีผลใช้บังคับได้ ดังนั้นเมื่อบุคคลอื่นได้ทรัพย์นี้ไปและทรัพย์นั้นได้มาระหว่างกันเป็นทอดๆ ไม่ใช่ในท้องตลาดแม้จะได้มาโดยสุจริตและมีค่าตอบแทนก็ตาม ก็หาได้รับความคุ้มครองตามมาตรา 1329 และ 1332 ไม่
โจทก์จำเลยตกลงกัน ให้โจทก์กู้เงินจากคนภายนอกมาซื้อโต๊ะบิลเลียดและเครื่องอุปกรณ์มอบให้จำเลยไปแล้ว ให้จำเลยรับชำระหนี้เงินกู้แก่บุคคลภายนอกแทนโจทก์ จำเลยชำระหนี้เสร็จและได้รับสัญญากู้คืนมาเมื่อใดให้โต๊ะบิลเลียดตกเป็นกรรมสิทธิแก่จำเลย เมื่อจำเลยผ่อนส่งต้นเงินแทนโจทก์ไปบ้างแล้วคงค้างอีก 6,000 บาท จำเลยจะอ้างว่าราคาโต๊ะอีก 6,000 บาทที่ค้างนี้ได้แปลงเป็นหนี้เงินกู้แล้วไม่ได้ เพราะหนี้เงินกู้นั้นเป็นหนี้ที่โจทก์กู้มาแต่แรกซึ่งจำเลยเพียงแต่รับปากว่าจะชำระแทนโจทก์เท่านั้น หาใช่ว่าได้แปลงหนี้ค่าโต๊ะบิลเลียดกับเครื่องอุปกรณ์มาเป็นสัญญากู้ยืมเงินให้จำเลยต้องรับผิดต้องชำระเงินกู้นั้นไม่ กรรมสิทธิ์ในโต๊ะยังอยู่กับโจทก์ โจทก์มีสิทธิติดตามเอาคืนมาได้ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1336
โจทก์จำเลยตกลงกัน ให้โจทก์กู้เงินจากคนภายนอกมาซื้อโต๊ะบิลเลียดและเครื่องอุปกรณ์มอบให้จำเลยไปแล้ว ให้จำเลยรับชำระหนี้เงินกู้แก่บุคคลภายนอกแทนโจทก์ จำเลยชำระหนี้เสร็จและได้รับสัญญากู้คืนมาเมื่อใดให้โต๊ะบิลเลียดตกเป็นกรรมสิทธิแก่จำเลย เมื่อจำเลยผ่อนส่งต้นเงินแทนโจทก์ไปบ้างแล้วคงค้างอีก 6,000 บาท จำเลยจะอ้างว่าราคาโต๊ะอีก 6,000 บาทที่ค้างนี้ได้แปลงเป็นหนี้เงินกู้แล้วไม่ได้ เพราะหนี้เงินกู้นั้นเป็นหนี้ที่โจทก์กู้มาแต่แรกซึ่งจำเลยเพียงแต่รับปากว่าจะชำระแทนโจทก์เท่านั้น หาใช่ว่าได้แปลงหนี้ค่าโต๊ะบิลเลียดกับเครื่องอุปกรณ์มาเป็นสัญญากู้ยืมเงินให้จำเลยต้องรับผิดต้องชำระเงินกู้นั้นไม่ กรรมสิทธิ์ในโต๊ะยังอยู่กับโจทก์ โจทก์มีสิทธิติดตามเอาคืนมาได้ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1336
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 716-717/2493
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์รถยนต์, เงื่อนไขการโอน, การซื้อขาย, การครอบครอง, ฟ้องแย้ง
ทะเบียนรถยนต์ไม่เหมือนโฉนดที่ดิน ซึ่งเป็นเอกสารอันเป็นที่ตั้งแห่งกรรมสิทธิ์ทะเบียนรถยนต์เป็นแต่พยานหลักฐานอย่างหนึ่ง ที่แสดงว่าผู้มีชื่อเป็นเจ้าของรถ
การซื้อขายรถยนต์ โดยฝ่ายผู้ซื้อรับมอบรถไป และต่างตกลงกันว่าฝ่ายผู้ซื้อจะต้องชำระราคาให้หมดเสียก่อนผู้ขายจึงจะโอนทะเบียนให้นั้นเป็นเงื่อนไขตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 459 ซึ่งกรรมสิทธิ์ในรถยังไม่โอนไปยังผู้ซื้อ
เงินประมูลราคาทรัพย์สินพิพาทซึ่งฝ่ายที่ประมูลได้นำเงินมาวางศาลไว้โดยมีข้อตกลงกันว่า 'ในที่สุดใครชนะคดีก็มีสิทธิได้เงินนั้นไป' นั้นหมายถึงชนะคดีเมื่อคดีถึงที่สุด เมื่อคู่ความตกลงกันใหม่ในศาลดังกล่าวแล้วแม้การยึดจะได้ทำตามมาตรา 254 ก็ต้องถือว่าเรื่องได้ผ่านมาตรา 254 ไปแล้วจะนำมาตรา 260 มาใช้เพื่อถอนการยึดคืนเงินให้จำเลยไปทันทีไม่ได้
ชั้นฎีกาหากคู่ความมิได้ยกประเด็นข้อใดโต้เถียงศาลฎีกาไม่วินิจฉัยให้
จำเลยซึ่งฟ้องแย้งด้วยนั้น หากแพ้คดีนอกจากจะต้องรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมที่แพ้คดีตามฟ้องโจทก์แล้ว ศาลให้จำเลยที่ฟ้องแย้งต้องใช้ค่าฤชาธรรมเนียมโจทก์ในกรณีที่ฟ้องแย้งถูกยกฟ้องนั้นด้วยอีกส่วนหนึ่ง
การซื้อขายรถยนต์ โดยฝ่ายผู้ซื้อรับมอบรถไป และต่างตกลงกันว่าฝ่ายผู้ซื้อจะต้องชำระราคาให้หมดเสียก่อนผู้ขายจึงจะโอนทะเบียนให้นั้นเป็นเงื่อนไขตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 459 ซึ่งกรรมสิทธิ์ในรถยังไม่โอนไปยังผู้ซื้อ
เงินประมูลราคาทรัพย์สินพิพาทซึ่งฝ่ายที่ประมูลได้นำเงินมาวางศาลไว้โดยมีข้อตกลงกันว่า 'ในที่สุดใครชนะคดีก็มีสิทธิได้เงินนั้นไป' นั้นหมายถึงชนะคดีเมื่อคดีถึงที่สุด เมื่อคู่ความตกลงกันใหม่ในศาลดังกล่าวแล้วแม้การยึดจะได้ทำตามมาตรา 254 ก็ต้องถือว่าเรื่องได้ผ่านมาตรา 254 ไปแล้วจะนำมาตรา 260 มาใช้เพื่อถอนการยึดคืนเงินให้จำเลยไปทันทีไม่ได้
ชั้นฎีกาหากคู่ความมิได้ยกประเด็นข้อใดโต้เถียงศาลฎีกาไม่วินิจฉัยให้
จำเลยซึ่งฟ้องแย้งด้วยนั้น หากแพ้คดีนอกจากจะต้องรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมที่แพ้คดีตามฟ้องโจทก์แล้ว ศาลให้จำเลยที่ฟ้องแย้งต้องใช้ค่าฤชาธรรมเนียมโจทก์ในกรณีที่ฟ้องแย้งถูกยกฟ้องนั้นด้วยอีกส่วนหนึ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 723/2492 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายน้ำตาล: กรรมสิทธิโอนเมื่อใด? ความรับผิดของผู้ขายเมื่อส่งมอบไม่ครบ
โจทก์ได้ทำสัญญาซื้อน้ำตาลจากจำเลย 310 หาบ ซึ่งมีจำนวนแน่นอนอยู่ณที่ซื้อขายและบรรจุกระสอบไว้เต็มทั้ง 310 กระสอบ กระสอบหนึ่งหนัก 60 ก.ก.คือหนึ่งหาบ และน้ำตาลนี้เก็บอยู่เป็นส่วนสัดโดยฉะเพาะในการซื้อขายไม่ต้อง ชั่ง ตวง วัดอีก เมื่อโจทก์ได้ชำระราคาเสร็จสิ้นแล้ว แต่ได้มอบให้จำเลยรักษาไว้ ดังนี้ ถือได้ว่าเป็นการซื้อขายเสร็จเด็ดขาดกรรมสิทธิในน้ำตาลได้โอนไปยังผู้ซื้อตาม ป.ม.แพ่งฯ มาตรา 458 แล้ว เมื่อทางราชการบังคับซื้อไป จำเลยก็ไม่ต้องรับผิด.
โจทก์ทำสัญญาซื้อน้ำตาลจากจำเลย 1740 หาบ โดยไม่มีน้ำตาลอยู่ณที่ซื้อขาย เป็นน้ำตาลที่จำเลยซื้อจากผู้อื่น แยกเก็บไว้ณที่ต่าง ๆ โจทก์ยังไม่ได้ตรวจดูและยังไม่ได้ชำระค่าน้ำตาล ให้แก่จำเลยทั้งหมดเป็นแต่วางมัดจำไว้ กำหนดเงื่อนไขว่า ผู้ขายจะต้องนำน้ำตาลไปส่งผู้ซื้อถึงท่าเรือที่ผู้ซื้อนำเรือไปรับ จึงถือไม่ได้ว่าเป็นการซื้อขายเด็ดขาด น้ำตาลยังเป็นของจำเลยอยู่ ซึ่งจำเลยมีหน้าที่ต้องส่งมอบให้โจทก์เต็มตามสัญญา เมื่อจำเลยส่งไม่ได้ครบจำเลยก็ต้องรับผิดต่อโจทก์ แม้น้ำตาลจะขาดหายไปเพราะการละลายไหลตามธรรมชาติของน้ำตาลที่เก็บไว้นานก็ดี จำเลยก็ต้องรับผิด เพราะการขาดหายนั้นได้เป็นไปในขณะที่น้ำตาลยังเป็นของจำเลยอยู่.
โจทก์ทำสัญญาซื้อน้ำตาลจากจำเลย 1740 หาบ โดยไม่มีน้ำตาลอยู่ณที่ซื้อขาย เป็นน้ำตาลที่จำเลยซื้อจากผู้อื่น แยกเก็บไว้ณที่ต่าง ๆ โจทก์ยังไม่ได้ตรวจดูและยังไม่ได้ชำระค่าน้ำตาล ให้แก่จำเลยทั้งหมดเป็นแต่วางมัดจำไว้ กำหนดเงื่อนไขว่า ผู้ขายจะต้องนำน้ำตาลไปส่งผู้ซื้อถึงท่าเรือที่ผู้ซื้อนำเรือไปรับ จึงถือไม่ได้ว่าเป็นการซื้อขายเด็ดขาด น้ำตาลยังเป็นของจำเลยอยู่ ซึ่งจำเลยมีหน้าที่ต้องส่งมอบให้โจทก์เต็มตามสัญญา เมื่อจำเลยส่งไม่ได้ครบจำเลยก็ต้องรับผิดต่อโจทก์ แม้น้ำตาลจะขาดหายไปเพราะการละลายไหลตามธรรมชาติของน้ำตาลที่เก็บไว้นานก็ดี จำเลยก็ต้องรับผิด เพราะการขาดหายนั้นได้เป็นไปในขณะที่น้ำตาลยังเป็นของจำเลยอยู่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 723/2492
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายน้ำตาล: ความรับผิดของผู้ขายเมื่อส่งมอบไม่ครบถ้วน และผลของการบังคับซื้อโดยราชการ
โจทก์ได้ทำสัญญาซื้อน้ำตาลจากจำเลย 310 หาบ ซึ่งมีจำนวนแน่นอนอยู่ ณที่ซื้อขายและบรรจุกระสอบไว้เต็มทั้ง 310 กระสอบ กระสอบหนึ่งหนัก 60 กิโลกรัม คือหนึ่งหาบ และน้ำตาลนี้เก็บอยู่เป็นส่วนสัดโดยเฉพาะในการซื้อขายไม่ต้อง ชั่ง ตวงวัดอีก เมื่อโจทก์ได้ชำระราคาเสร็จสิ้นแล้ว แต่ได้มอบให้จำเลยรักษาไว้ ดังนี้ ถือได้ว่าเป็นการซื้อขายเสร็จเด็ดขาดกรรมสิทธิ์ในน้ำตาลได้โอนไปยังผู้ซื้อตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 458 แล้ว เมื่อทางราชการบังคับซื้อไป จำเลยก็ไม่ต้องรับผิด
โจทก์ทำสัญญาซื้อน้ำตาลจากจำเลย 1740 หาบ โดยไม่มีน้ำตาลอยู่ณที่ซื้อขาย เป็นน้ำตาลที่จำเลยซื้อจากผู้อื่น แยกเก็บไว้ณที่ต่างๆ โจทก์ยังไม่ได้ตรวจดูและยังไม่ได้ชำระค่าน้ำตาล ให้แก่จำเลยทั้งหมดเป็นแต่วางมัดจำไว้ กำหนดเงื่อนไขว่า ผู้ขายจะต้องนำน้ำตาลไปส่งผู้ซื้อถึงท่าเรือที่ผู้ซื้อนำเรือไปรับ จึงถือไม่ได้ว่าเป็นการซื้อขายเด็ดขาดน้ำตาลยังเป็นของจำเลยอยู่ ซึ่งจำเลยมีหน้าที่ต้องส่งมอบให้โจทก์เต็มตามสัญญา เมื่อจำเลยส่งไม่ได้ครบจำเลยก็ต้องรับผิดต่อโจทก์แม้น้ำตาลจะขาดหายไปเพราะการละลายไหลตามธรรมชาติของน้ำตาลที่เก็บไว้นานก็ดี จำเลยก็ต้องรับผิด เพราะการขาดหายนั้นได้เป็นไปในขณะที่น้ำตาลยังเป็นของจำเลยอยู่
โจทก์ทำสัญญาซื้อน้ำตาลจากจำเลย 1740 หาบ โดยไม่มีน้ำตาลอยู่ณที่ซื้อขาย เป็นน้ำตาลที่จำเลยซื้อจากผู้อื่น แยกเก็บไว้ณที่ต่างๆ โจทก์ยังไม่ได้ตรวจดูและยังไม่ได้ชำระค่าน้ำตาล ให้แก่จำเลยทั้งหมดเป็นแต่วางมัดจำไว้ กำหนดเงื่อนไขว่า ผู้ขายจะต้องนำน้ำตาลไปส่งผู้ซื้อถึงท่าเรือที่ผู้ซื้อนำเรือไปรับ จึงถือไม่ได้ว่าเป็นการซื้อขายเด็ดขาดน้ำตาลยังเป็นของจำเลยอยู่ ซึ่งจำเลยมีหน้าที่ต้องส่งมอบให้โจทก์เต็มตามสัญญา เมื่อจำเลยส่งไม่ได้ครบจำเลยก็ต้องรับผิดต่อโจทก์แม้น้ำตาลจะขาดหายไปเพราะการละลายไหลตามธรรมชาติของน้ำตาลที่เก็บไว้นานก็ดี จำเลยก็ต้องรับผิด เพราะการขาดหายนั้นได้เป็นไปในขณะที่น้ำตาลยังเป็นของจำเลยอยู่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 528/2486 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การตกลงเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขสัญญาซื้อขายไม้และการเปลี่ยนมือสิทธิในทรัพย์สิน
คู่กรนีคำสัญญาซื้อขายไม้พายหลังตกลงพิเสสนอกเหนือไปจากสัญญา และได้ปติบัติไปตามข้อตกลงนั้นครบถ้วนแล้วข้อสัญญานั้นก็เปนอันยกเลิกไป
คำสัญญาซื้อขายไม้โดยมีเงื่อนไขว่าต้องวัดไม้ก่อนเพื่อคิดราคาถัวเปนพิกัด แต่เมื่อตัดไม้บางส่วนแล้ว คู่กรนีตกลงกันว่าไม่ต้องวัดไม้ต่อไป เพียงแต่ไห้นับจำนวนเท่านั้น เมื่อนับครบถ้วนแล้วโจทจึงชำระเงินงวดสุดท้ายไห้ เช่นนี้กัมสิทธิไนไม้เหล่านั้นได้ตกมาหยู่แก่โจทแล้ว.
คำสัญญาซื้อขายไม้โดยมีเงื่อนไขว่าต้องวัดไม้ก่อนเพื่อคิดราคาถัวเปนพิกัด แต่เมื่อตัดไม้บางส่วนแล้ว คู่กรนีตกลงกันว่าไม่ต้องวัดไม้ต่อไป เพียงแต่ไห้นับจำนวนเท่านั้น เมื่อนับครบถ้วนแล้วโจทจึงชำระเงินงวดสุดท้ายไห้ เช่นนี้กัมสิทธิไนไม้เหล่านั้นได้ตกมาหยู่แก่โจทแล้ว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 528/2486
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายไม้และการตกลงเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขสัญญา ทำให้กรรมสิทธิ์ในไม้ตกแก่ผู้ซื้อ
คู่กรณีทำสัญญาซื้อขายไม้ภายหลังตกลงพิเศษนอกเหนือไปจากสัญญาและได้ปฏิบัติไปตามข้อตกลงนั้นครบถ้วนแล้ว ข้อสัญญานั้นก็เป็นอันยกเลิกไป ทำสัญญาซื้อขายไม้โดยมีเงื่อนไขว่าต้องวัดไม้ก่อนเพื่อคิดราคาถัวเป็นพิกัด แต่เมื่อวัดไม้บางส่วนแล้ว คู่กรณีตกลงกันว่าไม่ต้องวัดไม้ต่อไปเพียงแต่ให้นับจำนวนเท่านั้น เมื่อนับครบถ้วนแล้วโจทก์จึงชำระเงินงวดสุดท้ายให้ เช่นนี้กรรมสิทธิ์ในไม้เหล่านั้นได้ตกมาอยู่แก่โจทก์แล้ว