พบผลลัพธ์ทั้งหมด 151 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1077/2519 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดนัดพิจารณาคดีและผลกระทบต่อการจำหน่ายคดี: การที่โจทก์ขาดนัด แม้มีการยื่นคำร้องขอเลื่อน แต่ไม่ดำเนินการพิจารณา ทำให้ศาลจำหน่ายคดีได้
ในวัดนัดสืบพยาน แม้ทนายโจกท์จะได้ยื่นคำร้องขอเลื่อนการพิจารณาแต่เมื่อศาลสั่งไม่อนุญาต ก็ยังมีการนับสืบพยานอยู่ และแม้ทนายโจทก์จะมาศาลในวันนั้นโดยมายื่นคำรองต่อเจ้าพนักงานศาลขอเลื่อนการพิจารณา แต่ไม่อยู่เพื่อดำเนินกระบวนการพิจารณาก็ต้องถือว่าโจทก์ขาดนัดพิจารณา เมื่อโจทก์ขาดนัดพิจารณาและจำเลยแถลงไม่ติดใจให้ดำเนินการพิจารณาต่อไป จึงชอบที่ศาลจะมีคำสั่งคดีเสียตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 201 จำเลยจะอ้างว่าต้องถือว่าโจทก์ไม่มีพยานนำสืบและพิพากษายกฟ้องนั้นหาถูกต้องไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1077/2519
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดนัดพิจารณาคดีและการจำหน่ายคดี: ศาลชอบที่จะจำหน่ายคดีเมื่อโจทก์ขาดนัดและจำเลยไม่ติดใจ
ในวันนัดสืบพยาน แม้ทนายโจทก์จะได้ยื่นคำร้องขอเลื่อนการพิจารณาแต่เมื่อศาลสั่งไม่อนุญาต ก็ยังมีการนัดสืบพยานอยู่ และแม้ทนายโจทก์จะมาศาลในวันนั้นโดยมายื่นคำร้องต่อเจ้าพนักงานศาลขอเลื่อนการพิจารณา แต่ไม่อยู่เพื่อดำเนินกระบวนพิจารณาก็ต้องถือว่าโจทก์ขาดนัดพิจารณา เมื่อโจทก์ขาดนัดพิจารณาและจำเลยแถลงไม่ติดใจให้ดำเนินการพิจารณาต่อไป จึงชอบที่ศาลจะมีคำสั่งจำหน่ายคดีเสียตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 201 จำเลยจะอ้างว่าต้องถือว่าโจทก์ไม่มีพยานมาสืบและพิพากษายกฟ้องนั้นหาถูกต้องไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 235-241/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งศาลระหว่างพิจารณา, ค่าอ้างเอกสาร, พยานบุคคล: หลักเกณฑ์การอุทธรณ์และการรับฟังพยานหลักฐาน
คำสั่งของศาลชั้นต้นที่ให้พิจารณาคดีใหม่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 205 วรรคสองนั้นเป็นคำสั่งในระหว่างพิจารณา ต้องมีการโต้แย้งไว้ภายหลังมีคำสั่งนั้นแล้ว คู่ความที่โต้แย้งจึงจะยกขึ้นอุทธรณ์คัดค้านได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 226(2)
การที่โจทก์เสียค่าอ้างเอกสารไม่ครบ ไม่ปรากฏว่าโจทก์จงใจฝ่าฝืนไม่เสียเมื่อศาลอุทธรณ์มีคำสั่งให้โจทก์เสียให้ครบและโจทก์เสียครบแล้ว ก็รับฟังเอกสารทั้งหมดเป็นพยานได้
ตัวโจทก์มิได้มาเบิกความเป็นพยาน แต่บุตรโจทก์มาเบิกความในฐานะเป็นพยานโจทก์โดยเป็นผู้รู้เห็นเรื่องราวที่เบิกความเอง ดังนี้ บุตรโจทก์หาใช่เบิกความเป็นพยานแทนตัวโจทก์ไม่ คำของบุตรโจทก์จึงรับฟังเป็นพยานได้ตามกฎหมายว่าด้วยพยานหลักฐาน
การที่โจทก์เสียค่าอ้างเอกสารไม่ครบ ไม่ปรากฏว่าโจทก์จงใจฝ่าฝืนไม่เสียเมื่อศาลอุทธรณ์มีคำสั่งให้โจทก์เสียให้ครบและโจทก์เสียครบแล้ว ก็รับฟังเอกสารทั้งหมดเป็นพยานได้
ตัวโจทก์มิได้มาเบิกความเป็นพยาน แต่บุตรโจทก์มาเบิกความในฐานะเป็นพยานโจทก์โดยเป็นผู้รู้เห็นเรื่องราวที่เบิกความเอง ดังนี้ บุตรโจทก์หาใช่เบิกความเป็นพยานแทนตัวโจทก์ไม่ คำของบุตรโจทก์จึงรับฟังเป็นพยานได้ตามกฎหมายว่าด้วยพยานหลักฐาน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 235-241/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาคดีใหม่, ค่าอ้างเอกสาร, และการรับฟังพยานบุคคล: หลักเกณฑ์และขอบเขต
คำสั่งของศาลชั้นต้นที่ให้พิจารณาคดีใหม่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 205 วรรคสองนั้นเป็นคำสั่งในระหว่างพิจารณา ต้องมีการโต้แย้งไว้ภายหลังมีคำสั่งนั้นแล้ว คู่ความที่โต้แย้งจึงจะยกขึ้นอุทธรณ์คัดค้านได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 226(2)
การที่โจทก์เสียค่าอ้างเอกสารไม่ครบ ไม่ปรากฏว่าโจทก์จงใจฝ่าฝืนไม่เสียเมื่อศาลอุทธรณ์มีคำสั่งให้โจทก์เสียให้ครบและโจทก์เสียครบแล้ว ก็รับฟังเอกสารทั้งหมดเป็นพยานได้
ตัวโจทก์มิได้มาเบิกความเป็นพยาน แต่บุตรโจทก์มาเบิกความในฐานะเป็นพยานโจทก์โดยเป็นผู้รู้เห็นเรื่องราวที่เบิกความเอง ดังนี้ บุตรโจทก์หาใช่เบิกความเป็นพยานแทนตัวโจทก์ไม่ คำของบุตรโจทก์จึงรับฟังเป็นพยานได้ตามกฎหมายว่าด้วยพยานหลักฐาน
การที่โจทก์เสียค่าอ้างเอกสารไม่ครบ ไม่ปรากฏว่าโจทก์จงใจฝ่าฝืนไม่เสียเมื่อศาลอุทธรณ์มีคำสั่งให้โจทก์เสียให้ครบและโจทก์เสียครบแล้ว ก็รับฟังเอกสารทั้งหมดเป็นพยานได้
ตัวโจทก์มิได้มาเบิกความเป็นพยาน แต่บุตรโจทก์มาเบิกความในฐานะเป็นพยานโจทก์โดยเป็นผู้รู้เห็นเรื่องราวที่เบิกความเอง ดังนี้ บุตรโจทก์หาใช่เบิกความเป็นพยานแทนตัวโจทก์ไม่ คำของบุตรโจทก์จึงรับฟังเป็นพยานได้ตามกฎหมายว่าด้วยพยานหลักฐาน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2045/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขาดนัดพิจารณาคดีล้มละลาย ศาลจำหน่ายคดี และไม่อุทธรณ์ได้ แม้เข้าใจผิดเวลานัด
กรณีที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีหนังสือแจ้งให้ผู้ร้องส่งมอบรถยนต์หรือชำระเงินต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ และผู้ร้องยื่นคำร้องคัดค้านต่อศาล แต่ผู้ร้องไม่มีศาลตามวันเวลาที่ศาลนัดไต่สวนนั้น พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 153 ให้นำบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม จึงต้องถือว่าผู้ร้องขาดนัดพิจารณาตามมาตรา 197 วรรคสอง
เมื่อผู้ร้องขาดนัดพิจารณาและเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ขอให้ศาลสั่งตามรูปคดี ศาลจึงสั่งจำหน่ายคดีเสียจากสารบบความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 201 นั้น แม้ผู้ร้องจะเข้าใจเวลานัดของศาลผิดไปโดยสุจริต ก็ไม่อาจดำเนินคดีต่อไปได้คงทำได้เพียงประการเดียว คือร้องเริ่มต้นคดีใหม่ แต่ทั้งนี้ต้องอยู่ในบังคับแห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 119 (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 74/2512)
กรณีผู้ร้องขาดนัดพิจารณาซึ่งศาลสั่งจำหน่ายคดี กฎหมายห้ามมิให้อุทธรณ์คำสั่งหรือมีคำขอให้พิจารณาคดีนั้นใหม่ ย่อมไม่มีความจำเป็นที่ศาลจะต้องไต่สวนคำร้องของผู้ร้องว่าจงใจขาดนัดหรือไม่
เมื่อผู้ร้องขาดนัดพิจารณาและเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ขอให้ศาลสั่งตามรูปคดี ศาลจึงสั่งจำหน่ายคดีเสียจากสารบบความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 201 นั้น แม้ผู้ร้องจะเข้าใจเวลานัดของศาลผิดไปโดยสุจริต ก็ไม่อาจดำเนินคดีต่อไปได้คงทำได้เพียงประการเดียว คือร้องเริ่มต้นคดีใหม่ แต่ทั้งนี้ต้องอยู่ในบังคับแห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 119 (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 74/2512)
กรณีผู้ร้องขาดนัดพิจารณาซึ่งศาลสั่งจำหน่ายคดี กฎหมายห้ามมิให้อุทธรณ์คำสั่งหรือมีคำขอให้พิจารณาคดีนั้นใหม่ ย่อมไม่มีความจำเป็นที่ศาลจะต้องไต่สวนคำร้องของผู้ร้องว่าจงใจขาดนัดหรือไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2045/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขาดนัดพิจารณาคดีล้มละลาย ศาลจำหน่ายคดีตามกฎหมาย แม้เข้าใจผิดเรื่องเวลา
กรณีที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีหนังสือแจ้งให้ผู้ร้องส่งมอบรถยนต์หรือชำระเงินต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ และผู้ร้องยื่นคำร้องคัดค้านต่อศาล แต่ผู้ร้องไม่มีศาลตามวันเวลาที่ศาลนัดไต่สวนนั้น พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 153 ให้นำบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม จึงต้องถือว่าผู้ร้องขาดนัดพิจารณาตามมาตรา 197 วรรคสอง
เมื่อผู้ร้องขาดนัดพิจารณาและเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ขอให้ศาลสั่งตามรูปคดี ศาลจึงสั่งจำหน่ายคดีเสียจากสารบบความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 201 นั้น แม้ผู้ร้องจะเข้าใจเวลานัดของศาลผิดไปโดยสุจริต ก็ไม่อาจดำเนินคดีต่อไปได้คงทำได้เพียงประการเดียว คือร้องเริ่มต้นคดีใหม่ แต่ทั้งนี้ต้องอยู่ในบังคับแห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 119 (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 74/2512)
กรณีผู้ร้องขาดนัดพิจารณาซึ่งศาลสั่งจำหน่ายคดี กฎหมายห้ามมิให้อุทธรณ์คำสั่งหรือมีคำขอให้พิจารณาคดีนั้นใหม่ ย่อมไม่มีความจำเป็นที่ศาลจะต้องไต่สวนคำร้องของผู้ร้องว่าจงใจขาดนัดหรือไม่
เมื่อผู้ร้องขาดนัดพิจารณาและเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ขอให้ศาลสั่งตามรูปคดี ศาลจึงสั่งจำหน่ายคดีเสียจากสารบบความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 201 นั้น แม้ผู้ร้องจะเข้าใจเวลานัดของศาลผิดไปโดยสุจริต ก็ไม่อาจดำเนินคดีต่อไปได้คงทำได้เพียงประการเดียว คือร้องเริ่มต้นคดีใหม่ แต่ทั้งนี้ต้องอยู่ในบังคับแห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 119 (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 74/2512)
กรณีผู้ร้องขาดนัดพิจารณาซึ่งศาลสั่งจำหน่ายคดี กฎหมายห้ามมิให้อุทธรณ์คำสั่งหรือมีคำขอให้พิจารณาคดีนั้นใหม่ ย่อมไม่มีความจำเป็นที่ศาลจะต้องไต่สวนคำร้องของผู้ร้องว่าจงใจขาดนัดหรือไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 74/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดนัดพิจารณาคดีล้มละลายและการจำหน่ายคดีออกจากสารบบความ สิทธิในการร้องคัดค้านคำสั่งเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
ผู้ร้องยื่นคำร้องคัดค้านต่อศาลในกรณีที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีคำสั่งให้ผู้ร้องชำระเงินที่ผู้ร้องเป็นลูกหนี้จำเลยผู้ล้มละลาย ฉะนั้น การที่ผู้ร้องและทนายตลอดจนพยานไม่มาศาลตามวันเวลาที่นัดไต่สวน โดยมิได้ขอเลื่อนหรือแจ้งเหตุให้ศาลทราบ ถือได้ว่าเป็นการขาดนัด และในกรณีเช่นนี้ เมื่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่ติดใจดำเนินคดีต่อไป ศาลก็ต้องสั่งจำหน่ายคดีเสียจากสารบบความ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 201 ผู้ร้องมีทางดำเนินคดีต่อไปได้เพียงประการเดียว คือการร้องเริ่มต้นคดีใหม่ ซึ่งจะต้องอยู่ในบังคับแพ่งอายุความหรือระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้ ดังนั้น การที่ผู้ร้องยื่นคำร้องขอให้ไต่สวนใหม่เกินกำหนดเวลา 14 วันนับจากที่ผู้ร้องทราบคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ให้ชำระหนี้ จึงเป็นการไม่ชอบด้วยพระราชบัญญัติล้มละลาย
ในกรณีที่ผู้ร้องขาดนัดพิจารณา และศาลสั่งให้จำหน่ายคดีของผู้ร้องไปนั้น ถือได้ว่าเป็นการละทิ้งคดี จึงไม่เป็ฯเหตุให้กำหนดระยะเวลาที่ผู้ร้องจะยื่นคำร้องคัดค้านคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์สะดุดหยุดลง
ในกรณีที่ผู้ร้องขาดนัดพิจารณา และศาลสั่งให้จำหน่ายคดีของผู้ร้องไปนั้น ถือได้ว่าเป็นการละทิ้งคดี จึงไม่เป็ฯเหตุให้กำหนดระยะเวลาที่ผู้ร้องจะยื่นคำร้องคัดค้านคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์สะดุดหยุดลง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 74/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขาดนัดพิจารณาคดีล้มละลาย ศาลจำหน่ายคดี และผลของการละทิ้งคดีต่อการคัดค้านคำสั่งเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
ผู้ร้องยื่นคำร้องคัดค้านต่อศาลในกรณีที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีคำสั่งให้ผู้ร้องชำระเงินที่ผู้ร้องเป็นลูกหนี้จำเลยผู้ล้มละลายฉะนั้น การที่ผู้ร้องและทนายตลอดจนพยานไม่มาศาลตามวันเวลาที่นัดไต่สวน โดยมิได้ขอเลื่อนหรือแจ้งเหตุให้ศาลทราบถือได้ว่าเป็นการขาดนัดและในกรณีเช่นนี้ เมื่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่ติดใจดำเนินคดีต่อไปศาลก็ต้องสั่งจำหน่ายคดีเสียจากสารบบความ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 201 ผู้ร้องมีทางดำเนินคดีต่อไปได้เพียงประการเดียว คือการร้องเริ่มต้นคดีใหม่ ซึ่งจะต้องอยู่ในบังคับแห่งอายุความหรือระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้ ดังนั้น การที่ผู้ร้องยื่นคำร้องขอให้ไต่สวนใหม่เกินกำหนดเวลา 14 วันนับจากที่ผู้ร้องทราบคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ให้ชำระหนี้
จึงเป็นการไม่ชอบด้วยพระราชบัญญัติล้มละลาย
ในกรณีที่ผู้ร้องขาดนัดพิจารณา และศาลสั่งให้จำหน่ายคดีของผู้ร้องไปนั้น ถือได้ว่าเป็นการละทิ้งคดี จึงไม่เป็นเหตุให้กำหนดระยะเวลาที่ผู้ร้องจะยื่นคำร้องคัดค้านคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์สะดุดหยุดลง
จึงเป็นการไม่ชอบด้วยพระราชบัญญัติล้มละลาย
ในกรณีที่ผู้ร้องขาดนัดพิจารณา และศาลสั่งให้จำหน่ายคดีของผู้ร้องไปนั้น ถือได้ว่าเป็นการละทิ้งคดี จึงไม่เป็นเหตุให้กำหนดระยะเวลาที่ผู้ร้องจะยื่นคำร้องคัดค้านคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์สะดุดหยุดลง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 74/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดนัดพิจารณาคดีล้มละลาย และผลกระทบต่อการคัดค้านคำสั่งเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
ผู้ร้องยื่นคำร้องคัดค้านต่อศาลในกรณีที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีคำสั่งให้ผู้ร้องชำระเงินที่ผู้ร้องเป็นลูกหนี้จำเลยผู้ล้มละลาย. ฉะนั้น การที่ผู้ร้องและทนายตลอดจนพยานไม่มาศาลตามวันเวลาที่นัดไต่สวน โดยมิได้ขอเลื่อนหรือแจ้งเหตุให้ศาลทราบ. ถือได้ว่าเป็นการขาดนัด. และในกรณีเช่นนี้ เมื่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่ติดใจดำเนินคดีต่อไป. ศาลก็ต้องสั่งจำหน่ายคดีเสียจากสารบบความ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 201.ผู้ร้องมีทางดำเนินคดีต่อไปได้เพียงประการเดียว คือการร้องเริ่มต้นคดีใหม่ ซึ่งจะต้องอยู่ในบังคับแห่งอายุความหรือระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้. ดังนั้น การที่ผู้ร้องยื่นคำร้องขอให้ไต่สวนใหม่เกินกำหนดเวลา 14 วันนับจากที่ผู้ร้องทราบคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ให้ชำระหนี้. จึงเป็นการไม่ชอบด้วยพระราชบัญญัติล้มละลาย.
ในกรณีที่ผู้ร้องขาดนัดพิจารณา และศาลสั่งให้จำหน่ายคดีของผู้ร้องไปนั้น. ถือได้ว่าเป็นการละทิ้งคดี. จึงไม่เป็นเหตุให้กำหนดระยะเวลาที่ผู้ร้องจะยื่นคำร้องคัดค้านคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์สะดุดหยุดลง.
ในกรณีที่ผู้ร้องขาดนัดพิจารณา และศาลสั่งให้จำหน่ายคดีของผู้ร้องไปนั้น. ถือได้ว่าเป็นการละทิ้งคดี. จึงไม่เป็นเหตุให้กำหนดระยะเวลาที่ผู้ร้องจะยื่นคำร้องคัดค้านคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์สะดุดหยุดลง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1146/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขาดนัดพิจารณาคดี – ศาลต้องไต่สวนเหตุผลก่อนมีคำสั่ง – การพิจารณาใหม่
โจทก์ไม่ไปศาลในวันนัดสืบพยานโจทก์ และศาลมีคำสั่งว่าโจทก์ขาดนัดพิจารณา แล้วโจทก์มาร้องขอให้ยกคดีขึ้นพิจารณาใหม่อ้างว่ามิได้จงใจขาดนัดพิจารณา กรณีต้องดำเนินไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 205 วรรค 2 ซึ่งศาลชอบที่จะไต่สวนให้ทราบข้อเท็จจริงเพื่อมีคำสั่งต่อไป