พบผลลัพธ์ทั้งหมด 21 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1813/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลในการเรียกเอกสารพยานหลักฐาน และหน้าที่ของผู้ครอบครองเอกสารในการส่งมอบตามคำสั่งศาล แม้มีข้ออ้างเรื่องความลับ
สำนวนการสอบสวนคดีอาญาซึ่งอยู่ในความครอบครองของพนักงานอัยการ เมื่อศาลมีคำสั่งเรียกมาเพื่อใช้เป็นพยานหลักฐานในการพิจารณาคดีแพ่ง พนักงานอัยการจะไม่ยอมส่ง โดยอ้างว่าผู้ต้องหาหลบหนียังอยู่ในระหว่างหมายจับ ถ้าจับได้มา จะไม่มีสำนวนดำเนินคดีนั้น ไม่เป็นเหตุตามกฎหมายที่จะปฏิเสธคำสั่งของศาลได้ทั้งทางแก้ก็มีอยู่แล้วโดยการคัดสำเนาส่งศาลแทน
พนักงานอัยการเคยนำส่งสำนวนการสอบสวนมาศาลครั้งหนึ่งแล้วในวันพิจารณาและขอรับคืนไปเมื่อเสร็จการพิจารณาเฉพาะวัน ครั้นภายหลังศาลมีคำสั่งเรียกให้ส่งมาเพื่อใช้พิจารณาประกอบการพิพากษา พนักงานอัยการจะปฏิเสธไม่ยอมส่งโดยอ้างว่าเป็นความลับในราชการ ย่อมฟังไม่ขึ้น
การอนุญาตให้คู่ความอ้างเอกสารใดเป็นพยาน และจะมีคำสั่งเรียกมาหรือไม่เป็นอำนาจของศาลที่จะสั่งได้ตามกฎหมายผู้ครอบครองเอกสารจะโต้แย้งว่า ศาลไม่ควรอนุญาตหรือ ไม่ควรเรียกมาหาได้ไม่
คำสั่งของศาลที่เรียกเอกสารจากผู้ครอบครอง กฎหมายมิได้กำหนดแบบไว้ ศาลจะมีคำสั่งในรูปหนังสือราชการก็อาจทำได้
การหมายเรียกบุคคลที่ปฏิเสธไม่ยอมส่งเอกสารมาศาลเพื่อให้ชี้แจงเหตุผลนั้น เมื่อศาลมีคำสั่งยืนยันให้ส่งเอกสารก็แสดงอยู่ในตัวว่าการปฏิเสธนั้นไม่มีเหตุผลฟังได้
พนักงานอัยการเคยนำส่งสำนวนการสอบสวนมาศาลครั้งหนึ่งแล้วในวันพิจารณาและขอรับคืนไปเมื่อเสร็จการพิจารณาเฉพาะวัน ครั้นภายหลังศาลมีคำสั่งเรียกให้ส่งมาเพื่อใช้พิจารณาประกอบการพิพากษา พนักงานอัยการจะปฏิเสธไม่ยอมส่งโดยอ้างว่าเป็นความลับในราชการ ย่อมฟังไม่ขึ้น
การอนุญาตให้คู่ความอ้างเอกสารใดเป็นพยาน และจะมีคำสั่งเรียกมาหรือไม่เป็นอำนาจของศาลที่จะสั่งได้ตามกฎหมายผู้ครอบครองเอกสารจะโต้แย้งว่า ศาลไม่ควรอนุญาตหรือ ไม่ควรเรียกมาหาได้ไม่
คำสั่งของศาลที่เรียกเอกสารจากผู้ครอบครอง กฎหมายมิได้กำหนดแบบไว้ ศาลจะมีคำสั่งในรูปหนังสือราชการก็อาจทำได้
การหมายเรียกบุคคลที่ปฏิเสธไม่ยอมส่งเอกสารมาศาลเพื่อให้ชี้แจงเหตุผลนั้น เมื่อศาลมีคำสั่งยืนยันให้ส่งเอกสารก็แสดงอยู่ในตัวว่าการปฏิเสธนั้นไม่มีเหตุผลฟังได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1813/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลในการเรียกเอกสารพยาน และหน้าที่ของผู้ครอบครองเอกสารตามกฎหมาย
สำนวนการสอบสวนคดีอาญาซึ่งอยู่ในความครอบครองของพนักงานอัยการ เมื่อศาลมีคำสั่งเรียกมาเพื่อใช้เป็นพยานหลักฐานในการพิจารณาคดีแพ่ง พนักงานอัยการจะไม่ยอมส่งโดยอ้างว่าผู้ต้องหาหลบหนียังอยู่ในระหว่างหมายจับ ถ้าจับได้มาจะไม่มีสำนวนดำเนินคดีนั้นไม่เป็นเหตุตามกฎหมายที่จะปฏิเสธคำสั่งของศาลได้ทั้งทางแก้ก็มีอยู่แล้วโดยการคัดสำเนาส่งศาลแทน
พนักงานอัยการเคยนำส่งสำนวนการสอบสวนมาศาลครั้งหนึ่งแล้วในวันพิจารณาและขอรับคืนไปเมื่อเสร็จการพิจารณาเฉพาะวัน ครั้นภายหลังศาลมีคำสั่งเรียกให้ส่งมาเพื่อใช้พิจารณาประกอบการพิพากษา พนักงานอัยการจะปฏิเสธไม่ยอมส่งโดยอ้างว่าเป็นความลับในราชการ ย่อมฟังไม่ขึ้น
การอนุญาตให้คู่ความอ้างเอกสารใดเป็นพยาน และจะมีคำสั่งเรียกมาหรือไม่เป็นอำนาจของศาลที่จะสั่งได้ตามกฎหมายผู้ครอบครองเอกสารจะโต้แย้งว่าศาลไม่ควรอนุญาตหรือไม่ควรเรียกมาหาได้ไม่
คำสั่งของศาลที่เรียกเอกสารจากผู้ครอบครองกฎหมายมิได้กำหนดแบบไว้ ศาลจะมีคำสั่งในรูปหนังสือราชการก็อาจทำได้
การหมายเรียกบุคคลที่ปฏิเสธไม่ยอมส่งเอกสารมาศาลเพื่อให้ชี้แจงเหตุผลนั้นเมื่อศาลมีคำสั่งยืนยันให้ส่งเอกสารก็แสดงอยู่ในตัวว่าการปฏิเสธนั้นไม่มีเหตุผลฟังได้
พนักงานอัยการเคยนำส่งสำนวนการสอบสวนมาศาลครั้งหนึ่งแล้วในวันพิจารณาและขอรับคืนไปเมื่อเสร็จการพิจารณาเฉพาะวัน ครั้นภายหลังศาลมีคำสั่งเรียกให้ส่งมาเพื่อใช้พิจารณาประกอบการพิพากษา พนักงานอัยการจะปฏิเสธไม่ยอมส่งโดยอ้างว่าเป็นความลับในราชการ ย่อมฟังไม่ขึ้น
การอนุญาตให้คู่ความอ้างเอกสารใดเป็นพยาน และจะมีคำสั่งเรียกมาหรือไม่เป็นอำนาจของศาลที่จะสั่งได้ตามกฎหมายผู้ครอบครองเอกสารจะโต้แย้งว่าศาลไม่ควรอนุญาตหรือไม่ควรเรียกมาหาได้ไม่
คำสั่งของศาลที่เรียกเอกสารจากผู้ครอบครองกฎหมายมิได้กำหนดแบบไว้ ศาลจะมีคำสั่งในรูปหนังสือราชการก็อาจทำได้
การหมายเรียกบุคคลที่ปฏิเสธไม่ยอมส่งเอกสารมาศาลเพื่อให้ชี้แจงเหตุผลนั้นเมื่อศาลมีคำสั่งยืนยันให้ส่งเอกสารก็แสดงอยู่ในตัวว่าการปฏิเสธนั้นไม่มีเหตุผลฟังได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1133/2493 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อัยการมีหน้าที่นำตัวจำเลยมาศาลเมื่อยื่นฟ้อง หากไม่ทำ ศาลไม่รับประทับฟ้อง
อัยการเป็นโจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยทางอาญาและยื่นคำร้องขอให้ศาลออกหมายจับจำเลย เพราะได้เคยฝากศาลขังไว้ในระหว่างสอบสวนจนพนักงานอัยการขอให้ศาลปล่อยไปแล้วนั้น ศาลย่อมไม่รับประทับฟ้องเพราะอัยการมีหน้าที่จะต้องจัดการให้ตัวจำเลยมาศาลเวลายื่นฟ้อง ตามที่ได้วินิจฉัยไว้ในคำพิพากษาฎีกาที่ 515/2491
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1133/2493
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อัยการต้องจัดการให้จำเลยมาศาลเมื่อยื่นฟ้อง หากไม่ทำ ศาลไม่รับประทับฟ้อง
อัยการเป็นโจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยทางอาญา และยื่นคำร้องขอให้ศาลออกหมายจับจำเลย เพราะได้เคยฝากศาลขังไว้ในระหว่างสอบสวนจนพนักงานอัยการขอให้ศาลปล่อยไปแล้วนั้น ศาลย่อมไม่รับประทับฟ้องเพราะอัยการมีหน้าที่จะต้องจัดการให้ตัวจำเลยมาศาลเวลายื่นฟ้อง ตามที่ได้วินิจฉัยไว้ในคำพิพากษาฎีกาที่ 515/2491
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 515/2491 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีอาญาหลังปล่อยตัวระหว่างสอบสวน: ศาลไม่รับฟ้องหากเจ้าพนักงานยังสามารถนำตัวจำเลยมาส่งศาลได้
พนักงานสอบสวนหรืออัยยการขอให้ศาลขังจำเลยระหว่างสอบสวนตาม ป.วิ.อาญามาตรา 87 จนครบกำหนด และศาลปล่อยตัวจำเลยไปแล้วเช่นนี้ จะมาขอให้ศาลสั่งขังอีกย่อมไม่ได้ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า เมื่อเจ้าพนักงานจับจำเลยใหม่เพื่อฟ้องเป็นคดี จะควบคุมผู้ต้องหาไม่ได้เสียเลย เจ้าพนักงานยังคงควบคุมผู้ต้องหาได้ตามที่จำเป็นตามพฤตติการณ์แห่งคดีตามตอนต้นแห่ง มาตรา 87 คือเพียงเท่าที่จะนำตัวจำเลยมาส่งศาลโดยแท้เท่านั้น จะควบคุมเพื่อเหตุอื่น เช่นสอบสวนต่อไปหรือรออัยยการสั่งฟ้องไม่ได้
อัยยการฟ้องขอให้ศาลออกหมายจับจำเลยโดยอ้างว่าจำเลยถูกศาลสั่งขังระหว่างสอบสวนครบกำหนดจนศาลสั่งปล่อยตัวไปแล้วเช่นนี้ ไม่ชอบที่ศาลจะรับประทับฟ้องและออกหมายจับให้เพราะเจ้าพนักงานยังมีอำนาจที่จะดำเนินการเพื่อเอาตัวจำเลยมาส่งศาลพร้อมฟ้องได้ มิฉะนั้นจะเป็นการยืดอายุความอันเป็นผลร้ายแก่จำเลย (อ้างฎีกาที่ 126/2489)
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 10/2419)
อัยยการฟ้องขอให้ศาลออกหมายจับจำเลยโดยอ้างว่าจำเลยถูกศาลสั่งขังระหว่างสอบสวนครบกำหนดจนศาลสั่งปล่อยตัวไปแล้วเช่นนี้ ไม่ชอบที่ศาลจะรับประทับฟ้องและออกหมายจับให้เพราะเจ้าพนักงานยังมีอำนาจที่จะดำเนินการเพื่อเอาตัวจำเลยมาส่งศาลพร้อมฟ้องได้ มิฉะนั้นจะเป็นการยืดอายุความอันเป็นผลร้ายแก่จำเลย (อ้างฎีกาที่ 126/2489)
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 10/2419)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 515/2491
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การควบคุมตัวผู้ต้องหาหลังศาลปล่อยชั่วคราว: อำนาจจำกัดเฉพาะการส่งตัวไปฟ้อง
พนักงานสอบสวนหรืออัยการ ไปขอให้ศาลขังจำเลยระหว่างสอบสวนตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 87 จนครบกำหนดและศาลปล่อยตัวจำเลยไปแล้วเช่นนี้ จะมาขอให้ศาลสั่งขังอีกย่อมไม่ได้แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า เมื่อเจ้าพนักงานจับจำเลยใหม่เพื่อฟ้องเป็นคดีจะควบคุมผู้ต้องหาไม่ได้เสียเลย เจ้าพนักงานยังคงควบคุมผู้ต้องหาได้ตามที่จำเป็นตามพฤติการณ์แห่งคดีตามตอนต้นแห่งมาตรา 87 คือเพียงเท่าที่จะนำตัวจำเลยมาส่งศาลโดยแท้เท่านั้น จะควบคุมเพื่อเหตุอื่น เช่นสอบสวนต่อไป หรือรออัยการสั่งฟ้องไม่ได้
อัยการฟ้องขอให้ศาลออกหมายจับจำเลย โดยอ้างว่าจำเลยถูกศาลสั่งขังระหว่างสอบสวนครบกำหนดจนศาลสั่งปล่อยตัวไปแล้วเช่นนี้ไม่ชอบที่ศาลจะรับประทับฟ้องและออกหมายจับให้ เพราะเจ้าพนักงานยังมีอำนาจที่จะดำเนินการเพื่อเอาตัวจำเลยมาส่งศาลพร้อมฟ้องได้ มิฉะนั้นจะเป็นการยืดอายุความอันเป็นผลร้ายแก่จำเลย
(อ้างฎีกาที่ 126/2489)
อัยการฟ้องขอให้ศาลออกหมายจับจำเลย โดยอ้างว่าจำเลยถูกศาลสั่งขังระหว่างสอบสวนครบกำหนดจนศาลสั่งปล่อยตัวไปแล้วเช่นนี้ไม่ชอบที่ศาลจะรับประทับฟ้องและออกหมายจับให้ เพราะเจ้าพนักงานยังมีอำนาจที่จะดำเนินการเพื่อเอาตัวจำเลยมาส่งศาลพร้อมฟ้องได้ มิฉะนั้นจะเป็นการยืดอายุความอันเป็นผลร้ายแก่จำเลย
(อ้างฎีกาที่ 126/2489)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 54/2491 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาไม่รับพิจารณาเนื่องจากมิได้อ้างเหตุผลและข้อเท็จจริงตาม ป.วิ.อาญา มาตรา 143
ฎีกาต้องรวมข้อเท็จจริงและเหตุผลตาม ป.วิอาญามาตรา 143 มิฉะนั้นศาลฎีกาไม่รับพิจารณาฎีกานั้น.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 126/2489
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องร้องคดีอาญา: โจทก์ขอออกหมายจับซ้ำหลังหลบหนี
คดีอาญา พนักงานอัยการโจทก์จะต้องจัดการให้ได้ตัวผู้ต้องหามาศาลพร้อมกับยื่นฟ้อง จะยื่นฟ้องขึ้นมาโดยขอให้ศาลออกหมายจับจำเลยเพื่อกันมิให้ความผิดขาดอายุความฟ้องร้องนั้นไม่ได้ เป็นการขัดต่อความประสงค์ของกฎหมายว่าด้วยอายุความฟ้องร้องคดีอาญา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 126/2489 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขอออกหมายจับซ้ำหลังพนักงานอัยการมีอำนาจสั่งจับเอง: ผลต่ออายุความคดีอาญา
คดีอาญา พนักงานอัยยการโจทก์จะต้องจัดการให้ได้ตัวผู้ต้องหามาศาลพร้อมกับยื่นฟ้องจะยื่นฟ้องขึ้นมาโดยขอให้ศาลออกหมายจับจำเลยเพื่อกันมิให้ความผิดขาดอายุความฟ้องร้องนั้นไม่ได้ เป็นการขัดต่อความประสงค์ของกฎหมายว่าด้วยอายุความฟ้องร้องคดีอาญา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 104/2481
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิ้นสุดอำนาจสอบสวนหลังส่งสำนวนให้อัยยการ จำเลยไม่ต้องให้การ
เมื่อพนักงานสอบสวนทำการสอบสวนเสร็จและลงสำนวนให้พนักงานอัยยการแล้วย่อมหมดอำนาจที่จะทำการสอบสวนต่อไป ผู้ใดที่พนักงานสอบสวนมีหมายเรียกเพื่อมาให้การในภายหลังไม่ยอมให้การก็ไม่มีความผิด